Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครูและบุคลากร (ปรับล่าสุด)

คู่มือครูและบุคลากร (ปรับล่าสุด)

Published by numnim.rapeephan, 2021-08-30 05:31:24

Description: คู่มือครูและบุคลากร (ปรับล่าสุด)

Search

Read the Text Version

Teacher and personnel handbook โรงเรียนปัญญานฤมิต ต.บอ่ วนิ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี โรงเรียนปญั ญานฤมติ “ เป้าหมายในชีวติ ของคุณ คืออะไร ? “ “ ทำไม จงึ มาสมัครเป็นครู ในโรงเรียนปัญญานฤมติ ? “

ฉัน คือคนหน่ึงที่ตอ้ งการสรา้ ง ครู คณุ รู้จัก ครู ดีแค่ไหน คุณ พรอ้ มจะเปน็ ครู ใช่หรือไม่ คณุ คดิ จะเปน็ ครู แบบใด หวั ใจของคุณ ตอ้ งตอบเอง

ประวตั ิโรงเรยี น โรงเรยี นปัญญานฤมติ เป็นโรงเรยี นท่เี ปิดสอนในระดบั อนุบาลและ ประถมศกึ ษาขยายสาขาจาก โรงเรียนอรวนิ วทิ ยา อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดย นางบุญเรือง วงศม์ ณีนลิ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอรวินวิทยา ไดเ้ ล็งเห็นถงึ ความสำคัญเก่ยี วกับการศกึ ษาของเด็ก ในพืน้ ท่ีตำบลบ่อวิน อำเภอศรรี าชา และบริเวณใกลเ้ คยี ง ซึ่ง ยังไม่มสี ถานศึกษาทม่ี ีมาตรฐานในพืน้ ท่บี ริเวณน้ี ทำให้ผูป้ กครองประสบปัญหาในการนำเดก็ ไปศึกษา ในโรงเรยี น ที่อยู่ไกลจากภมู ลิ ำเนามาก อีกท้ังยงั สิน้ เปลอื งค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไกลอกี ด้วย ท่านจงึ ได้ดำริให้จดั ต้ังโรงเรยี น ปญั ญานฤมติ ข้นึ ใหเ้ ปน็ สถานศึกษาทีม่ ีมาตรฐาน เพ่ือรองรบั เดก็ ในพื้นท่ีโรงเรียนปัญญานฤมิต ได้ถอื กำเนดิ ขนึ้ เมอ่ื วนั พฤหสั บดีที่ 20 ธนั วาคม พุทธศักราช 2550 โดย พนั เอกวัชรพันธ์ุ และ นางอรวนิ ทินี อมราพทิ ักษ์ เปน็ ประธานในการวางศลิ าฤกษก์ ารกอ่ สร้างอาคารเรียนหลังแรกขนึ้ และมีนโยบายจัดการเรียนการสอนในปี การศึกษา 2551 โดยเปิดรับสมัครนักเรียนในระดบั ช้ันอนุบาลปีท่ี 1 ถงึ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ต่อมาในปกี ารศกึ ษา 2561 ขยาย เป็นมัธยมศกึ ษาปที ี่1 และปัจจบุ นั ปกี ารศกึ ษา 2563 เปิดสอนใน ระดับ ดงั นี้ เตรียมอนุบาล,อนบุ าลปีที่1-3, ประถมศึกษาปที ี่ 1-6 , มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3

ตราประจำโรงเรยี น มสี ว่ นประกอบสำคญั ดังนี้ - ดอกบวั หมายถงึ นักเรยี นท่ีมกี ารเจริญเตบิ โตตามวยั พร้อมความดีงาม - ช่อชยั พฤกษ์ หมายถึง รากฐานท่เี ริ่มกอ่ ขนึ้ จากความกล้าหาญ เขม้ แข็ง และถูกต้อง - ดวงดาว หมายถงึ ความสำเร็จท่กี ระจายอยใู่ ยสังคม จากรากฐานความกล้าหาญ เข้มแขง็ และถูกต้อง สรา้ งคนๆหนึง่ ให้ประสบความสำเร็จ เป็นดาวท่ลี อยอยู่ บนทอ้ งฟา้ ตามจินตนาการของผ้คู นรอบข้างภายใต้โรงเรยี นปญั ญานฤมิต แผนพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา คำขวัญ ความเข้มแข็งในจิตใจนี้เปน็ ส่ิงสำคัญที่ตอ้ งฝกึ ฝนตง้ั แต่เล็ก คติพจน์ โรงเรยี นสร้างคนดี มที ักษะชวี ติ คดิ อยา่ งรอบรู้ กา้ วสูส่ ากล ปรัชญา ( จนิ ตนาการ + ปญั ญา ) X ศรทั ธา = สำเรจ็ อคติทิฏฐิ วสิ ัยทศั น์ มุ่งพัฒนาใหผ้ เู้ รยี น มที กั ษะกระบวนการคดิ มีจินตนาการ เป็นผนู้ ำ พรอ้ มคณุ ธรรมในจิตใจ ดำรงตนอยา่ ง มคี วามสุข จากรากฐานจรรยาบรรณแห่งความเป็นครู คูก่ ารบริหารงานแบบมีสว่ นร่วม เพื่อการประกนั คณุ ภาพ รอบด้าน เป็นแหลง่ เรียนรู้ควบค่ชู ุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง กา้ วส่สู ากลประชาคมอาเซียน

พันธกิจ 1. ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมรี ะเบยี บวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมสี ขุ ภาพกายและใจที่ดี ใช้ชวี ิตอยา่ งมคี วามสขุ 3. สง่ เสริมศกั ยภาพทกั ษะ กระบวนการเรยี นรู้ สจู่ ิตนาการผ่านวิชาการและกจิ กรรมเป็นไปตาม มาตรฐานของกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด 4. ส่งเสรมิ วินัย ภาวะความเป็นผู้นำ ส่งผลถึงความเป็นอัตลักษณข์ องสถานศกึ ษา 5. สง่ เสริมคุณธรรม สอดแทรกจรรยาบรรณความเปน็ ครู บคุ ลากรของสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง 6. พัฒนาเทคนิคผู้บรหิ าร กระบวนการจดั การสอนครู บคุ ลากรของสถานศกึ ษาใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ 7. พัฒนาการบรหิ ารงานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพอยา่ งยงั่ ยนื และต่อเนื่อง 8. สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานสู่ระบบประกันคณุ ภาพ เอกลักษณ์ “กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น Junior Cadet” Junior Cadet Academy โรงเรยี นปัญญานฤมิต เปน็ สถาบนั นักเรียนนายร้อยยุวชน (Junior Cadet Academy) ซ่งึ มีการนำระบบการ เรยี นการสอนแบบโรงเรียนนายรอ้ ยพระจุลจอมเกล้า มาใช้เป็นตน้ แบบในการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน โดยมี เปา้ หมายทจ่ี ะให้นกั เรยี นเปน็ ผู้มที กั ษะการคิดและตัดสินใจ อยา่ งมรี ะบบ เปน็ กระบวนการคิด และตัดสนิ ใจอยา่ ง รอบคอบทกุ มิติ มกี ารปลกู ฝังอดุ มการณ์ความรักชาติ เสียสละเพ่อื ส่วนรวม กล้าหาญ มรี ะเบยี บวินยั เขม็ แข็ง อดทน เปี่ยมดว้ ยคุณธรรม จริยธรรม มีบุคลกิ ลกั ษณะทา่ ทางที่สง่างาม พร้อมดว้ ยเกียรติ ศักด์ิศรี และลกั ษณะ ความเป็นผ้นู ำอย่างสมบรู ณแ์ บบ รูปแบบการอบรม คอื การปลูกฝังจิตสำนกึ ฝงั ลึกในจติ ใจดว้ ยระบบ SOTUS ได้แก่ S=Seniority คอื ระบบอาวโุ ส มีความเคารพ อ่อนน้อมตอ่ ผู้ใหญ่ และรุ่นพี่ ใหเ้ กียรตซิ ง่ึ กนั และกนั O=Order คอื ระบบการปฏบิ ัติตามคำส่งั เคร่งครัดในระเบยี บวนิ ัย กฏข้อบังคบั และปฏบิ ัตติ ัวอย่าง มีระบบเกยี รตศิ ักดิ์ T=Tradition คือ ระบบยดึ มน่ั ในประเพณอี นั ดีงาม เป่ยี มดว้ ยคุณธรรม จรยิ ธรรม ในการดำเนินชวิ ติ ตามแบบอย่างท่ีดขี องบรรพบุรุษ และสำนึกรกั แผ่นดนิ เกดิ U=Unity คือ ระบบความเป็นหนง่ึ มีความรัก สามัคคีกลมเกลียวกนั ในหมคู่ ณะ ไม่สรา้ งความ แตกแยกในสังคมประเทศชาติ S=Spirit คอื ระบบความมีน้ำใจ เสยี สละเพอื่ ประโยชนส์ ่วนรวม ปราศจากอคติทฐิ ิ อันไม่พงึ ประสงค์ใดๆ ในจิตใจ ด้วยระบบการจัดการการเรียนการสอนในลักษณะ Junior Cadet น้จี งึ เช่ือม่นั ไดว้ ่า นักเรยี นทีส่ ำเรจ็ การศึกษาจากโรงเรยี นนี้จะเตบิ โตดว้ ยความสมบรู ณ์ เพรียบพรอ้ มด้วยความรู้ คุณธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บ วนิ ยั กลา้ หาญ เสยี สละ มุ่งมัน่ มสี มาธิ กระทำการใดๆ ใหเ้ ป็นผลสำเร็จไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ด้วยความเป็นผ้นู ำ และ มกี ระบวนการคดิ และตดั สินใจ อย่างเปน็ ระบบ ดำรงชวี ิตในสงั คมได้อยา่ งมีความรู้ เปน็ คนดแี ละมคี วามสขุ

การบริหารจัดการของสถานศกึ ษา คณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา ผู้รับใบอนุญาตประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น ๑. พันเอกวชั รพันธ์ุ อมราพิทกั ษ์ ผจู้ ัดการ ๒. พนั เอกวัชรพันธุ์ อมราพิทักษ์ ผู้อำนวยการ ๓. นางอรวินทนิ ี อมราพิทกั ษ์ ผูแ้ ทนครูในโรงเรียน ๔. นางสาวภสั พร มติ ศิริ ผู้แทนผปู้ กครอง ๕. นางสาวกาหลง คำภีระ ผู้ทรงคุณวุฒิ ๖. นางบญุ เรอื ง วงศ์มณนี ิล ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ๗. นาวสาวปวีณา ภาชนะ ผ้ทู รงคุณวุฒิ ๘. พันตำรวจเอกวชริ พงษ์ อมราพิทักษ์ โครงสร้างการบรหิ ารจดั การ

ภาระงานตามโครงสรา้ งการบริหาร ฝ่ายวิชาการ แผนกจัดประสบการณ์ วางแผนการดา้ นวชิ าการระดบั ปฐมวัยและการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน แผนกจัดการเรียนรู้ กำหนดรปู แบบการจดั การเรยี นการสอน การทำวิจัยเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนกมัธยม กำหนดรปู แบบการจดั การเรียนการสอน การทำวิจัยเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนกประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาระบบคณุ ภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา ฝา่ ยธุรการ แผนกทะเบยี น พฒั นาจดั เก็บขอ้ มลู อย่างมีระบบ จัดเก็บให้เปน็ ระเบียบ สะอาด เรียบรอ้ ย ส่งเสริมการใช้สารสนเทศเพ่ือการจดั เก็บเพื่อการค้นหาได้รวดเร็ว พัฒนาระบบเครอื ขา่ ยข้อมลู สารสนเทศ ดำเนนิ การประสานงานเครอื ขา่ ยในงานตา่ งๆ การดำเนนิ งานธรุ การ จัดทำสำมะโนผเู้ รยี น การรบั นกั เรียน แผนกบุคคล การวางแผนอัตรากำลังบุคลากรของโรงเรยี น การสรรหาและบรรจุแตง่ ตั้ง การปรับ เปล่ียนตำแหน่งให้สงู ข้ึน ดำเนินการการเลอื่ นขัน้ เงินเดือน กำหนดระเบยี บการลาทกุ ประเภท ประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน กำหนดระเบียบการลงโทษ การลาออกของบุคลากรโรงเรยี น จดั ระบบจดั เกบ็ ทะเบียนประวัตบิ ุคลากรของโรงเรยี น คัดเลอื กเสนอผลงาน ขอเคร่ืองราชตา่ งๆ สง่ เสรมิ จรรยาบรรณวิชาชพี และมาตรฐานวิชาชีพ พัฒนาครู บุคลากรให้มกี ารพัฒนาทสี่ ูงขน้ึ แผนกการเงนิ เบิกเงินสำรองเพื่อเพ่ิมสภาพคลอ่ งในการปฏบิ ตั ิงาน การรับเงนิ เก็บรักษาเงิน และการจา่ ยเงิน การนำสง่ เงินรายวนั แผนกส่งิ อปุ กรณ์ กำหนดรูปแบบรายการของเครื่องใช้ อุปกรณ์สำนักงาน และครภุ ณั ฑ์ตา่ งๆ จัดหาอปุ กรณ์ท่ีกำหนด ควบคุม ดูแล รักษา ระบบเบกิ และการนำเข้าของจำนวนเคร่อื งใช้ตา่ งๆ

ฝ่ายปกครองและกิจการนักเรียน แผนกปกครอง จัดกจิ กรรมเพือ่ ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรียน ปลกู ฝงั แกป้ ัญหา พฤตกิ รรมนักเรยี น แผนกกิจการนักเรียน การแนะแนว ประสานงาน ตดิ ตอ่ การทัศนศึกษา ฝ่ายวัตกรรมการศกึ ษา แผนกวัดและประเมินผล การวดั ผล ประเมินผล และดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี น แผนกพฒั นาหลักสตู ร พฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษาและบูรณาการหลกั สตู รท้องถนิ่ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ พฒั นาและสง่ เสรมิ แหล่งเรียนรภู้ ายใน-ภายนอก พฒั นาการใช้สื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา คดั เลือกหนังสอื แบบเรียน แผนกสง่ เสรมิ การศึกษา การนิเทศครู บุคลากรสถานศกึ ษา จัดทำคูม่ อื ระเบยี บและแนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับงานวชิ าการ สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา ฝา่ ยสนบั สนนุ แผนกอาคารสถานที่ ดูแลอาคารสถานที่ให้ ปลอดภยั พร้อมใชง้ าน ซอ่ มแซม อปุ กรณ์ ต้องพร้อมใชง้ านตลอดเวลา แผนกโภชนาการ จดั บริการจำหน่ายอาหารทม่ี ีคณุ ภาพ ราคาถกู จัดบรกิ ารจดุ นำ้ ด่ืมท่ีสะอาดถูกสขุ ลกั ษณะ พัฒนาบริเวณสถานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การโภชนาการให้สะอาด และมีระเบยี บ แผนกขนสง่ ดำเนินการจดั ทำขอ้ มูลนักเรียนเป็นปัจจุบนั รายงานขอ้ มลู การรับสง่ นักเรยี นรายเดือน จัดเก็บค่าบรกิ ารสง่ ฝา่ ยการเงินตามขั้นตอนท่ีกำหนด รายงานการตรวจเชค็ สภาพรถโรงเรียนรายสัปดาห์ รวบรวมรายงานการเบิกจ่ายน้ำมัน/แก๊ส กำหนดจดั ตารางเวรประจำวนั ฝ่ายนโยบายและแผนงาน แผนกแผนงาน การจดั ทำรายงานแผนงบประมาณ รายงานสรุปแผนปฏิบตั กิ ารใชจ้ า่ ยเงนิ ตามที่ไดร้ ับจัดสรร จัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาองคก์ ร พัฒนามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน

แผนกชุมชนสมั พนั ธ์ สง่ เสรมิ ชุมชนใหม้ ีความเขม้ แข็งทางวชิ าการ ประสานความร่วมมือในการพัฒนาวชิ าการของโรงเรียน สนบั สนุนงานวชิ าการ จัดหาวิทยากรให้ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การประชาสมั พันธง์ านการศึกษา ฝ่ายงบประมาณ แผนกโครงการและงบประมาณ การอนุมัตกิ ารใชจ้ ่ายตามงบประมาณ การรายงานผลการเบิกจ่ายตามงบประมาณ ตรวจสอบการใชง้ บ การระดมทรัพยากรเพ่อื การลงทนุ และเพื่อการศกึ ษา การบริหารจดั การใช้ทรัพยากรทม่ี อี ยู่อยา่ งคมุ้ ค่า วางแผนการใชอ้ ุปกรณ์สำนักงาน ครุภณั ฑ์ต่างๆ เสนอความคิดเหน็ การลด ขยายชนั้ ระดบั ชั้นเรยี น การจัดระบบควบคุม ตรวจสอบภายในสถานศกึ ษา แผนกบญั ชี การจัดทำบญั ชีการเงิน การจดั ทำรายงานทางการเงินและงบการเงิน การจัดทำหรือจัดหาแบบพิมพบ์ ัญชี ทะเบียน และรายงาน

คู่มอื ระเบียบการปฏิบัตติ นของครูและบุคลากร โรงเรียนปัญญานฤมิต “โรงเรยี น” หมายความว่า โรงเรียนปัญญานฤมิต “ผรู้ บั ใบอนุญาต” หมายความวา่ ผูร้ ับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียน “ผู้จัดการ” หมายความว่า ผู้จัดการของโรงเรยี น “ผ้อู ำนวยการ” หมายความว่า บคุ ลากรวิชาชีพที่ทำหน้าที่หลักดา้ นการบริหารสถานศึกษาของโรงเรยี น “ผู้บริหาร” หมายความว่า บคุ ลากรวชิ าชีพท่ีรับผิดชอบการบริหารสถานศกึ ษาแต่ละฝ่ายของโรงเรียน “ ครู ” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลักทางการเรยี นการสอนและส่งเสรมิ การเรียนรู้ ของผเู้ รียนดว้ ยวธิ ีการต่างๆ ในโรงเรียน “คณะกรรมการบริหาร” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารของโรงเรียนตามมาตรา ๓๐ ประกอบด้วย ผ้รู ับใบอนุญาต ผู้จดั การ ผู้อำนวยการ ผแู้ ทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู และผ้ทู รงคุณวฒุ ิ “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดา มารดา ญาติ พี่น้อง หรือผู้อุปการะซึ่งให้การดูแล อบรมส่ังสอน นกั เรยี นทเี่ รียนอยู่ในโรงเรยี น “นกั เรียน” หมายความวา่ นักเรยี นทกี่ ำลงั ศกึ ษาอยูใ่ นโรงเรียน หมวดท่ี ๑ จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ___________ ครพู งึ ประพฤติตนตามระเบียบ ข้อท่ี ๑ ครตู ้องรักและเมตตาศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลอื ส่งเสริม ให้กำลังใจในการศกึ ษาเล่า เรียนแกศ่ ิษยโ์ ดยเสมอหนา้ ขอ้ ที่ ๒ ครูตอ้ งอบรม ส่ังสอน ฝกึ ฝน สรา้ งเสริมความรู้ ทักษะและนสิ ัย ทีถ่ กู ตอ้ งดงี ามใหแ้ ก่ศษิ ย์อย่าง เต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ขอ้ ที่ ๓ ครูตอ้ งประพฤติ ปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอย่างทด่ี แี ก่ศิษย์ทงั้ ทางกาย วาจาและจติ ใจ ข้อที่ ๔ ครูต้องไม่กระทำตนเปน็ ปฏิปักษต์ ่อความเจรญิ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ ข้อท่ี ๕ ครูต้องไมแ่ สวงหาประโยชน์อันเปน็ อามิสสนิ จา้ งจากศษิ ย์ ในการปฏบิ ัติหน้าทต่ี ามปกติ และไม่ใช้ ศษิ ยก์ ระทำการใด ๆ อนั เปน็ การหาประโยชนใ์ หแ้ ก่ตนโดยมชิ อบ ขอ้ ที่ ๖ ครูยอ่ มพัฒนาตนเองทงั้ ในดา้ นวชิ าชพี ดา้ นบคุ ลิกภาพ และวสิ ยั ทัศน์ ใหท้ ันตอ่ การพฒั นาทาง วิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมืองอยู่เสมอ ขอ้ ท่ี ๗ ครูยอ่ มรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกทีด่ ีขององคก์ รวชิ าชีพครู ข้อที่ ๘ ครพู ึงช่วยเหลือเกอื้ กูลครแู ละชุมชนในทางสร้างสรรค์ ขอ้ ที่ ๙ ครูพงึ ประพฤติ ปฏิบัตติ น เป็นผู้นำในการอนุรกั ษ์ และพัฒนาภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย

หมวดที่ ๒ ระเบยี บข้อบังคับ ____________ ขอ้ ๑ เคร่ืองแบบและการแตง่ กายของครแู ละบคุ ลากร แต่งกายเครอ่ื งแบบชุดปฏบิ ัตงิ าน สัปดาห์ละ ๑ วนั ใช้ในโอกาสวนั ท่ีปฏบิ ัตงิ าน โดยโรงเรียนกำหนดวัน ข้นึ เองตามความเหมาะสม แต่งกายเครือ่ งแบบชุดพิธกี าร สปั ดาหล์ ะ ๑ วันใช้ในโอกาสงานพธิ ีสำคัญ และในวันทม่ี ีการจดั การ เรียนการสอนวิชา Junior Cadet แต่งกายเครอ่ื งแบบชดุ กีฬา สปั ดาหล์ ะ ๑ วันใช้ในโอกาสวันท่มี กี ารเรียนการสอนวชิ าพละศกึ ษา วัน แข่งขันกีฬาหรือวันท่โี รงเรยี นกำหนด แต่งกายเครือ่ งแบบชดุ ลูกเสอื สัปดาห์ละ ๑ วนั ใชใ้ นโอกาสท่ีมกี ารเรยี นการสอนวชิ าลกู เสอื และ โอกาสวนั สำคญั ของกจิ กรรมลกู เสอื การแต่งกายของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ผู้ชาย แตง่ กายตามแบบและโอกาส ท่ีโรงเรียนกำหนด ทรงผมใหไ้ วแ้ บบรองทรงธรรมดา ไม่ ยาวจนเกนิ ไป ไม่ดัดและย้อมสที ีด่ ไู ม่เหมาะสม ไมส่ วมแวน่ ตาท่ีแบบและสีไมส่ ภุ าพ สร้อยคอให้สวมไว้ในเสอื้ ไม่ สามารถมองเห็นได้ ใสร่ องเทา้ หุ้มส้น ผู้หญิง แตง่ กายตามแบบและโอกาสทโ่ี รงเรยี นกำหนด ทรงผมให้ไว้แบบสภุ าพผมยาวหรือผม สนั้ ไมย่ ้อมสที ีด่ ูไม่เหมาะสม สวมเคร่อื งประดบั ไดต้ ามความเหมาะสม ให้ดูเรียบร้อยสวยงามสภุ าพ ใส่รองเทา้ หุ้มสน้ หรอื รดั สน้ สูง ๑ - ๓ นว้ิ ไมม่ ีลวดลาย สวมถงุ น่องสีสภุ าพไมม่ ีลวดลาย และสะพายกระเป๋าได้ ข้อ ๒ วนั เวลาปฏิบัติงาน ๒.๑ วนั เวลาท่ีโรงเรยี นเปดิ ทำการสอนตามท่ไี ดร้ ับอนุญาต ๒.๒ วนั เวลาที่โรงเรียนกำหนดใหค้ รูมาปฏิบัตงิ านของโรงเรียนแมใ้ นระหว่างวันหยดุ ทีก่ ำหนดไว้ ๒.๓ ใหค้ รูมาถึงโรงเรียนก่อนเวลาท่โี รงเรยี นเปิดทำการสอนไม่น้อยกว่า ๑๐ นาที และกลับหลงั เวลาทโ่ี รงเรียนเลิกเรยี นไม่น้อยกว่า ๑๐ นาที ๒.๔ ช่วงเวลาเปิดภาคเรียนครูทุกคน ตอ้ งมาถงึ โรงเรียนกอ่ นเวลา ๐๗.๓๐ น. และกลับเวลา ๑๗.๐๐ น. โดยการแสกนหนา้ ท้งั มาและกลับ ผู้ทมี่ าหลังเวลา ๐๗.๓๐ น. ถอื ว่าเป็นผู้ปฏิบัตงิ านสาย ๒.๕ การออกนอกบริเวณโรงเรียนในช่วง ๐๘.๐๐ น. – ๑๗.๐๐ น. ซึ่งเปน็ ชว่ งเวลาทำงาน ครูทีม่ ีกิจ ธุระส่วนตัวจำเป็นตอ้ งออกนอกบรเิ วณโรงเรียน จะตอ้ งไปในชั่วโมงที่ว่างจากการสอนและมีครูผู้ดูแลนกั เรียนแทน ลงสมุดลาเฉพาะกาลท่หี ้องธุรการทุกครงั้ ท้ังไปและกลับ และจะตอ้ งไดร้ บั การอนุญาตจากผู้บริหารสถานศกึ ษา หรือ ผูไ้ ด้รบั มอบอำนาจให้ปฏิบัตกิ ารแทน โดยลงนามในสมุดลาเฉพาะกาลด้วย มิเชน่ นั้น โรงเรยี นจะไมร่ บั ผิดชอบกรณี เกิดเหตใุ ดๆ ทัง้ สิน้ ๒.๖ ช่วงเวลาปดิ ภาคเรยี นและช่วงวนั หยดุ ใหม้ าปฏบิ ัตงิ านเวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. หรือจน เสร็จส้ินภารกิจ และได้รับอนญุ าตจากผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผไู้ ดร้ บั มอบอำนาจให้ส่งั การแทนจึงจะกลับได้ ข้อ ๓ การปฏบิ ัติหนา้ ท่เี วรประจำวนั ๓.๑ ครูเวรจะต้องมาปฏิบัติงานอย่างช้าไม่เกิน ๐๖.๐๐ น. และกลับเวลา ๑๘.๐๐ น. หลังจาก นักเรียนกลับบา้ นหมดแลว้ ๓.๒ การปฏิบัตหิ นา้ ท่ีเวรประจำวันตอ้ งบนั ทึกเหตุการณ์ท่ีปฏบิ ัติหนา้ ท่ีเวรทกุ คร้ัง ตอ้ งสง่ บนั ทกึ การ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทที่ กุ สิน้ เดือน หากผู้ใดไม่ส่งให้ถือว่าละเลยต่อหน้าท่ี ใหผ้ ู้น้ันปฏิบตั ิเวรนนั้ ๆ เปน็ เวลาหนง่ึ เดือน ๓.๓ การปฏิบัติหนา้ ที่เวรประจำวนั ต้องปฏิบตั ิหน้าที่ตามทีร่ ะบุในคำสง่ั โดยเครง่ ครัด ในกรณีลาปว่ ย ลากจิ จะตอ้ งมีครปู ฏิบัติหนา้ ท่แี ทน

๓.๔ หากผู้ปฏิบัติหน้าที่เวรคนใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามกำหนดด้วยเหตุไม่จำเป็น ให้ถือว่า ละทิ้ง หน้าที่ ทางหัวหน้าฝ่ายบริหารงานบุคคลจะบนั ทึกพฤติกรรมรายบคุ คลจนครบ ๓ คร้ัง จะต้องเข้าพบผู้บรหิ าร สถานศึกษาเพ่อื ชแี้ จง และต้องปฏบิ ัติหนา้ ท่เี วรนัน้ ๆ ๑ สัปดาห์ ขอ้ ๔ การเขา้ แถวเคารพธงชาติ ๔.๑ ครทู ุกคนจะต้องลงแถวหน้าเสาธง เวลา ๘.๐๐ น. ดแู ลนกั เรียนพรอ้ มท้ังรับฟังขา่ วสารต่าง ๆ ทกุ ครงั้ ๔.๒ การควบคุมแถว ให้ครปู ระจำชั้นควบคุมนักเรยี นบริเวณหน้าแถวในช้นั ของตนเอง ๔.๓ ครูพิเศษ จะต้องควบคุมนักเรียนบริเวณหลังแถวในระดับชั้นท่ีตนสังกัดอยู่ แล้วมาเข้าแถว รวมกันทแี่ ถวครูพเิ ศษดา้ นหนา้ ตามทโี่ รงเรยี นกำหนด ๔.๔ ครูทกุ คนควรเคารพสถานทีแ่ ละพิธีการ จงึ ไมค่ วรพูดคยุ กันในแถว ข้อ ๕ การเรยี กชือ่ นกั เรียนและการแจ้งยอดนกั เรียนประจำวนั ๕.๑ เม่ือนักเรียนเข้าห้องเรียนแล้ว ครูประจำชั้นจะต้องเรียกชื่อนักเรียนจัดทำบันทึกสถิตินักเรียน ทม่ี าและไม่มาในแต่ละวัน ลงวัน เดือน ปี และชือ่ กำกบั ทุกคร้งั ๕.๒ เจ้าหน้าที่จดบันทึกสถิตินักเรียนแต่ละห้อง ภายในเวลา ๐๘.๔๐ น. – ๐๙.๓๐ น. ทุกวัน เพื่อลงบันทกึ สถติ นิ กั เรยี นแตล่ ะวนั ในกระดานสถิตินกั เรยี นของโรงเรียน ๕.๓ หากมกี ารเพ่ิม – ลดจำนวนนักเรยี น ให้แจง้ เจา้ หนา้ ท่ีจดสถิติหรืองานธุรการทกุ คร้งั ขอ้ ๖ การเข้าห้องสอนและการแลกเปลย่ี นชว่ั โมงสอน ๖.๑ ครู ต้องเข้าห้องสอนและออกจากห้องสอนให้ตรงเวลา ในกรณีท่ีมีงานเร่งด่วนท่ีจะต้อง ดำเนนิ การ หรือมกี ารสับเปล่ยี นช่ัวโมงการสอน ต้องแจ้งหัวหน้าระดบั ช้ันและหวั หน้าฝ่ายบรหิ ารงานวิชาการของ โรงเรียน ๖.๒ ครู ต้องเอาใจใส่ต่อการสอนไม่ละท้ิงห้องเรียน เกินกว่าครั้งละ ๕ นาที ในกรณีท่ีมีภารกิจ สว่ นตัวต้องออกจากห้องเรียนให้ส่ังนักเรียนในหอ้ งเรียน และฝากห้องข้างเคียงไว้ เม่ือเสรจ็ ภารกิจส่วนตัวแล้วรีบ เขา้ ห้องสอนทนั ที ๖.๓ ครูในวิชาพิเศษ เชน่ พลศกึ ษา ฯลฯ จะต้องมารบั นักเรียนและสง่ นกั เรยี นถงึ หอ้ งเรียน และฝึก ความเป็นระเบยี บวินยั ให้กับนกั เรยี นทเี่ ดนิ เรยี นวชิ าพเิ ศษ ๖.๔ ในชั่วโมงทม่ี กี ารสอน ห้ามครใู ชเ้ คร่อื งมอื ส่ือสารทุกประเภท ๖.๕ ครตู อ้ งเอาใจดูแลนกั เรยี นอย่างท่ัวถงึ ไม่นั่งสอน เมือ่ ให้งานนกั เรียนทำควรเดินดู ตรวจงาน ขอ้ ๗ งานปกครองชน้ั เรียน ๗.๑ ควบคุมการเข้าแถ กิจกรรมหน้าเสาธง และการเข้าห้องประชุม ตลอดจนการประกอบ กิจกรรมของนกั เรยี นทกุ ครงั้ ๗.๒ ดูแลนักเรียนให้ปฏิบัติตามข้อบังคับ ระเบียบวินัยของโรงเรียนและข้อตกลงของห้องโดย เคร่งครัด ๗.๓ คอยตกั เตือนหรอื หา้ มปรามนักเรียนด้านความประพฤตใิ นสิง่ ท่เี ห็นวา่ ไม่ดี ไม่สมควร ทกุ โอกาส ท่พี บเหน็ ๗.๔ อบรมนกั เรยี นในช่วั โมง พร้อมท้ังสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการเรียนการสอน ๗.๕ ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นไดม้ ีการแสดงออกในดา้ นความคิดสรา้ งสรรค์ ด้านความถนัด และความสามารถพิเศษของนกั เรยี น ๗.๖ ปฏิบัติหน้าท่ีครูแนะแนวในห้องเรียน เป็นที่ปรึกษาของนักเรียนในเรื่องต่าง ๆ ตลอดจนให้ ความช่วยเหลอื หรือแก้ปัญหานกั เรียนท่มี ีปัญหา โดยประสานกับฝ่ายตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ๗.๗ วางระเบียบข้อตกลงของห้องและกำหนดหน้าท่กี จิ กรรมตา่ ง ๆ ประจำห้องเรยี น เชน่ เวรประจำห้องหรืออน่ื ๆ ท่สี มควร ๗.๘ ติดตามพฤติกรรมของนกั เรยี นทม่ี าสาย หรอื ขาดเรยี นแล้วรายงานใหฝ้ ่ายปกครองทราบ หากมนี กั เรียนคนใดขาดเรียนเกนิ กว่า ๓ วันให้ติดต่อผู้ปกครองนกั เรียนโดยทันที

๗.๙ สังเกตและตรวจสขุ ภาพของนกั เรยี นเพ่ือใหค้ ำแนะนำ ติดตอ่ ห้องพยาบาล หรอื ผู้ปกครองตาม สมควรแก่กรณี ๗.๑๐ ศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดของนักเรียนเป็นรายบุคคลทางด้านครอบครัว อารมณ์ สังคม ความสามารถทางวชิ าการ และประวตั ิการเรียนของนกั เรยี น ๗.๑๑ รายงานผู้บริหารทันทีเม่ือมีเหตุอันก่อให้เกิดความเสียหาย หรือเหตุบางอย่างท่ีไม่สามารถ จัดการเองได้ ๗.๑๒ ติดตอ่ แจ้งข่าวสารเกีย่ วกับตวั นักเรียน ด้านการเรียนการสอน ความประพฤติ และสุขภาพ อนามยั ของนักเรียน ใหผ้ ้ปู กครองไดร้ บั ทราบอย่างนอ้ ยเดอื นละ ๑ ครง้ั ๗.๑๓ ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ีแกน่ กั เรยี นในดา้ นความประพฤติ กิรยิ ามารยาท และการแต่งกาย ขอ้ ๘ งานธรุ การช้ันเรยี น ๘.๑ สำรวจการมาเรียนและการลาออกนอกโรงเรียนของนักเรยี น ๘.๒ จัดทำแบบ ปพ.ตา่ ง ๆ ใหเ้ รยี บร้อย ๘.๓ จดั ทำตารางคะแนนและกราฟแสดงผลการเรยี นทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๘.๔ จัดทำทะเบยี นทรัพยส์ ิน วัสดุอุปกรณ์ ประจำห้องเรียน และแจ้งโรงเรียนเม่อื มีการชำรุดหรือ เสียหาย ข้อ ๙ งานปฏบิ ตั ิการสอน ๙.๑ เตรียมการสอน เช่น เขียนแผนการจดั ประสบการณ์ แผนการจดั การเรียนรู้ อุปกรณ์การสอน สมุดบันทึกการสอน ๙.๒ ตรวจการทำการบ้าน แบบฝกึ หัด และผลงานนักเรยี น ๙.๓ จดั กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน สอนซ่อมเสริม ๙.๔ งานทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการวัดผลประเมนิ ผล ๙.๕ สอนแทนเมอื่ ครปู ระจำวิชาอนื่ ไม่มา ๙.๖ ดูแลตดิ ตามการเรยี นของนักเรียนในวชิ าทค่ี รูประจำชนั้ มิได้สอน และแนะนำการเรียนในวิชาน้นั ๆ ๙.๗ ประชมุ ปรกึ ษางานและวางแผนการสอน ๙.๘ ให้ความร่วมมอื กับครูในโรงเรยี นเพ่อื จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรขู้ องนกั เรียน ๙.๙ อทุ ศิ เวลาในการทำงานเพือ่ ประโยชน์ของนกั เรยี นเปน็ สำคัญ ๙.๑๐ จดั ทำบนั ทึกหลังการสอนใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั ๙.๑๑ จัดทำงานวิจัยในชั้นเรียนอย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ ชิน้ ขอ้ ๑๐ งานการจดั สภาพแวดลอ้ มและการจดั บรรยากาศของช้ันเรียน ๑๐.๑ จัดบรรยากาศในหอ้ งเรียนใหเ้ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ๑๐.๒ จดั ระบบ ๕ ส. ทุกห้องเรียน ๑๐.๓ ดูแลวสั ดุอุปกรณ์ เครอ่ื งใช้ประจำหอ้ งเรยี นใหพ้ ร้อมท่ีจะนำมาใช้ ๑๐.๔ ดแู ลสขุ อนามยั ของนักเรยี น การรับประทานอาหาร ตลอดจนนำ้ ดืม่ นำ้ ใช้ ๑๐.๕ ดูแลความพร้อมของนกั เรียนและบริเวณรอบห้องเรียนใหส้ ะอาดเปน็ ระเบียบในเชิงศิลปะ และวชิ าการ ข้อ ๑๑ งานตามนโยบายและการวางแผนงานของโรงเรียน ๑๑.๑ ปฏบิ ัติงานตามโครงการของโรงเรียนทไี่ ด้วางแผนไว้และงานท่ีเกย่ี วข้อง ๑๑.๒ สนับสนนุ โครงการต่าง ๆ ของโรงเรยี น ๑๑.๓ ปฏบิ ัติงานตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมายและให้ความรว่ มมอื ตามนโยบายของโรงเรยี น ๑๑.๔ ประเมินและสรุปผลงานและรายงานให้ผู้บริหารสถานศึกษาทราบเดอื นละ ๑ คร้ัง โดยเสนอ ผา่ นหวั หน้าฝา่ ย ๑๑.๕ กำหนดเปา้ หมายการทำงาน และรายงานผลการทำงานประจำปเี สนอผู้บริหารในทุกสน้ิ ปีการศึกษา

ข้อ ๑๒ วนั หยดุ ทำการ ๑๒.๑ วันหยดุ ประจำสปั ดาห์ ๑๒.๒ วันหยุดภาคเรียน ๑๒.๓ วันหยดุ ตามประเพณี ๑๒.๔ วันหยุดตามประกาศหรือคำสั่งของทางราชการ ๑๒.๕ วนั ท่โี รงเรยี นกำหนดใหเ้ ป็นวันหยุด ขอ้ ๑๓ การทำงานในชว่ งเวลาหยดุ พัก ทำงานนอกเวลาหรือทำงานในวันหยุด เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนของผู้เรียน เพ่ือ รักษาวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม หรือเพ่ือกิจกรรมที่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอนตามหลักสูตร โรงเรียนกำหนดให้ครทู ำงาน ดังนี้ ๑๓.๑ ใหค้ รูผลดั เปลยี่ นกนั ทำหน้าท่ีครูเวร ๑๓.๒ ประชมุ หรืออบรมเพอื่ พัฒนาการเรียนการสอน ๑๓.๓ จดั ทำกิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วกับกระบวนการเรียนการสอนตามหลักสตู ร ๑๓.๔ ปฏิบัติงานเพอ่ื เตรียมการสอนเปน็ เวลาไม่น้อยกวา่ ๑๕ วันกอ่ นเปดิ ภาคเรียนของปี การศกึ ษาใหม่ ๑๓.๕ ใหม้ าสอนชดเชย ข้อ ๑๔ การลา ดว้ ยโรงเรียนปัญญานฤมิต พจิ ารณาเหน็ สมควร ปรับปรุงระเบยี บการลาของครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนปญั ญานฤมิตให้เหมาะสมย่งิ ขึน้ สอดคลอ้ งกบั ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ด้วยการลา จึงกำหนดระเบยี บไว้ดังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ระเบยี บน้เี รยี กว่า “ระเบียบโรงเรียนปัญญานฤมติ ว่าด้วยการลา พ.ศ. ๒๕62” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ใหใ้ ช้บงั คับต้ังแต่ ๑ เมษายน ๒๕62 เปน็ ตน้ ไป ขอ้ ๓ บรรดาความในระเบียบ คำส่ัง และคำชแี้ จงใดๆ ซง่ึ ขดั แย้งกับระเบียบนี้ให้ใช้ความใน ระเบียบนแี้ ทน ขอ้ ๔ การลากิจ ๔.๑. ลากิจไดไ้ มเ่ กิน ๑๐ วนั ในหน่ึงปีการศกึ ษา ถา้ ลากจิ ตดิ วนั หยดุ ให้นบั วันหยดุ ท่คี นั่ ระหว่างวนั ลาเปน็ วนั ลาด้วย เวน้ แตก่ ารลาปว่ ย ๔.๒. ในกรณีทีล่ ากจิ เกนิ ๑๐ วัน วนั ลากิจ ๑ วัน หักเงินเดือน ๑ วนั และหากลากิจต่อเนื่องตดิ ตอ่ กับวันหยุดเสาร์ – อาทิตย์ และวนั หยุดราชการนักขัตฤกษ์ หักเงินเดือน 1 วัน ๔.๓. การพจิ ารณาอนุมตั ใิ ห้ลากจิ อยู่ในอำนาจของผู้อำนวยการ ผจู้ ดั การ หรือ ผทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบอำนาจ ท่ีจะพจิ ารณาความจำเปน็ และเหมาะสมซึ่งอาจไมอ่ นุมตั ิให้ลาตามที่ขออนุญาตก็ได้ ๔.๔. ผู้ลากิจต้องเสนอใบลาต่อผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรง ผา่ นสายการบังคับบญั ชาจนถงึ ผู้ มอี ำนาจอนมุ ตั ิ จะลาแทนกันไม่ได้ เมื่อไดร้ ับอนญุ าตแลว้ จงึ จะหยดุ งานได้ ๔.๕. การเขียนใบลากิจจกั ต้องกล่าวถงึ ความประสงค์ของการลา กำหนดวันลาตั้งแต่ เม่อื ใดถึงเมอ่ื ใด และบอกสถานท่ีซง่ึ ทางราชการจะติดต่อไดเ้ สมอดว้ ย ข้อ ๕ การลาป่วย ใหล้ าได้ดังน้ี ๕.๑. กรณเี จ็บปว่ ยธรรมดา ให้ลาไดไ้ ม่เกนิ 30 วนั และต้องมใี บรับรองแพทย์ (แพทย์ท่ีมีใบประกอบวชิ าชีพเวชกรรม) ๕.๒. กรณเี จบ็ ป่วยทีต่ ้องรกั ษาตัวในโรงพยาบาล ให้ลาได้ตามระยะเวลาท่ีแพทยแ์ ผน ปจั จุบันกำหนดและออกใบรับรองแพทย์ (แพทย์ท่มี ใี บประกอบวิชาชพี เวชกรรม) ๕.๓. กรณีที่ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาไม่สามารถทำงานได้เนือ่ งจากประสบ อนั ตรายหรือเจ็บป่วยทเี่ กิดขึ้น จากการทำงานให้แกโ่ รงเรียน ไม่ถอื เปน็ วนั ลาป่วย

ข้อ ๖ ผู้ปว่ ยต้องเสนอใบลาแสดงอาการปว่ ยต่อผู้บงั คบั บญั ชาโดยตรง ผ่านสายการบังคับ บัญชาจนถึงผู้มีอำนาจอนมุ ตั ิ โดยจะให้ผ้อู ื่นทำใบลาเสนอแทนตนก็ได้ หรอื ทำใบลาเสนอด้วยตนเองยอ้ นหลัง เมอ่ื หายป่วยและกลบั มาปฏบิ ัติงาน และต้องมีใบความเหน็ หรือคำแนะนำของแพทย์แนบมากับใบลาด้วย ข้อ ๗ ผซู้ ึง่ ลาปว่ ยเกนิ กำหนดทกี่ ลา่ วไว้ในขอ้ ๕ ใหผ้ ู้บังคับบญั ชาทม่ี ีอำนาจพิจารณาความ เหมาะสมในการให้ออกจากงานได้ ข้อ ๘ ผู้ปว่ ยทไี่ ดล้ าหยุดพักรกั ษาตัวครบกำหนดแลว้ แต่อาการป่วยยังไม่หายจะหยดุ พัก รักษาตวั ต่อไปอกี ให้เสนอใบลาต่อตามท่ีกล่าวแล้วข้างตน้ ขอ้ ๙ การนับวันลาตามระเบยี บน้ี ให้นับตามวงรอบในหนึ่งปกี ารศกึ ษา ๙.๑. การนบั วนั ลาเพอ่ื ประโยชนใ์ นการเสนอหรือจัดส่งใบลา อนญุ าตให้ลา และคำนวณวันลา โดยให้นับต่อเน่อื งกนั โดยนบั วนั หยดุ เสาร์ - อาทิตย์และวนั หยดุ ราชการนกั ขตั ฤกษ์ทีอ่ ยู่ใน ระหว่างวนั ลาประเภทเดียวกนั รวมเปน็ วนั ลาด้วย ๙.๒. การลาป่วยหรอื ลากจิ ซึง่ มีระยะเวลาต่อเนอ่ื งกัน ในชว่ งเวลาต่อเนอื่ งข้ามปี การศึกษาให้นับวันลาของปกี ารศึกษาเก่าตามสิทธิที่กำหนดและวันลาของปีการศกึ ษาใหม่ตามสทิ ธิที่กำหนดด้วย ข้อ ๑๐ การลาเพื่อทำหมัน ให้ลาไดต้ ามระยะเวลาท่แี พทยแ์ ผนปจั จบุ ันกำหนดและออก ใบรบั รองแพทย์ ข้อ ๑๑ การลาคลอดบุตร ๑๑.๑. สทิ ธิการลา ใหล้ าได้ไม่เกนิ ๔๕ วัน ๑๑.๒. กรณกี ารลาคลอดทม่ี อี ายุงานตง้ั แต่ 1 ปีข้ึนไป จะได้รบั เงนิ เดอื นตามปกติ แตต่ ้องมใี บรับรองแพทย์ 11.3. กรณกี ารลาคลอดที่มอี ายงุ านไมถ่ งึ 1 ปี จะไมไ่ ด้รับเงินเดอื น แตจ่ ะนับ เปน็ รายวันในวันที่มาทำงาน ข้อ ๑๒ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ซึง่ ประสงคจ์ ะลาคลอดบตุ รให้เสนอหรือนำส่ง ใบลาต่อผ้บู ังคับบัญชา ตามลำดับชนั้ จนถงึ ผู้อำนวยการ ผ้จู ดั การหรือผู้ทไ่ี ด้รบั มอบอำนาจ ได้ดังนี้ ๑๒.๑. กรณีลากอ่ นคลอด ให้ส่งใบลาลว่ งหนา้ หรือสง่ ในวนั คลอด ๑๒.๒. กรณีไมไ่ ด้ลาก่อนคลอด ให้ส่งใบลาย้อนหลังภายใน ๗ วนั หลงั วันคลอด ขอ้ ๑๓ การลาคลอดบุตรคาบเกี่ยวกับการลาประเภทใด ซึ่งยงั ไม่ครบกำหนดวันลาของการลา ประเภทนัน้ ใหถ้ ือวา่ การลาประเภทน้นั ส้ินสุดลงและให้นับเป็นการลาคลอดบตุ รตงั้ แต่วนั เริม่ ลาคลอดบุตร ขอ้ ๑๔ การลาเพ่ือรบั ราชการทหารในการเรยี กพลเพอ่ื ตรวจสอบ เพอ่ื ฝกึ วิชาทหารหรือ เพ่อื ทดลองความพร่งั พร้อมตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการรบั ราชการทหาร ให้ลาได้ไมเ่ กนิ ๖๐ วัน ข้อ ๑๕ การลาอุปสมบทหรอื ลาไปประกอบพธิ ฮี ัจย์ 15.1. สทิ ธิการลา ใหล้ าได้ไมเ่ กิน 45 วนั 15.2. กรณีท่ีครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาไมเ่ คยอุปสมบทหรือไมเ่ คยไปประกอบ พิธฮี จั ย์ มอี ายงุ านต้งั แต่ 1 ปีขน้ึ ไป ใหย้ ื่นใบลาลว่ งหน้าไม่น้อยกวา่ ๓ เดือน เว้นแต่โรงเรยี นยงั หาครแู ทน ไม่ได้ จะยับย้งั การลาน้ันไว้กอ่ นและให้ลาในปีต่อไป จะไดร้ บั เงินเดอื นตามปกติ 15.3. กรณีที่อายงุ านไม่ถึง 1 ปี จะไม่ไดร้ ับเงินเดือนแต่จะนับเป็นรายวนั ในวันทม่ี าทำงาน ขอ้ ๑๖ ผู้ซ่งึ ได้รับอนญุ าตให้ลาอปุ สมบทแลว้ เม่ือถึงวันลา ไดห้ ยุดงานไปเพื่อเตรยี มการ อปุ สมบท หากปรากฏว่ามีปัญหาอุปสรรคทำให้ไม่สามารถอปุ สมบทได้ ตามทขี่ ออนุญาตลาไว้ เม่ือไดร้ ายงานตัว กลับเขา้ ปฏบิ ัติงานตามปกติและขอถอนวันลาอุปสมบท ให้ผู้มอี ำนาจอนญุ าตให้ลาอปุ สมบทได้เปน็ ผอู้ นุมตั ิ โดย ให้ถอื ว่าวนั ทไ่ี ดห้ ยุดงานไปแล้วเป็นวันลากิจ ขอ้ ๑๗ ผู้ซ่ึงได้รบั อนญุ าตให้ลาอปุ สมบท จะตอ้ งอปุ สมบทภายใน ๑๐ วัน นบั ตั้งแต่ วนั เริ่มวันลา และเม่อื ลาสิกขาเมือ่ ใดต้องรายงานให้ผู้บงั คับบญั ชาโดยตรงทราบภายใน ๕ วัน นับตั้งแต่วันลาสิกขา ขอ้ ๑๘ การลางานเพอื่ ปฏิบัติภารกจิ ส่วนตวั กอ่ นเวลา ๑๕.๐๐ น. ถือวา่ ลากิจครง่ึ วัน

ขอ้ ๑๙ การลาในระหวา่ งเวลาทำงานอนญุ าตให้ลาได้ไมเ่ กิน ๒ ชม. ถา้ เกิน ๒ ชม. ถอื ว่าลากจิ คร่งึ วันและใหไ้ ปขอใบอนุญาตท่หี ัวหน้าฝ่าย แล้วนำมาใหเ้ จ้าหน้าท่ีธุรการ และลงชื่อในสมดุ ขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน หลงั จากกลับมาแล้วใหม้ าลงเวลากลบั ทหี่ ้องธุรการดว้ ย ข้อ ๒๐ การมาทำงานสายรวม ๓ วนั ใน ๑ เดือน ถอื เป็นวนั ลากจิ ๑ วนั ขอ้ ๒๑ การลาโดยทีม่ ไิ ด้มีการเสนอใบลาล่วงหน้าด้วยตนเอง เชน่ การโทรมาลาหรือแจ้ง การลาดว้ ยช่องทางตดิ ตอ่ อื่นๆ หลงั จากกลบั มาปฏบิ ัติงานแลว้ ให้เขยี นใบลายอ้ นหลังไดไ้ ม่เกิน 3 วนั หรอื ภายใน เดอื นนั้นก่อนตดั รอบบัญชีเงินเดอื น หากไม่ปฏบิ ตั ติ ามให้เรยี บร้อยตามกำหนดเวลา จะถูกหกั เงนิ เดอื น ๑ แรง ขอ้ ๒๒ ครแู ละบุคลากรทเี่ ข้าทำงานใหม่ ในชว่ ง ๓ เดือนแรก ซง่ึ ยังไม่ผา่ นการทดลอง ปฏบิ ัตงิ าน หา้ มขาด หา้ มลา หากขาดหรือลา โดยไมม่ ีเหตอุ นั ควรจะตัดค่าตอบแทนคิดเฉลี่ยเป็นรายวัน ขอ้ ๒๓ การหยุดงานโดยไมแ่ จ้งถอื เป็น ขาดงาน ข้อ ๒๔ วนั ประชุมประจำเดอื นหรอื วนั หยดุ ราชการทท่ี างโรงเรียนจัดกิจกรรมให้ ถือเป็น วนั ทำงาน หากไม่มาประชุมหรือไม่มารว่ มกิจกรรม ใหถ้ ือเปน็ ขาดงาน หากมีเหตุจำเป็นฉุกเฉินที่ไม่สามารถ หลีกเล่ยี งได้ใหข้ ออนมุ ัติลากิจกอ่ น ข้อ ๒๓ การลาออก ๒๓.๑. การลาออกครูตอ้ งเขยี นใบลาออกตามแบบฟอรม์ และย่นื ใบลาออกลว่ งหน้ากอ่ น จบปีการศกึ ษาเท่านั้น เพื่อการพิจารณาของผูม้ ีอำนาจอนมุ ตั เิ ป็นผู้พจิ ารณาอนมุ ตั ิ หากลาออกระหว่าง ปกี ารศกึ ษา จะไม่ไดเ้ งินคำ้ ประกันการทำงานคนื รวมท้งั สทิ ธิอนั พงึ มพี งึ ได้ท้งั ส้นิ 23.2 การลาออกบุคลากรทางการศึกษาตอ้ งเขยี นใบลาออกตามแบบฟอรม์ และยื่นใบลาออกล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ เดือน เพื่อการพิจารณาของผู้มอี ำนาจอนมุ ตั ิเปน็ ผูพ้ ิจารณาอนุมตั ิ ๒๓.3 ผมู้ อี ำนาจอนมุ ัติจะพิจารณาใหอ้ อก หรอื ไมใ่ ห้ออกจากงานเมอื่ วันใดก็ได้ ตามความเหมาะสมซ่ึงอยู่ในดุลยพินจิ ของผมู้ ีอำนาจอนมุ ัติ ๒๓.4. ผขู้ อลาออก มสี ิทธิไดร้ บั เงนิ ตามสทิ ธิอันพึงมพี งึ ได้ ตามระเบยี บ อันได้แก่ เงินเดือนตามสิทธิ เงินค้ำประกันการทำงาน เงินโบนัสและเบ้ียขยัน ยกเว้นผู้ดำรงตำแหนง่ ครูทุกประเภทให้ลาออก เป็นปกี ารศกึ ษาไป หากมเี หตุใหอ้ อกกะทันหนั จะถือวา่ ผดิ ระเบยี บนี้ จะไมไ่ ดร้ ับเงินตามสทิ ธิอนั พงึ มพี งึ ได้ ขอ้ ๒๔ การขอนุญาตลาทุกประเภท ให้เขยี นรายงานตามแบบฟอรม์ แตล่ ะประเภท โดยเสนอ ใบลาผบู้ ังคับบัญชาโดยตรง ผ่านสายการบังคับบัญชาจนถึงผ้มู อี ำนาจอนมุ ัติ ขอ้ ๒๕ ผมู้ อี ำนาจอนุมตั ิการลาทกุ ประเภทคือ ผู้อำนวยการ ผ้จู ัดการหรือผทู้ ีไ่ ดร้ บั มอบอำนาจ เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร ขอ้ ๒๖ ให้ ฝา่ ยธรุ การ รักษาการตามระเบียบนี้ ขอ้ ๑๕ การแจ้งการลา เมื่อมีเหตุจำเป็นตอ้ งขอลาหยุดงาน ให้ย่ืนใบลาต่อผู้บริหารสถานศึกษาโดยมีกำหนดระยะเวลา แจง้ การลาดงั น้ี ๑๕.๑ การลากิจ หรือลาทำหมันให้ย่ืนใบลาล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ วัน ในกรณีจำเป็นและไม่ สามารถยนื่ ใบลาได้ตามกำหนด ใหแ้ จ้งการลาโดยเรว็ ทสี่ ดุ ๑๕.๒ การลาปว่ ย ใหแ้ จ้งการปว่ ยให้โรงเรียนทราบในโอกาสแรกท่ีลาป่วย เว้นแต่เหตุสดุ วิสยั และ ให้ส่งใบลาในวันแรกท่ีมาทำงาน ถ้าเป็นการลาป่วยตั้งแต่ ๓ วันทำงานขึ้นไป ให้ครูแสดงใบรับรองแพทย์แผน ปัจจุบันช้ันหน่ึงหรือของสถานพยาบาลของทางราชการ ในกรณีที่ครูไม่อาจแสดงใบรับรองแพทย์ได้ ให้ครูชแ้ี จง ให้โรงเรยี นทราบ ๑๕.๓ ลาคลอดบตุ ร (๑) กรณีลาก่อนคลอด ให้ส่งใบลาลว่ งหน้า หรือสง่ ในวนั คลอด (๒) กรณไี ม่ได้ลาก่อนคลอด ให้แจ้งการลาภายใน ๓ วนั

๑๕.๔ ลาอุปสมบทหรือลาเพื่อไปประกอบพิธฮี ัจย์ ให้ยื่นใบลาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๓ เดือน เว้น แตโ่ รงเรียนยังหาครแู ทนไมไ่ ด้ จะยบั ยัง้ การลาน้ันไว้ก่อน และให้ลาในปีตอ่ ไป ขอ้ ๑6 การเลกิ สญั ญาการเปน็ ครู ๑๗.๑ สถานศึกษา หรอื ครู อาจบอกเลิกสญั ญาการเป็นครู โดยบอกกลา่ วล่วงหน้าเป็นหนังสือให้ อีกฝ่ายหนึง่ ทราบ เมอื่ ถงึ หรือก่อนจะถงึ กำหนดจ่ายเงินเดอื น เพ่ือใหเ้ ปน็ ผลเลิกสัญญาเม่อื ถงึ กำหนดจ่าย เงนิ เดือนคราวถัดไปขา้ งหน้า หรอื บอกกล่าวล่วงหน้า ๑ เดือน ๑๗.๒ สถานศกึ ษาจะไมจ่ ่ายคา่ ชดเชยให้ครู ซง่ึ เลิกสญั ญาการเป็นครูในกรณีหนง่ึ กรณใี ด ดังต่อไปน้ี (๑) ทุจริตต่อหน้าทห่ี รอื กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแกส่ ถานศกึ ษา (๒) จงใจให้สถานศึกษาได้รับความเสียหาย เช่น การไปสอบบรรจุ หรือถูกเรียกให้เป็นครูใน สถานศกึ ษาทัง้ ภาครฐั และเอกชน (๓) ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้โรงเรียนได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง เช่น การลงโทษ นกั เรยี นจนเปน็ เหตุให้เกดิ การฟ้องรอ้ งทางอาญา (๔) ฝา่ ฝนื ระเบียบวา่ ด้วยจรรยาบรรณวิชาชีพครตู ามทคี่ ุรสุ ภากำหนด (๕) ฝ่าฝืนระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วยจรรยา มรรยาท วินัย และหนา้ ทีข่ อง ผู้รับใบอนุญาต ผูจ้ ัดการ ครูใหญห่ รือครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ.๒๕๒๖ (๖) ฝ่าฝืนระเบียบของโรงเรียน และโรงเรียนได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่ในกรณีที่ รา้ ยแรงท่ไี มจ่ ำเป็นต้องตกั เตอื น (๗) มีความประพฤตไิ ม่เหมาะสมแก่ตำแหน่งหน้าท่ี (๘) ละทงิ้ หน้าท่ีเป็นเวลา ๗ วนั ติดตอ่ กนั โดยไมม่ เี หตุอนั สมควร (๙) ได้รบั โทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงทีส่ ุดใหจ้ ำคกุ เว้นแต่เปน็ โทษสำหรับความผดิ ทีไ่ ดก้ ระทำ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ (๑๐) ผิดขอ้ สญั ญาตกลงการทำงานระหว่างครแู ละสถานศึกษา ๑๗.๓ กรณีค่าชดเชย สถานศึกษาจะไม่จ่ายค่าชดเชยให้ครู ซ่ึงเลิกสัญญาการเป็นครูในกรณีหน่ึง กรณใี ดใน ๑๗.๒ ๑๗.๔ ครูไม่มสี ิทธไิ ดร้ บั ค่าชดเชย เพราะเหตุดงั ต่อไปน้ี (๑) ลาออกโดยสมัครใจ (๒) ถกู เพิกถอนใบอนุญาตให้เปน็ ครูตามพระราชบญั ญตั ิโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาตรา ๖๒ และมาตรา ๘๖ (๓) ออกจากการเป็นครตู ามขอ้ ๒ (๔) ภายในระยะเวลา ๙๐ วนั ของการทดลองปฏิบัติงานนับแต่วันที่ได้รับสัญญาจ้างเข้าเป็นครู และปรากฏว่าครูมีความประพฤติไม่ดี หรือไม่มีความรู้ หรือไม่มีความสามารถท่ีจะปฏิบัติหน้าที่ และโรงเรียน บอกเลกิ สญั ญาจ้างการเปน็ ครู ๑๗.๕ กรณีโรงเรียนไดพ้ ิจารณาสอบสวนครทู ี่ถูกกลา่ วหาว่ากระทำผดิ และหากปฏิบัตหิ น้าที่ต่อไป จะเกิดความเสียหายแก่การเรียนการสอน โรงเรียนจะมีคำส่ังให้พักงานเป็นเวลาไม่เกิน ๗ วัน โดยแจ้งให้ครู ทราบก่อนการพักงาน ในระหว่างพักงานจะไดร้ ับเงินเดือนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ของเงนิ เดือนท่ไี ดร้ ับก่อนถูก สง่ั พักงาน หากสอบสวนเสร็จสน้ิ ปรากฏครูไมม่ คี วามผิด โรงเรียนจะจา่ ยเงนิ เดือนเพิ่มขน้ึ จากที่ไดจ้ ่ายแล้ว

หมวดที่ ๓ บทลงโทษ ___________ ข้อท่ี ๑ ความประพฤตทิ ่ที างโรงเรียนถือวา่ เปน็ ความผิดรา้ ยแรงถงึ โทษใหอ้ อก ดังนี้ ๑.๑ ด้อื ขัดขนื หลีกเลี่ยง หรอื ละเลยไมป่ ฏบิ ตั ิตามคำส่งั ผู้บังคับบัญชาเหนอื ตน ๑.๒ ทจุ ริต หยิบ ยืม ขโมยส่งิ ของมีคา่ ของผอู้ ื่นโดยไม่บอกกล่าวเจา้ ของ แสดงเจตนา ไตรต่ รองไว้ก่อน ๑.๓ เสพเครอ่ื งดองของเมาจนถึงเสยี กิรยิ า ๑.๔ หมกมนุ่ ในการพนนั มีหน้ีสินรงุ รงั ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษาและกระทำผิดทางอาญา ๑.๕ ประพฤติผดิ ทางช้สู าว หรือประกอบอาชีพที่ไม่เหมาะแก่ฐานะครู ๑.๖ ไม่รักษาระเบยี บการเคารพระหว่างผใู้ หญผ่ นู้ อ้ ย ๑.๗ การละทิง้ หนา้ ที่ หรือ การขาดงาน หรอื ทุจริตตอ่ หน้าท่ี ๑.๘ จงใจให้สถานศกึ ษาได้รับความเสยี หาย เชน่ การไปสอบบรรจุ หรือถกู เรียกให้เป็นครใู น สถานศึกษาท้งั ภาครฐั และเอกชน ๑.๙ ประมาทเลินเล่อเปน็ เหตุให้โรงเรยี นไดร้ ับความเสยี หายอย่างรา้ ยแรง เช่น การลงโทษ นกั เรียนจนเป็นเหตใุ หเ้ กิดการฟอ้ งร้องทางอาญา ๑.๑๐ การนำเรอ่ื งภายในสถานศกึ ษาไปพูดข้างนอกอนั เปน็ เหตใุ ห้เกดิ ความเสยี หายตอ่ สถานศึกษาและบุคลากร ๑.๑๑ ฝา่ ฝืนระเบียบวา่ ดว้ ยจรรยาบรรณวชิ าชีพครูตามท่ีคุรุสภากำหนด ๑.๑๒ ฝ่าฝืนระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยจรรยา มรรยาท วนิ ยั และหนา้ ทีข่ อง ผู้รับ ใบอนญุ าต ผ้จู ัดการ ครูใหญ่หรือครูโรงเรยี นเอกชน พ.ศ.๒๕๒๖ ๑.๑๓ ฝา่ ฝนื ระเบียบของโรงเรยี น และโรงเรยี นได้ตักเตอื นเป็นหนงั สอื แลว้ เว้นแตใ่ นกรณีท่ี รา้ ยแรงท่ีไม่จำเป็นตอ้ งตกั เตอื น ๑.๑๔ ฉอ้ โกง และประพฤติตนไม่เหมาะสมแก่ตำแหนง่ หน้าท่ี ๑.๑๕ ละทิ้งหน้าทีเ่ ป็นเวลา ๗ วนั ติดต่อกนั โดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร ๑.๑๖ ไดร้ ับโทษจำคุกตามคำพพิ ากษาถงึ ท่สี ุดให้จำคุก เว้นแต่เปน็ โทษสำหรับความผิดทีไ่ ด้ กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ๑.๑๗ ผิดข้อสญั ญาตกลงการทำงานระหว่างครูและสถานศกึ ษา ข้อ ๒ ผู้ที่มีความประพฤติขัดต่อความเป็นครู จะมคี ณะกรรมการบริหารโรงเรียนเข้าร่วมพิจารณา โดยมี บทลงโทษดังนี้ ๒.๑ ตักเตือนด้วยวาจาแบบกลั ยาณมิตร ๓ ครัง้ (มบี นั ทกึ การตกั เตอื น) ๒.๒ ตกั เตอื นเป็นลายลักษณ์อักษร ๑ คร้ังนำเสนอผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ๒.๓ พกั การสอน ๒.๔ เชิญให้ออก

หมวดท่ี ๔ แนวปฏิบัตแิ ละเกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานครใู นการพิจารณาข้นึ ขั้นเงินเดือน ___________ ข้อ ๑ คุณสมบัตขิ องครู ๑.๑ เป็นผู้ทไ่ี ด้รบั การบรรจุเขา้ ทำงานไม่น้อยกวา่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๑.๒ เป็นผูท้ ี่ไม่เคยได้รบั การภาคทัณฑห์ รอื การลงโทษใด ๆ จากโรงเรียน ข้อ ๒ แนวการปฏบิ ตั ิ ๒.๑ สง่ แบบประเมินตนเองเก่ียวกบั การปฏบิ ัติงานภายในรอบปกี ารศกึ ษา ๒.๒ ส่งรายงานประเมินตนเอง ข้อ ๓ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนประจำปีคณะหน่ึง ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผู้ ทไ่ี ด้รับมอบอำนาจใหก้ ระทำการแทนเป็นประธาน ผู้ชว่ ยผู้บริหารสถานศึกษาเป็นรองประธาน หัวหนา้ ฝา่ ยเป็น กรรมการ หวั หน้าฝา่ ยบรหิ ารงานบุคลากรเปน็ กรรมการและเลขานกุ าร ขอ้ ๔ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการพจิ ารณาคา่ ตอบแทนประจำปี ๔.๑ จัดทำเกณฑ์การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของครู ๔.๒ ประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยพิจารณาจากแผนงาน / โครงการ เป้าหมายในการดำเนินงาน หน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบ และรายงานการประเมนิ ตนเอง ๔.๓ กำหนดอตั ราคา่ ตอบแทนใหเ้ หมาะสมกับสภาวะเศรษฐกจิ และขอ้ ปฏบิ ัตใิ ด ๆ ท่ีทางราชการกำหนด ๔.๔ ปรับปรงุ เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ภาพงานให้เหมาะสมกบั สภาพความเป็นจริงของความรบั ผิดชอบ และสอดคลอ้ งกับแนวการพัฒนาวชิ าชพี ครู ข้อ ๕ การพิจารณาข้ึนเงินเดือนประจำปีสำหรับครู ให้พิจารณาจา่ ยตามระดบั คณุ ภาพของครูแกนนำ ดังน้ี ๕.๑ ไมส่ ่งผลงาน คา่ ตอบแทนเพิ่มไมเ่ กนิ รอ้ ยละ ๑ ของเงินเดือน ๕.๒ รางวัลชมเชย คา่ ตอบแทนเพิ่มไมเ่ กนิ ร้อยละ ๒ ของเงินเดือน ๕.๓ รางวัลเหรยี ญทองแดง คา่ ตอบแทนเพิม่ ไม่เกนิ ร้อยละ ๓ ของเงินเดือน ๕.๔ รางวลั เหรียญเงนิ ค่าตอบแทนเพ่มิ ไม่เกนิ ร้อยละ ๔ ของเงนิ เดอื น ๕.๕ รางวัลเหรียญทอง ค่าตอบแทนเพิ่มไม่เกนิ ร้อยละ ๕ ของเงนิ เดือน ข้อ ๖ การพจิ ารณาข้ึนเงินเดือนประจำปสี ำหรบั บุคลากรทางการศึกษาให้พจิ ารณาดงั นี้ ๖.๑ ไมผ่ ่านเกณฑ์คุณภาพข้นั ตำ่ (ระดบั ๑) เลิกจา้ ง ๖.๒ ผา่ นเกณฑ์คณุ ภาพขั้นต่ำ (ระดบั ๑) คา่ ตอบแทนไมเ่ กินรอ้ ยละ ๑ ของเงนิ เดือน ๖.๓ ผา่ นเกณฑ์คุณภาพระดบั ดี (ระดับ ๒) คา่ ตอบแทนไมเ่ กินร้อยละ ๓ ของเงนิ เดอื น ๖.๔ ผา่ นเกณฑ์คณุ ภาพระดบั ดีมาก (ระดบั ๓) ค่าตอบแทนไม่เกนิ ร้อยละ ๕ ของเงนิ เดือน ท้งั น้ี การพจิ ารณาในขอ้ ๕ และขอ้ ๖ ค่าตอบแทนอาจปรับตามความเหมาะสมกบั ภาวะเศรษฐกิจ และถ้า หากปใี ดมีการประกาศขน้ึ เงินเดือนจากกระทรวงศึกษาธิการ ในปนี ั้นจะไมม่ กี ารพิจารณาข้ันเงินเดือน

หมวดที่ ๕ สวสั ดกิ ารครู ___________ โรงเรยี นได้จัดสวัสดกิ ารเพื่อเป็นขวัญและกำลงั ใจให้กับคณะครูทกุ ทา่ น ดังนี้ ข้อ ๑ สวัสดิการประกันอุบัติเหตุ เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ในวงเงิน ครั้งละไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท (การดำเนนิ การ – สำรองจา่ ยกอ่ น นำใบเสรจ็ พรอ้ มใบรับรองแพทย์ เพอ่ื รับเงินคืนไดท้ ่งี านการเงิน) ข้อ ๒ สวัสดิการยกเว้นค่าเล่าเรียน ค่าอาหาร ของบตุ ร/หลาน ครู (กรณี หลานครู ต้องเป็นบุตรของ พี่หรือน้องของครูที่ปรากฏช่ือบิดา มารดา เดียวกัน จึงจะได้รับสวัสดิการน้ี ในส่วนค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ ที่เป็นของ สว่ นตัวนักเรยี น ใหร้ บั ผดิ ชอบเอง) ข้อ ๓ สวัสดกิ ารอาหารประชุมประจำเดอื น ข้อ ๔ สวัสดกิ ารอาหารอบรมภายในโรงเรียน ขอ้ ๕ สวัสดกิ ารค่าใชจ้ า่ ยในการเข้ารับการอบรมภายนอก (ครทู ่ีเข้ารบั อบรมตอ้ งนำมาขยายผลใหเ้ พ่อื นครู) ขอ้ ๖ โครงการขวญั กำลงั ใจ – ของเยยี่ มครูปว่ ย เงนิ ช่วยครอบครวั ครู กรณีเสียชวี ิต ขอ้ ๗ การศึกษาดูงาน / การทัศนศกึ ษาประจำปี ขอ้ ๘ สังสรรค์ปีใหม่ ข้อ ๙ เครอื่ งแบบทำงาน (ตามแต่วาระและความเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ) ข้อ ๑๐ สวสั ดิการเงนิ กู้กองทุนประกันงานของโรงเรยี น ให้เป็นไปตามระเบียบ ขอ้ ๑๑ เงินโบนัสการประเมินครแู กนนำ ครเู หรียญทอง ๒,๐๐๐ บาท ครเู หรียญเงิน ๑,๕๐๐ บาท ครเู หรยี ญทองแดง ๑,๐๐๐ บาท รางวลั ชมเชย ๕๐๐ บาท ขอ้ ๑๒. ใหท้ ุนครูไปศกึ ษาต่อ ตามความต้องการของโรงเรยี น และต้องปฏบิ ตั ิดงั น้ี ๑๒.๑ กลบั มาทำงานใหโ้ รงเรยี น ๑ เท่าของเวลาเรียน ๑๒.๒ ถ้าเรยี นไมจ่ บใหช้ ดใช้เงนิ ๑ เทา่ ของเงนิ โรงเรียนที่จา่ ยไป ๑๒.๓ ถา้ ลาออก ต้องใชเ้ งินคนื ๔ เท่า ๑๒.๔ ต้องทำงานมาแลว้ อย่างน้อย ๒ ปี ขึน้ ไป ข้อ ๑๓. สวัสดกิ ารสหกรณ์ร้านค้าของโรงเรยี น โดยใช้เครดติ ของโรงเรยี นทงั้ ระยะสนั้ และระยะยาว ขอ้ ๑๔. ใหโ้ บนัสทุกกลางเดอื นท่มี กี ารเปดิ เรียนภาคพเิ ศษ ตามมติทป่ี ระชุมของคณะกรรมการบรหิ าร โรงเรียน ข้อ ๑๕. บคุ ลากรในโรงเรยี นเสียชวี ิตหรอื ทุพลภาพ โรงเรียนสมทบทนุ ตามระเบยี บทปี่ ระชุม ขอ้ ๑๖. ให้ทุนการศกึ ษาบตุ รทศ่ี ึกษาตอ่ สถานศกึ ษาอ่ืน ๆ จนถงึ ระดับมหาวิทยาลยั ตามระเบยี บของ โรงเรียน ตามอตั รากำหนดในแตล่ ะปีการศกึ ษา

การแต่งตั้งและถอดถอนครูของโรงเรียน .................................................. อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๓๑ (๑) ๓๙(๒) และมาตรา ๑๖๐ แหง่ พระราชบญั ญัตโิ รงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนจึงวางระเบียบไวด้ งั นี้ ขอ้ ๑ ให้คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนดำเนนิ การดังน้ี ๑.๑ กำหนดกรอบจำนวนครขู องโรงเรยี นให้เพยี งพอเหมาะสมกับหลกั สูตร ชั้นเรียน จำนวน นักเรยี นและความจำเปน็ ๑.๒ กำหนดคณุ สมบตั ิของครูใหเ้ หมาะสมกับหลักสตู ร และสาระการเรยี นรู้ สอดคล้อง กับ กฎหมายและระเบยี บของทางราชการทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ๑.๓ กำหนดวธิ ีการสรรหาแตง่ ตัง้ และถอดถอนครูใหเ้ หมาะสม มีมาตรฐานเพอื่ ใหไ้ ด้ครูทม่ี ี คณุ ภาพ ข้อ ๒ ให้ผู้อำนวยการดำเนินการเพอ่ื แต่งตั้งครูของโรงเรียนโดยปฏบิ ตั ิต่อไปนี้ ๒.๑ ทำสัญญาว่าจา้ งครตู ามข้อกำหนดในระเบยี บว่าดว้ ยการคุ้มครองการทำงานของครู ๒.๒ เสนอขอความเห็นชอบการแต่งตง้ั ครตู ่อผรู้ ับใบอนญุ าต ๒.๓ เม่อื ผรู้ ับใบอนญุ าตให้ความเหน็ ชอบ ผอู้ ำนวยการออกหนงั สอื แตง่ ต้ังครูภายในระยะเวลา ๗ วนั ๒.๔ มอบเอกสารตน้ ฉบับให้ผไู้ ด้รบั การแต่งตั้งรักษาไว้และเกบ็ รกั ษาสำเนาหนังสือแต่งต้งั ไวท้ ี่ โรงเรียน ๒.๕ รายงานการแตง่ ตั้งตอ่ หน่วยราชการทีเ่ กี่ยวข้องพรอ้ มสำเนาหลักฐาน ภายในเวลาไมเ่ กนิ ๑๕ วนั นับต้งั แต่วนั แตง่ ตัง้ ขอ้ ๓ การแต่งตัง้ มีหลกั ฐานประกอบ ดงั น้ี ๓.๑ สำเนาใบวุฒิ ๓.๒ สำเนาทะเบียนบา้ น ๓.๓ สำเนาบัตรประชาชนหรอื สำเนาหนงั สือเดินทาง ๓.๔ ใบรับรองแพทย์ ๓.๕ ภาพถา่ ยครึง่ ตวั หน้าตรง ไม่สวมหมวก ขนาด ๕ คูณ ๗ เซนติเมตร ถ่ายมาแล้วไม่เกิน ๖ เดือน ๓.๖ ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ หรอื หนังสอื รับรองให้เปน็ ครูจากครุ ุสภา ข้อ ๔ การถอดถอนครูของโรงเรียนจะกระทำได้โดยยึดหลักสำคญั ๒ กรณี ดงั นี้ ๔.๑ ถอดถอนโดยกระทำความผดิ ๔.๒ ถอดถอนโดยครปู ระสงค์ลาออกและผู้รบั ใบอนุญาตไดอ้ นญุ าตใหล้ าออกแล้ว ข้อ ๕ การถอดถอนตามขอ้ ๔.๑ ตอ้ งกระทำโดยปราศจากอคติ หรอื การกล่นั แกล้งและเป็นธรรม โดย แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนมลู ความผิดของครู และให้โอกาสครใู นการชี้แจงแก้ข้อกลา่ วหาต่อคณะกรรมการ สอบสวน ต่อจากนนั้ เสนอผลการพิจารณาให้คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนพิจารณาวินิจฉัยชีข้ าด ขอ้ ๖ ให้ผอู้ ำนวยการถอดถอนครูของโรงเรยี นไดต้ ามกรณี ดังน้ี ๖.๑ ออกหนงั สือถอดถอนครทู ี่ประสงค์ลาออก โดยมใี บลาออกและผ้รู ับใบอนุญาตอนุญาตให้ ลาออก ๖.๒ ออกหนังสือถอดถอนครูที่กระทำความผดิ ซึ่งคณะกรรมการได้วินิจฉยั ช้ีขาดให้ออกและผู้รับ ใบอนญุ าตได้อนญุ าตให้ออกแลว้ ๖.๓ การถอดถอนใหด้ ำเนนิ การใหแ้ ล้วเสร็จภายในไมเ่ กิน ๑๕ วัน ๖.๔ รายงานการถอดถอนต่อหน่วยราชการท่เี ก่ียวขอ้ งพรอ้ มสำเนาหลักฐาน ภายในเวลาไมเ่ กนิ ๓๐ วนั นบั ตั้งแต่วันที่ผ้รู บั ใบอนญุ าตไดอ้ นุญาตใหอ้ อกแล้ว ข้อ ๗ ในกรณีหนังสือแต่งต้ัง ลบเลอื นในสาระสำคญั ถกู ทำลายหรือสูญหาย ให้ผู้อำนวยการออก หนังสือใบแทนหนงั สือแตง่ ตง้ั และประทับคำวา่ ” ใบแทน ” ด้วยหมกึ สีแดงไวต้ อนบนของหนงั สอื

การแต่งต้ังและถอดถอนบคุ ลากรทางการศึกษาและเจ้าหนา้ ทขี่ องโรงเรียน .................................................. อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๑ (๑) ๓๙(๒) และมาตรา ๑๖๐ แหง่ พระราชบญั ญัตโิ รงเรยี น เอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นจึงวางระเบยี บไว้ดังน้ี ขอ้ ๑ ใหค้ ณะกรรมการบริหารโรงเรียนดำเนนิ การดังน้ี ๑.๑ กำหนดกรอบจำนวนบุคลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าทป่ี ฏบิ ัตงิ านของโรงเรียนให้ เพยี งพอเหมาะสมกับหลักสูตร ชน้ั เรียน จำนวนนักเรียนและความจำเป็น ๑.๒ กำหนดคุณสมบัติของบุคลากรทางการศกึ ษา และเจา้ หนา้ ท่ีปฏิบตั ิงานใหเ้ หมาะสมกับ หลกั สตู ร และสาระการเรยี นรู้ สอดคลอ้ งกับกฎหมาย และระเบียบของทางราชการทเี่ ก่ียวข้อง ๑.๓ กำหนดวธิ กี ารสรรหาแตง่ ต้งั และถอดถอนบุคลากรทางการศกึ ษา และเจ้าหน้าท่ีปฏบิ ัตงิ าน ใหเ้ หมาะสม มีมาตรฐานเพ่ือให้ได้บุคลากรทางการศกึ ษา และเจ้าหน้าทปี่ ฏบิ ัติงานที่มีคุณภาพ ขอ้ ๒ ให้ผ้อู ำนวยการดำเนินการเพื่อแตง่ ตงั้ บคุ ลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าทปี่ ฏิบัตงิ านของ โรงเรยี นโดยปฏบิ ตั ิตอ่ ไปนี้ ๒.๑ ทำสญั ญาว่าจ้างบคุ ลากรทางการศกึ ษา และเจ้าหน้าที่ปฏบิ ตั ิงานตามข้อกำหนดในระเบียบ วา่ ดว้ ยการค้มุ ครองการทำงานของบคุ ลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าทป่ี ฏิบตั ิงาน ๒.๒ เสนอขอความเห็นชอบการแตง่ ต้งั บคุ ลากรทางการศึกษา และเจา้ หน้าท่ีปฏบิ ัตงิ านตอ่ ผรู้ ับใบอนญุ าต ๒.๓ เมือ่ ผรู้ บั ใบอนุญาตใหค้ วามเหน็ ชอบ ผอู้ ำนวยการออกหนังสอื แตง่ ตัง้ บคุ ลากร ทางการศกึ ษา และเจา้ หน้าที่ปฏิบัติงานภายในระยะเวลา ๗ วัน ๒.๔ มอบเอกสารตน้ ฉบับให้ผู้ไดร้ ับการแตง่ ต้ังรกั ษาไว้และเกบ็ รักษาสำเนาหนังสือแต่งต้ังไวท้ ี่ โรงเรยี น ๒.๕ รายงานการแต่งตัง้ ต่อหนว่ ยราชการที่เกี่ยวขอ้ งพรอ้ มสำเนาหลักฐาน ภายในเวลาไม่เกนิ ๑๕ วนั นับตั้งแต่วนั แต่งตงั้ ขอ้ ๓ การแต่งต้ังมีหลกั ฐานประกอบ ดงั นี้ ๓.๑ สำเนาใบวุฒิ ๓.๒ สำเนาทะเบยี นบ้าน ๓.๓ สำเนาบัตรประชาชนหรอื สำเนาหนงั สอื เดินทาง ๓.๔ ใบรับรองแพทย์ ๓.๕ ภาพถา่ ยครึ่งตัว หน้าตรง ไม่สวมหมวก ขนาด ๕ คูณ ๗ เซนติเมตร ถ่ายมาแลว้ ไม่เกิน ๖ เดือน ๓.๖ หนังสอื รบั รองใหเ้ ปน็ บคุ ลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าที่ปฏิบตั งิ านได้โดยไม่ต้องมีใบ ประกอบวิชาชีพจากคุรุสภา ขอ้ ๔ การถอดถอนบุคลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าท่ีปฏบิ ตั งิ านของโรงเรียนจะกระทำไดโ้ ดย ยดึ หลักสำคญั ๒ กรณี ดังนี้ ๔.๑ ออดถอนโดยกระทำความผิด ๔.๒ ถอดถอนโดยบุคลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าท่ีปฏบิ ัติงานประสงค์ลาออกและผูร้ ับ ใบอนุญาตได้อนญุ าตใหล้ าออกแล้ว ข้อ ๕ การถอดถอนตามขอ้ ๔.๑ ต้องกระทำโดยปราศจากอคติ หรือการกลัน่ แกลง้ และเป็นธรรม โดยแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนมูลความผิดของบคุ ลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าที่ปฏบิ ัตงิ าน และให้ โอกาสบคุ ลากรทางการศกึ ษา และเจา้ หน้าที่ปฏิบตั ิงานในการชีแ้ จงแก้ข้อกลา่ วหาต่อคณะกรรมการสอบสวน ตอ่ จากนั้นเสนอผลการพจิ ารณาใหค้ ณะกรรมการบริหารโรงเรียนพิจารณาวินิจฉัยช้ีขาด

ขอ้ ๖ ให้ผอู้ ำนวยการถอดถอนบคุ ลากรทางการศกึ ษา และเจ้าหนา้ ท่ีปฏิบตั งิ านของโรงเรยี นไดต้ าม กรณี ดังนี้ ๖.๑ ออกหนังสอื ถอดถอนบคุ ลากรทางการศกึ ษา และเจ้าหน้าท่ีปฏิบตั งิ านทปี่ ระสงค์ลาออก โดยมใี บลาออก และผรู้ บั ใบอนญุ าตไดอ้ นญุ าตให้ลาออกแลว้ ๖.๒ ออกหนงั สอื ถอดถอนบุคลากรทางการศกึ ษา และเจ้าหน้าท่ปี ฏิบัติงานท่ีกระทำความผดิ ซง่ึ คณะกรรมการไดว้ ินิจฉยั ช้ขี าดใหอ้ อกและผู้รับใบอนุญาตได้อนญุ าตใหอ้ อกแล้ว ๖.๓ การถอดถอนให้ดำเนนิ การใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในไม่เกนิ ๑๕ วนั ๖.๔ รายงานการถอดถอนตอ่ หน่วยราชการท่เี กีย่ วข้องพรอ้ มสำเนาหลักฐาน ภายในเวลาไมเ่ กนิ ๓๐ วนั นับต้งั แต่วันท่ีผรู้ ับใบอนญุ าตไดอ้ นญุ าตใหอ้ อกแล้ว ข้อ ๗ ในกรณีหนงั สือแต่งตั้ง ลบเลอื น ในสาระสำคญั ถกู ทำลายหรือสูญหาย ให้ผอู้ ำนวยการออก หนังสือใบแทนหนงั สือแต่งตงั้ และประทบั คำวา่ ” ใบแทน ” ดว้ ยหมึกสีแดงไว้ตอนบนของหนงั สือ

การกยู้ มื เงิน เพ่ือเป็นการให้สวัสดิการและบรรเทาความเดือดร้อนของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ซึ่งบางครัง้ มคี วามจำเปน็ ต้องใช้เงนิ จำนวนหน่งึ เพ่ือผอ่ นภาระทไี่ มส่ ามารถหาได้ทันในช่วงระยะเวลาหนง่ึ โดยครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคนสามารถกู้ยมื เงนิ ได้ตามข้นั ตอนทกี่ ำหนดข้นึ โดยเท่าเทียมกัน จงึ ไดก้ ำหนดระเบียบ ว่าดว้ ย การกู้ยืมเงนิ พ.ศ. ๒๕62 ไวด้ งั น้ี ขอ้ ๑ ระเบียบนี้ เรียกว่า “ระเบียบโรงเรยี นปัญญานฤมติ วา่ ด้วย การกยู้ ืมเงิน ( ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ. ๒๕62” ขอ้ ๒ ระเบียบนี้ ให้ใช้บงั คับต้งั แตว่ นั ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕62 เป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบยี บน้ี ผกู้ ู้ หมายถงึ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรยี นทผ่ี า่ นการทดลองปฏิบตั งิ าน และได้รับการบรรจุแตง่ ต้งั ลงตำแหนง่ และอตั ราเรยี บรอ้ ยแลว้ ซ่ึงต้องชำระเงนิ ค้ำประกนั การทำงานเปน็ ท่ี เรยี บร้อยแล้วเตม็ จำนวน จงึ มสี ิทธิ์กู้ ผอู้ นมุ ตั ิ หมายถงึ ผู้จัดการ หรอื ผ้อู ำนวยการ หรอื ผู้มอี ำนาจแต่งตั้งที่สูงกวา่ อัตราการกู้ หมายถึงขอบเขตวงเงินในการขอกู้ อัตราดอกเบี้ย หมายถงึ ผลตอบแทนหรอื จำนวนเงินท่ีผกู้ ู้ต้องจา่ ยชำระให้แก่ผู้ให้กู้ โดยสญั ญาวา่ จะชำระคนื เต็มมูลค่าในวันทค่ี รบกำหนดในอนาคตตามที่ตกลงกันไว้ การผ่อนชำระ หมายถงึ การนำเงินสง่ คืนเป็นงวดๆ ดว้ ยการหกั จากเงินเดอื นหรือการ นำสง่ เงนิ สด ระยะเวลาการผ่อนชำระ หมายถงึ ระยะเวลาท่ีกำหนดให้ผอ่ นชำระได้ตั้งแต่ ๑ เดือน ถึง ๖ เดอื น คา่ ปรบั หมายถึงเงนิ คา่ ปรับที่ผู้ก้จู ะตอ้ งจ่ายให้ เปน็ เงนิ สมทบกองทุนสวัสดกิ าร กรณผี ดิ สญั ญาหรือไมส่ ามารถชำระเงนิ ได้ตามกำหนดเวลา คิดอัตรารอ้ ยละหนง่ึ บาทต่อวัน เงินกู้ หมายถึงเงินท่นี ำมาใหบ้ ุคลากรกู้ยืมเพือ่ บำบัดทุกข์ได้ ขอ้ ๔ เงนิ กู้ มที ่มี า ดงั นี้ 4.1 เงนิ ทไ่ี ด้จากเงินค้ำประกนั การทำงานของบุคลากร 4.2 เงินที่ไดจ้ ากการโรงเรยี นปัญญานฤมิตสมทบทนุ ให้ 4.3 เงนิ ท่มี ผี ้ปู ระสงค์บริจาคให้ ข้อ ๕ จำนวนเงินกู้ทโ่ี รงเรียนใหก้ ู้ยืมนน้ั กำหนดใหไ้ มเ่ กินหนึ่งเทา่ ของเงินเดือน ข้อ ๖ เงนิ กู้ให้กู้ยมื ได้เฉพาะกรณีท่ีมีความจำเป็นฉกุ เฉิน และเพื่อการบรรเทาทกุ ข์จาก ความเดอื ดร้อนท่ีไมเ่ ขา้ ระเบียบว่าด้วย การกู้ยมื เงินสวสั ดิการเพ่ือบำบัดทกุ ข์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๗ เงนิ กู้ยมื นัน้ โรงเรียนปญั ญานฤมิต จะคิดดอกเบี้ยในอัตรารอ้ ยละ ๑ บาทตอ่ เดือนขอ้ ๘ การให้ยมื เงิน ผู้กู้ยมื ต้องทำหนงั สือขออนุมตั ิ และ สัญญากู้เงนิ ตามแบบท่ีโรงเรยี น กำหนดโดยรายงานขออนมุ ตั ติ ามสายการบังคับบัญชาสง่ ถงึ แผนกการเงนิ เพอ่ื ขออนมุ ัตติ ่อผมู้ อี ำนาจต่อไป ขอ้ ๙ การก้ยู มื เงนิ ตอ้ งมีผคู้ ำ้ ประกนั ๑ คนและเม่ือค้ำประกนั ใหค้ นหนึ่งแล้ว จะทำการค้ำ ประกันให้กบั คนอ่ืนอีกไมไ่ ด้ ขอ้ ๑๐ ระยะเวลาการผอ่ นชำระ ผู้กู้ยืมตอ้ งชำระคืนตามระยะเวลาไม่เกิน ๖ เดือน หากไมส่ ามารถชำระได้ตามสญั ญาไมว่ า่ กรณีใดๆ ใหเ้ รียกเอาจากผูค้ ้ำประกัน

ขอ้ ๑๑ ห้ามมิให้ชำระเงนิ ทง้ั หมดกอ่ นกำหนด ต้องชำระตามเงือ่ นไขทีก่ ำหนดในสัญญากู้ยืมข้อ ขอ้ ๑๒ การอนมุ ัติเงินกู้ ใหผ้ ู้มีอำนาจอนุมัติเปน็ ผพู้ จิ ารณาอนมุ ัติ อาจอนุมตั ิให้เต็มวงเงิน หรอื ไม่เต็มวงเงินก็ได้ ขอ้ 13 การเสนอยน่ื กู้มรี ะยะเวลาการกู้ยืม นับตงั้ แตก่ ารเสนออนมุ ตั ิ จากผมู้ ีอำนาจ พจิ ารณาอนุมัติ เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ ข้อ ๑4 ให้แผนกการเงิน ฝ่ายธุรการเปน็ ผู้รักษาการ ตามระเบยี บนี้

การกยู้ ืมเงนิ สวสั ดิการเพ่อื บำบัดทุกข์ เพอ่ื เปน็ การให้สวัสดกิ ารและบรรเทาควาเดอื ดรอ้ นของครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ซงึ่ บางครงั้ มีความจำเป็นตอ้ งใช้เงินจำนวนหนงึ่ เพ่ือผอ่ นภาระทไ่ี ม่สามารถหาได้ทนั ในชว่ งระยะเวลาหนึ่ง โดยบคุ คลากรทกุ คนสามารถก้ยู ืมเงินได้ตามขั้นตอนทกี่ ำหนดขึ้นโดยเท่าเทียมกัน ได้กำหนดระเบยี บ ว่าด้วยการ กู้ยืมเงินสวัสดกิ ารเพอื่ บำบัดทุกข์ พ.ศ. 2562 ข้อ ๑ ระเบยี บนี้ เรยี กวา่ “ระเบียบโรงเรียนปัญญานฤมิต ว่าด้วย การกยู้ ืมเงินสวสั ดกิ าร เพอ่ื บำบัดทกุ ข์ ( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. ๒๕62” ข้อ ๒ ระเบยี บน้ี ให้ใช้บังคับตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕62 เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ ผู้กู้ หมายถงึ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาของโรงเรียนทีผ่ ่านการทดลองปฏิบตั งิ านและ ได้รับการบรรจุแตง่ ตั้งลงตำแหน่งและอตั ราเรยี บร้อยแล้ว ซงึ่ ต้องชำระเงินคำ้ ประกนั การทำงานเปน็ ที่เรียบร้อย แลว้ เตม็ จำนวน จงึ มีสิทธิ์กู้ ผอู้ นมุ ตั ิ หมายถงึ ผู้จดั การ หรอื ผอู้ ำนวยการ หรือผูม้ ีอำนาจแตง่ ตง้ั ทส่ี งู กว่า อัตราการกู้ หมายถงึ ขอบเขตวงเงินในการขอกู้ การผอ่ นชำระ หมายถงึ การนำเงนิ ส่งคืนเปน็ งวดๆ ด้วยการหักจากเงนิ เดอื นหรอื การ นำส่งเงนิ สด ระยะเวลาการผอ่ นชำระ หมายถงึ ระยะเวลาท่กี ำหนดให้ผ่อนชำระได้ต้ังแต่ ๑ เดือน ถงึ ๖ เดอื น คา่ ปรับ หมายถึงเงินคา่ ปรบั ท่ีผูก้ ูจ้ ะตอ้ งจา่ ยให้ เป็นเงินสมทบกองทุนสวัสดกิ าร กรณีผิด สัญญาหรือไม่สามารถชำระเงินไดต้ ามกำหนดเวลา คิดอตั ราร้อยละหนึ่งบาทตอ่ วนั เงินสวสั ดิการ หมายถงึ เงินท่ีนำมาใหบ้ ุคลากรกู้ยืมเพ่ือบำบดั ทุกขไ์ ด้ ข้อ ๔ เงินสวัสดกิ าร มีท่มี า ดงั นี้ 4.1 เงินท่ไี ดจ้ ากเงินคำ้ ประกันการทำงานของบุคลากร 4.2 เงินท่ไี ดจ้ ากการโรงเรยี นปญั ญานฤมติ สมทบทนุ ให้ 4.3 เงนิ ท่ีมีผ้ปู ระสงค์บริจาคให้ ข้อ ๕ จำนวนเงนิ กู้ทโ่ี รงเรยี นใหก้ ู้ยมื นน้ั กำหนดให้ไม่เกนิ สองเท่าของเงินเดอื น ขอ้ ๖ เงินสวัสดิการใหก้ ู้ยมื ไดเ้ ฉพาะกรณที ่ีมีความจำเป็นฉุกเฉนิ และเพือ่ การบรรเทาทุกข์ จากความเดอื ดร้อนเท่านั้น มใิ ห้กยู้ ืมเพ่ือนำไปใช้จา่ ยภายในครอบครวั ข้อ 7 เงินสวัสดิการเพื่อบำบัดทกุ ข์โรงเรยี นปัญญานฤมิต ยกเวน้ คดิ ดอกเบย้ี เพือ่ เป็นสวสั ดิการ พิเศษแกบ่ คุ คลากร ข้อ 8 การใหย้ ืมเงนิ สวสั ดกิ าร ผู้กู้ยมื ต้องทำหนังสอื ขออนมุ ัติ และสัญญาก้เู งนิ ตามแบบที่ โรงเรยี นกำหนดโดยรายงานขออนมุ ัติตามสายบังคบั บญั ชาสง่ ถึงแผนกการเงนิ เพอ่ื ขออนุมตั ิตอ่ ผ้มู อี ำนาจตอ่ ไป ข้อ 9 การกู้ยืมเงนิ ตอ้ งมีผคู้ ้ำประกัน 1 คนและเมื่อค้ำประกันใหค้ นหน่ึงแล้ว จะทำการค้ำ ประกันใหก้ ับคนอืน่ อีกไมไ่ ด้ ขอ้ 10 ระยะเวลาการผอ่ นชำระ ผู้กยู้ ืมตอ้ งชำระคืนตามระยะเวลาไมเ่ กิน 6 เดือน หากไม่สามารถชำระได้ตามสัญญาไม่ว่ากรณีใดๆ ให้เรียกเอาจากผู้ค้ำประกนั ข้อ 11 การอนุมัตเิ งินสวสั ดิการ ให้ผู้มีอำนาจอนุมตั ิเป็นผู้พิจารณ์อนุมัติ อาจอนุมตั ิให้เต็ม วงเงนิ หรือไม่เต็มก็ได้ ข้อ 12 การกู้ยมื เงนิ สวสั ดิการ เพอ่ื นำไปรักษาพยาบาล ตนเอง ภรรยาหรอื สามี บตุ รตาม กฎหมาย บดิ า มารดาของตนเองและของสามีหรอื ภรรยา

ข้อ 13 การกูย้ มื เงินสวัสดกิ าร เพื่อนำไปใช้เยยี วยาการเกดิ ภัยพบิ ัตติ ่อครอบครัวเช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม และภยั ธรรมชาตอิ น่ื ๆ ที่กอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายรา้ ยแรงตอ่ ทรัพยส์ ิน ขอ้ 14 การกูเ้ งินเพ่ือนำไปใช้บรรเทาความเดือนดรอ้ นอ่ืนๆนอกเหนอื จาก ข้อ 13 และ ข้อ 14สามารถกู้ไดไ้ มเ่ กนิ หน่ึงเทาของเงนิ เดือน แต่หา้ มมิให้ก้ตู ิดต่อกนั โดยไม่จำเป็น ขอ้ 15 เงนิ สวัสดกิ ารที่สามารถให้กูไ้ ดม้ ีจำนวนจำกดั หากกองทุนมเี งินไม่เพียงพอ ไม่ สามารถใหก้ ู้เงนิ ได้ตามทรี่ ้องขอ ผ้กู ้ไู ม่มีสิทธ์เิ รยี กรอ้ งใดๆท้ังส้ิน ขอ้ 16 การกเู้ งินสวัสดกิ ารให้แนบเอกสารหลักฐานทสี่ ามารถแสดงความจริงใหป้ รากฎ ประกอบคำร้องขอกูเ้ งนิ ด้วย ขอ้ ๑7 ใหแ้ ผนกการเงนิ ฝ่ายธุรการเป็นผู้รกั ษาการ ตามระเบยี บน้ี

การกูย้ ืมเงนิ เพือ่ การศึกษา เพื่อเป็นการใหส้ วัสดกิ ารและสนบั สนนุ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทม่ี ีความตอ้ งการศกึ ษาต่อ และจำเป็นต้องใช้เงินจำนวนหน่ึง เพื่อศกึ ษาตอ่ โดยบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ คนสามารถกู้ยมื เงินได้ตามขัน้ ตอนที่ กำหนดขนึ้ โดยเทา่ เทียมกัน จึงได้กำหนดระเบยี บ วา่ ด้วย การกูย้ ืมเงินเพ่ือการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕62 ไวด้ ังน้ี ขอ้ ๑ ยกเลกิ ระเบยี บโรงเรียนปัญญานฤมิต ว่าดว้ ย การกูย้ มื เงินเพ่ือการศึกษาทุกฉบบั ก่อนหน้านี้ ข้อ 2 ระเบียบน้ี เรยี กวา่ “ระเบยี บโรงเรยี นปัญญานฤมิต ว่าด้วย การกยู้ ืมเงนิ เพือ่ การศึกษา พ.ศ. ๒๕62” ข้อ 3 ระเบยี บนี้ ใหใ้ ช้บังคบั ตัง้ แตว่ นั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕62 เปน็ ต้นไป ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี ผู้กู้ หมายถึงครแู ละบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนทีป่ ฏบิ ัติงานและไดร้ ับการบรรจุ แตง่ ตั้งมาแลว้ ๑ ปี ลงตำแหนง่ และอัตราเรียบรอ้ ยแล้ว จงึ มสี ิทธิ์กู้ ผูอ้ นุมัติ หมายถึงผู้จดั การ หรอื ผู้อำนวยการ ผ้ไู ดร้ บั มอบอำนาจหรอื ผู้มอี ำนาจแต่งตั้ง ท่สี ูงกว่า อตั ราการกู้ หมายถึงขอบเขตวงเงนิ ในการขอกู้ การผอ่ นชำระ หมายถึงการนำเงินส่งคนื เปน็ งวดๆ ดว้ ยการหักจากเงินเดอื นหรือการ นำสง่ เงินสด ระยะเวลาการผอ่ นชำระ หมายถึงระยะเวลาที่กำหนดให้ผ่อนชำระได้ตงั้ แต่ ๑ เดือน ถงึ ๕ ปี คา่ ปรบั หมายถงึ เงนิ คา่ ปรับที่ผกู้ จู้ ะตอ้ งจ่ายให้ เปน็ เงินสมทบกองทุนสวสั ดกิ าร กรณีผิด สญั ญาหรอื ไมส่ ามารถชำระเงินไดต้ ามกำหนดเวลา คิดอัตรารอ้ ยละหนง่ึ บาทต่อวนั เงินสวัสดิการ หมายถึงเงินท่ีนำมาให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษากู้ยมื เพ่ือศกึ ษาต่อ ข้อ 5 เงนิ สวสั ดิการ มที ี่มา ดงั นี้ 5.1 เงนิ ที่ไดจ้ ากโรงเรียนปญั ญานฤมติ สมทบทุนให้ 5.2 เงนิ ท่มี ีผู้ประสงคบ์ ริจาคให้ ขอ้ 6 จำนวนเงินสวัสดิการที่โรงเรยี นใหก้ ู้ยืมน้ัน ผกู้ ู้ตอ้ งแนบเอกสารหลกั ฐานประกอบคำ รอ้ งขอกู้เงินด้วย ข้อ 7 เงินสวสั ดิการให้กู้ยืมได้เฉพาะกรณีท่ีนำไปเพอื่ ศกึ ษาต่อเท่านัน้ มใิ ห้นำไปบรรเทาทุกข์ จากความเดอื ดรอ้ นอื่น และมใิ ห้กู้ยืมนำไปใช้จา่ ยภายในครอบครัว ขอ้ 8 เงินสวัสดกิ ารให้กูย้ ืมเพอ่ื การศึกษา น้นั โรงเรียนปญั ญานฤมติ ยกเวน้ ที่จะคิดดอกเบี้ย เพอ่ื เปน็ สวัสดิการพเิ ศษแก่บคุ ลากรทางการศึกษา ขอ้ 9 การให้ยมื เงินสวสั ดกิ าร ผกู้ ู้ยมื ตอ้ งทำหนงั สอื ขออนมุ ัติ และ สญั ญากเู้ งนิ ตามแบบที่ โรงเรยี นกำหนดโดยรายงานขออนุมตั ติ ามสายการบังคบั บัญชาส่งถงึ แผนกการเงิน ฝ่ายธุรการ เพื่อขออนมุ ัติตอ่ ผู้ มอี ำนาจตอ่ ไป ข้อ 10 การกยู้ ืมเงินเพ่ือการศึกษาตอ้ งมผี ้คู ้ำประกัน ๑ คนและเมื่อค้ำประกันให้คนหนง่ึ แลว้ จะทำการค้ำประกนั ใหก้ ับคนอนื่ ไม่ได้ ขอ้ ๑1 ระยะเวลาการผ่อนชำระ ผกู้ ู้ยมื ตอ้ งชำระคืนตามระยะเวลาท่กี ำหนด หากไมส่ ามารถ ชำระได้ตามสญั ญาไม่ว่ากรณีใดๆ ใหเ้ รยี กเอาจากผูค้ ้ำประกัน ข้อ ๑2 ตลอดระยะเวลาในการศึกษาต่อ ผู้กู้จะไม่ได้รบั การพิจารณาในการเลอ่ื นขั้นเงินเดือน

๒ ขัน้ ของปกี ารศกึ ษานน้ั ขอ้ ๑3 การอนมุ ตั ิเงินสวัสดิการ ใหผ้ ู้มอี ำนาจอนุมัติเป็นผ้พู ิจารณาอนุมัติ อาจอนมุ ตั ิให้เตม็ วงเงนิ หรอื ไม่เตม็ วงเงนิ กไ็ ด้ ข้อ ๑4 ขน้ั ตอนการดำเนนิ การกู้ยมื เพอ่ื การศกึ ษา ๑4.๑ การดำเนนิ การขอกู้ ๑4.๑.๑ เขียนสัญญาการกู้ยืมเงินเพื่อการศกึ ษาตามแบบทโ่ี รงเรยี นกำหนดได้ทฝี่ า่ ยธุรการ ๑4.๑.๒ แนบหลักฐานประกอบการขอกู้ยืมเพอ่ื การศกึ ษา ๑4.๑.๓ ขออนุมัติตามสายการบังคับบัญชาส่งถึงแผนกการเงินเพ่ือขออนุมัติต่อผู้มีอำนาจ ตอ่ ไป ๑4.๒ หลักฐานประกอบการขอกู้ ๑4.๒.๑ ใบแจง้ ยอดการชำระคา่ ธรรมเนยี ม ๑4.๒.๒ ใบเสรจ็ รบั เงนิ ข้อ ๑5 การชำระเงิน ๑5.๑ หกั จากเงนิ เดอื น ๑5.๒ การนำสง่ เงนิ สด ข้อ ๑6 ในระหวา่ งการก้ยู ืมเงินเพ่อื การศกึ ษา และอยู่ระหวา่ งการผอ่ นชำระเงนิ กู้ยมื เพ่ือ การศึกษาไมอ่ นุญาตใหล้ าออก ถ้าศึกษาจบแลว้ ต้องทำงานใหก้ บั ทางโรงเรยี นระยะเวลา ๒ เท่าของหลักสตู รถ้ามี เหตจุ ำเปน็ ทต่ี ้องลาออกและทำงานไม่ครบระยะเวลา ๒ เทา่ ของหลักสูตรตอ้ งชดใช้เงินคนื ในสว่ นทย่ี ืมโรงเรียนให้ เต็มจำนวนและยึดเงินประกันท้ังจำนวน ขอ้ ๑7 สำหรบั บุคลากรทางการศกึ ษาท่ีทางโรงเรยี นไดค้ ัดเลือกให้ไปศึกษาต่อ 17.1 โรงเรียนจะออกค่าใชจ้ ่ายชว่ ยคนละครงึ่ โดยศกึ ษาจบแล้วตอ้ งทำงานใหก้ ับทาง โรงเรียนเป็นเวลา 5 ปี ถ้ามเี หตุจำเป็นท่ีตอ้ งลาออกและทำงานไมค่ รบ 5 ปตี ้องชดใช้เงนิ คนื ในส่วนท่ที างโรงเรียน ออกใหเ้ ตม็ จำนวนและยึดเงินประกันทง้ั จำนวน 17.2 โรงเรียนจะออกค่าใชจ้ ่ายเต็มจำนวน โดยศึกษาจบแล้วตอ้ งทำงานใหก้ ับทาง โรงเรียนเป็นเวลา 10 ปี ถ้ามีเหตุจำเป็นท่ีต้องลาออกและทำงานไม่ครบ 10 ปีต้องชดใช้เงินคืนในส่วนที่ทาง โรงเรยี นออกใหเ้ ต็มจำนวนและยดึ เงินประกันท้ังจำนวน ข้อ ๑8 กรณใี หอ้ อก กรณที ่ีผู้กู้กระทำความผดิ ขั้นเดด็ ขาด และต้องโทษคดอี าญาหรือขัดคำสงั่ ผูบ้ ังคบั บญั ชาโดย เจตนา ถงึ ข้ันใหอ้ อกจากงานผ้กู ้จู ะต้องชดใชเ้ งินคืนทง้ั จำนวน ขอ้ ๑9 หลังจากจบการศึกษา ต้องนำความรูม้ าใช้ในการพัฒนาโรงเรยี นใหเ้ ห็นเปน็ รปู ธรรม

การกู้ยมื เงนิ กรณีฉกุ เฉนิ เพ่ือเปน็ การใหส้ วัสดิการครบู คุ ลากรและบรรเทาความเดือดรอ้ น ในกรณที ี่เกิดความผดิ พลาดในขณะ ปฏิบตั หิ นา้ ทโี่ ดยประมาทเลนิ เลอ่ หรอื ไม่ก็ตาม ซ่ึงเป็นเหตุให้โรงเรียนได้รบั ความเสียหาย และจำเป็นต้องใชเ้ งนิ จำนวนหน่งึ โดยบุคลากรทกุ คนสามารถกู้ยมื เงนิ ได้ตามข้ันตอนท่กี ำหนดขึ้นโดยเทา่ เทียมกัน จงึ ได้กำหนดระเบยี บ ว่าด้วย การกู้ยืมเงนิ กรณฉี ุกเฉนิ พ.ศ. 2554 ไว้ดงั นี้ ข้อ 1 ระเบยี บนี้ เรียกวา่ “ระเบียบโรงเรยี นปัญญานฤมติ ว่าด้วย การกยู้ ืมเงินกรณีฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2554” ขอ้ 2 ระเบยี บนี้ ให้ใช้บงั คับตง้ั แต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2554 เปน็ ต้นไป ขอ้ 3 ในระเบียบนี้ ผู้กู้ หมายถงึ ครูและบุคลากรของโรงเรยี น จงึ มสี ิทธิก์ ู้ ผู้อนุมตั ิ หมายถงึ ผู้จัดการ หรอื ผู้อำนวยการ ผู้ไดร้ ับมอบอำนาจหรือผู้มีอำนาจแตง่ ตงั้ ทีส่ งู กวา่ อตั ราการกู้ หมายถงึ ขอบเขตวงเงินในการขอกู้ การผ่อนชำระ หมายถึงการนำเงินสง่ คืนเป็นงวดๆ ดว้ ยการหักจากเงินเดอื นหรอื การนำส่งเงนิ สด ระยะเวลาการผอ่ นชำระ หมายถึงระยะเวลาทีก่ ำหนดให้ผ่อนชำระไดต้ ง้ั แต่ 1 เดอื น ถึง 5 ปี คา่ ปรับ หมายถงึ เงินค่าปรบั ท่ีผู้กู้จะต้องจา่ ยให้ เปน็ เงนิ สมทบกองทนุ สวัสดกิ าร กรณผี ดิ สัญญาหรือไม่ สามารถชำระเงินไดต้ ามกำหนดเวลา คิดอตั รารอ้ ยละหนง่ึ ต่อวัน เงินสวัสดิการ หมายถึงเงนิ ท่ีนำมาให้ครแู ละบุคลากรกู้ยมื กรณฉี กุ เฉนิ ข้อ 4 เงินสวสั ดกิ าร มีที่มา ดังน้ี (1) เงินท่ไี ด้จากโรงเรยี นปัญญานฤมิตสมทบทนุ ให้ (2) เงนิ ท่ีมผี ูป้ ระสงคบ์ รจิ าคให้ ขอ้ 5 จำนวนเงนิ สวัสดกิ ารท่ีโรงเรยี นใหก้ ู้ยมื น้ัน ผู้กู้ตอ้ งแนบเอกสารหลกั ฐานประกอบคำร้องขอกเู้ งินด้วย ขอ้ 6 เงินสวัสดกิ ารให้กู้ยืมได้เฉพาะกรณีท่ีเกิดความผดิ พลาดในขณะปฏิบัติหนา้ ทีโ่ ดยประมาทเลินเลอ่ หรือไมก่ ็ตาม ซง่ึ เป็นเหตุใหโ้ รงเรียนได้รับความเสียหาย และจำเปน็ ตอ้ งใช้เงนิ จำนวนหน่ึง มใิ หน้ ำไปบรรเทา ทุกขจ์ ากความเดือดรอ้ นอื่น และมใิ หก้ ู้ยืมนำไปใช้จ่ายภายในครอบครวั ขอ้ 7 เงนิ สวสั ดกิ ารให้กยู้ มื กรณฉี กุ เฉนิ นัน้ โรงเรยี นฯ ยกเว้นทจ่ี ะคิดดอกเบีย้ เพอื่ เปน็ สวัสดกิ ารพิเศษ แกบ่ คุ ลากร ขอ้ 8 การใหย้ มื เงนิ สวสั ดิการ ผู้กู้ยืมตอ้ งทำหนังสอื ขออนมุ ตั ิ และ สญั ญากเู้ งนิ ตามแบบท่ีโรงเรยี นกำหนด โดยรายงานขออนมุ ตั ิตามสายการบังคบั บญั ชาสง่ ถึงแผนกการเงินเพอ่ื ขออนุมตั ติ อ่ ผูม้ ีอำนาจตอ่ ไป ขอ้ 9 การก้ยู มื เงินกรณีฉกุ เฉินตอ้ งมผี ู้ค้ำประกัน 1 คนและเม่ือค้ำประกนั ให้คนหน่งึ แลว้ จะทำการค้ำ ประกันให้กับคนอน่ื ไมไ่ ด้ ขอ้ 10 ระยะเวลาการผอ่ นชำระ ผู้กู้ยมื ตอ้ งชำระคืนตามระยะเวลาที่กำหนด หากไมส่ ามารถชำระได้ ตามสัญญาไมว่ ่ากรณใี ดๆ ให้เรยี กเอาจากผ้คู ้ำประกัน ขอ้ 11 การอนมุ ัตเิ งินสวสั ดกิ าร ให้ผู้มีอำนาจอนุมตั ิเปน็ ผู้พจิ ารณาอนมุ ัติ อาจอนมุ ตั ิใหเ้ ต็มวงเงนิ หรือไมเ่ ต็มวงเงนิ กไ็ ด้ ข้อ 12 ขน้ั ตอนการดำเนินการกยู้ มื เงนิ กรณฉี ุกเฉิน 12.1 การดำเนนิ การขอกู้ 12.1.1 เขียนสญั ญาการกยู้ ืมเงนิ กรณีฉกุ เฉนิ ตามแบบที่โรงเรียนกำหนดไดท้ ีฝ่ ่ายธุรการ 12.1.2 แนบหลักฐานประกอบการขอกู้ยืมเงนิ กรณฉี กุ เฉนิ 12.1.3 ขออนมุ ตั ิตามสายการบังคบั บัญชาส่งถงึ แผนกการเงินเพื่อขออนมุ ตั ติ อ่ ผมู้ ีอำนาจตอ่ ไป 12.2 หลักฐานประกอบการขอกู้

13.2.1 ใบแจง้ ยอดค่าใช้จา่ ย 13.2.2 ใบเสร็จรับเงิน ขอ้ 13 การชำระเงิน 13.1 หกั จากเงนิ เดอื น 13.2 การนำส่งเงนิ สด ข้อ 14 ในระหวา่ งการกู้ยืมเงินกรณฉี ุกเฉิน และอยู่ระหว่างการผอ่ นชำระเงนิ กยู้ ืมไม่อนญุ าตใหล้ าออก ข้อ 15 กรณใี ห้ออก กรณที ผ่ี ้กู กู้ ระทำความผิดข้ันเด็ดขาด และตอ้ งโทษคดอี าญาหรือขดั คำสง่ั ผู้บังคบั บญั ชาโดย เจตนา ถึงขั้นให้ออกจากงานผู้ก้จู ะตอ้ งชดใช้เงินคืนท้ังจำนวน

วินัย การลงทัณฑ์ และการรอ้ งทกุ ข์ ด้วยคณะกรรมการบริหารโรงเรยี นเห็นสมควรวางระเบียบเก่ียวกบั บคุ ลากรให้มวี นิ ัยในการ ปฏิบตั ิงาน และการลงทัณฑ์ผู้กระทำผิดวนิ ัย จึงให้กำหนดระเบยี บไวด้ งั น้ี ขอ้ ๑ ระเบียบนเ้ี รียกว่า “ ระเบยี บว่าด้วยวินัย การลงทัณฑ์และการร้องทุกข์ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ ” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ ให้ใช้บังคบั ตัง้ แต่ ๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๕๒ เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ วินยั วินัย คือ การท่ีครูและบคุ ลากรทางการศึกษาต้องประพฤติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคบั แบบธรรม เนยี ม และประเพณีอนั ดงี ามของโรงเรยี น วนิ ยั เป็นหลกั สำคัญที่สุดสำหรับครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเพราะฉะนน้ั ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ทกุ คนจกั ต้องรกั ษาโดยเคร่งครัดอยเู่ สมอ ผู้ใดฝ่าฝนื ใหถ้ อื วา่ ผู้นนั้ กระทำผดิ ตัวอย่างการกระทำผิดวินัยมี ดังตอ่ ไปนี้ (1) ดอ้ื ขดั ขนื หลกี เลี่ยง หรือละเลยไม่ปฏบิ ตั ิตามคำสัง่ ผ้บู งั คับบัญชาเหนอื ตน (2) ไม่รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผใู้ หญ่ผนู้ ้อย (๓) ไม่รักษามารยาทให้ถูกต้องตามกฎระเบยี บ ข้อบงั คับ แบบธรรมเนียม และประเพณอี นั ดีงามของโรงเรียน (๔) กอ่ ให้เกิดการแตกความสามัคคีในหมู่คณะ (๕) เกียจครา้ น ละทิง้ หรือเลินเล่อต่อหนา้ ท่ีการงาน (๖) กล่าวคำเท็จ (๗) ใชก้ ริ ิยาวาจาไม่สมควร หรอื ประพฤตไิ มส่ มควร (๘) ไม่ตกั เตอื นสง่ั สอน หรือลงทัณฑ์ผู้ใต้บังคับบัญชาท่กี ระทำผิดตามโทษานุโทษ (๙) เสพเครอ่ื งดองของเมาจนถงึ เสยี กริ ิยา ข้อ ๔ ผู้บังคับบัญชามีหนา้ ท่ีจดั การระวงั รักษาวนิ ยั ท่ตี นเป็นผ้บู งั คบั บญั ชาอยู่นนั้ โดยกวดขนั เพ่อื ทำการ ป้องปรามครูและบคุ ลากรทางการศึกษามิใหก้ ระทำผดิ วนิ ยั หรือเพือ่ บังคับผู้ละทงิ้ หน้าทีใ่ หก้ ลับทำหนา้ ท่ขี องตนกด็ ี ข้อ ๕ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาผูใ้ ด กระทำผิดวินัย จกั ตอ้ งรับทัณฑ์ตามวธิ ีในขอ้ ๖ ของระเบียบนี้ ขอ้ ๖ อำนาจลงทัณฑ์ ทณั ฑท์ ี่จะลงแกผ่ ู้กระทำผิดวินัยดังกลา่ วนนั้ ใหก้ ำหนดเปน็ ๕ สถาน คอื (1) ตักเตอื นดว้ ยวาจา (2) ตกั เตือนเป็นลายลักษณ์อักษร (3) ภาคทัณฑ์ (4) ตัดเงินเดือน (5) ใหอ้ อกจากงาน (ไมค่ ืนเงนิ ค้ำประกันการทำงาน) วา่ กลา่ วตักเตอื นดว้ ยวาจา คอื ผู้กระทำความผิดวนิ ัยซ่งึ ไม่รา้ ยแรงเปน็ ครัง้ แรก ใหผ้ บู้ ังคบั บัญชา โดยตรงวา่ กลา่ วตกั เตือนดว้ ยวาจา ว่ากลา่ วตกั เตือนเป็นลายลักษณอ์ กั ษร คอื กระทำผดิ วินัยที่ไม่ใช่คร้ังแรกหรือมีความผิดขั้นปานกลาง ถึงแม้จะเป็นคร้งั แรกกต็ าม ให้ว่ากล่าวตกั เตือนเป็นลายลักษณ์อกั ษรโดยใช้อำนวยของหัวหนา้ ฝา่ ยข้ึนไป ภาคทัณฑ์ คือ ผู้กระทำผดิ มีความผิดข้นั ร้ายแรงอันควรตอ้ งรับทณั ฑ์ แต่มเี หตุอันควรปราณี จงึ เปน็ แต่ แสดงความผิดของผ้นู ั้นใหป้ รากฏ หรือใหท้ ำทณั ฑบ์ นไว้ โดยใช้อำนวยของผู้อำนวยการฯ หรือ ผู้จดั การฯ ตดั เงนิ เดอื น คือ ผู้กระทำผิดวินยั ขั้นรา้ ยแรงติดต่อกันหลายคร้ัง ไดร้ บั การลงทัณฑ์แล้วแตไ่ ม่หลาบ จำเปน็ เหตุให้กระทำผิดซำ้ ซาก ใหต้ ัดเงินเดือนโดยใชอ้ ำนาจของผอู้ ำนวยการฯ หรอื ผจู้ ัดการฯ ให้ออกจากงาน คอื ผู้ที่กระทำความผิดข้นั เดด็ ขาด ตอ้ งโทษคดอี าญาหรือขดั คำส่งั ผู้บงั คับบัญชาโดย เจตนา ให้ออกจากงานโดยใชอ้ ำนาจของผู้อำนวยการหรือประธานกรรมการบริหารโรงเรียนฯ และกรณีครู ไปสอบบรรจุครผู ู้ช่วยหรือสอบเข้ารับราชการ จะไม่ได้เงินคำ้ ประกันการทำงานคนื รวมทั้งสทิ ธิอันพงึ มีพึงได้ทั้งสนิ้

ขอ้ ๗ ผ้มู ีอำนาจลงทัณฑแ์ กผ่ ้กู ระทำผิดได้นัน้ คือ (๑) ผ้บู ังคับบัญชาโดยตรงและ/หรือผบู้ งั คับบัญชาตามลำดับชน้ั (๒) ผู้ซึ่งไดร้ บั มอบอำนาจใหบ้ ังคบั บัญชา สว่ นผ้มู อี ำนาจบังคับบัญชาช้ันใดจะมีอำนาจเปน็ ผู้ลงทัณฑ์ชัน้ ใด และ ผู้อย่ใู นบังคับบัญชาชน้ั ใดจะเปน็ ผรู้ บั ทณั ฑ์ชนั้ ใด ใหถ้ อื เกณฑ์พิจารณาโดยยดึ ถอื อำนาจของผบู้ งั คบั บัญชาตามสายการบงั คับบัญชาตามลำดับดังนี้ ครวู ิชาชพี (๑) ครชู ำนาญ(๒)/หวั หน้าแผนก ครูเชี่ยวชาญ(๓)/หัวหน้าฝ่าย ครูทรงคุณวุฒ(ิ ๔)/ผู้อำนวยการหรอื ผจู้ ดั การ ผรู้ บั ใบอนุญาต/ประธานกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น ขอ้ ๘ กำหนดอำนาจลงทณั ฑ์ตามทตี่ ราไวน้ ้ี ผมู้ ีอำนาจลงทัณฑ์สง่ั ลงทัณฑ์เต็มที่ ได้สถานใดสถานหนง่ึ แตส่ ถานเดยี ว ถา้ ส่งั ลงทณั ฑ์ทั้งสองสถานพร้อมกัน ตอ้ งกำหนดทณั ฑ์ไวเ้ พยี งกึ่งหนงึ่ ของอตั ราในสถานน้ัน ๆ หา้ ม มิให้ลงทณั ฑ์คราวเดยี วมากกว่าสองสถาน ข้อ ๙ กอ่ นทีผ่ มู้ ีอำนาจลงทัณฑ์จะลงทัณฑ์ ครั้งคราวใดก็ดี ใหพ้ จิ ารณาให้ถว้ นถแี่ น่นอนว่าผทู้ ่ีจะตอ้ งรบั ทัณฑน์ ัน้ มคี วามผดิ จรงิ แล้ว จงึ สง่ั ลงทัณฑน์ ้นั ต้องระวังอย่าให้เป็นการลงทัณฑ์ไปโดยโทษจรติ หรอื ลงทณั ฑ์แก่ผู้ทไ่ี ม่ มีความผดิ โดยชดั เจนน้นั เปน็ อันขาด เมื่อพิจารณาความผิดละเอยี ดแล้วตอ้ งชแี้ จงใหผ้ กู้ ระทำผิดน้นั ทราบว่ากระทำผดิ ใน ข้อใด เพราะเหตใุ ด แล้วจงึ ลงทัณฑ์ ข้อ ๑o เม่อื ผมู้ ีอำนาจบังคบั บัญชาไดท้ ราบวา่ ผซู้ ึ้งอย่ใู นบังคับบญั ชาของตนมีความผิดจนปรากฏแนน่ อนแลว้ แต่ความผิดนั้นควรรบั ทัณฑท์ ่เี หนืออำนาจจะสั่งกระทำได้ กใ็ หร้ ายงานนีแ้ จงความผดิ น้ัน ท้ังออกความเหน็ วา่ ควรลง ทัณฑ์เพยี งใด เสนอตามลำดับชนั้ จนถึงผมู้ ีอำนาจลงทณั ฑ์ได้พอกบั ความผิด เพ่ือขอให้ผนู้ น้ั สง่ั การต่อไป ข้อ ๑๑ เมือ่ ผมู้ อี ำนาจไดส้ ัง่ ลงทัณฑ์ตามระเบยี บน้แี ล้ว ผู้ที่สั่งลงทัณฑห์ รือผ้มู ีอำนาจบังคับบัญชาเหนือผู้ ท่ีสัง่ ลงทัณฑ์นนั้ มอี ำนาจท่ีจะเพิ่มทณั ฑ์หรือลดทณั ฑ์ หรือยกทณั ฑเ์ สยี กไ็ ด้ แต่ถา้ เพิ่มทัณฑแ์ ลว้ ทัณฑท์ ี่ส่ัง เพิม่ ข้ึนน้นั รวมกับทสี่ ่งั ไวแ้ ลว้ เดิม ต้องมิให้เกินอำนาจของผทู้ ่สี งั่ ใหมน่ ้ัน ขอ้ ๑๒ ในการที่จะรักษาวนิ ยั ใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยอยูเ่ สมอ ย่อมเปน็ การจำเป็นท่ีผู้บังคบั บญั ชาจกั ต้องมอี ำนาจในการบังคับบัญชา หรอื ลงทณั ฑอ์ ยู่เองเปน็ ธรรมดา แต่ผ้บู งั คบั บญั ชาบางคนอาจใช้อำนาจในทางท่ี ผดิ ยุติธรรม ซึ่งเปน็ การสมควรทจี่ ะให้ผูใ้ ต้บงั คบั บัญชามโี อกาสร้องทุกข์ได้ ในทางทเี่ ป็นระเบยี บ ไม่เป็นการกา้ วก่าย ขอ้ ๑๓ การร้องทุกข์ คือ การทผี่ ู้บังคับบัญชากระทำแก่ตนด้วยการอนั ไมเ่ ป็นยตุ ธิ รรม หรอื ผิด กฎระเบียบ ข้อบงั คบั แบบธรรมเนียมและประเพณีอนั ดงี ามของโรงเรยี น ตนมไิ ดร้ บั ผลประโยชน์หรอื สิทธิตามที่ ควรจะไดร้ ับ จงึ แจง้ ความประสงคร์ ้องขอความเป็นธรรมตอ่ ผู้บงั คับบัญชา ข้อ ๑๔ จะร้องทกุ ขไ์ ด้แต่สำหรับตนเองเท่านนั้ หา้ มมใิ หร้ ้องทกุ ขแ์ ทนผู้อื่นเป็นอันขาด และห้ามมิให้ลง ชอื่ รวมกัน หรือเขา้ มารอ้ งทกุ ข์พร้อมกันหลายคน และ ห้ามมิให้ประชุมกันเพือ่ หารอื เรอ่ื งจะรอ้ งทุกขโ์ ดยจะร้อง ทกุ ขด์ ว้ ยวาจา หรอื จะเขียนเป็นหนังสือกไ็ ด้ ถ้าผู้ร้องทุกข์มาร้องทกุ ขด์ ้วยวาจา ให้ผรู้ ับการร้องทุกขจ์ ดขอ้ ความ สำคัญของเรือ่ งทร่ี อ้ งทกุ ข์นั้น ใหผ้ ู้รอ้ งทกุ ขล์ งลายมือช่อื ไวเ้ ป็นหลักฐานด้วย ถ้าหากวา่ ผู้ร้องทกุ ขไ์ มท่ ราบชัดวา่ ตนไดร้ บั ความเดือดรอ้ นเพราะผใู้ ดแน่ ก็ให้รอ้ งทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาโดยตรงของตนเพอื่ เสนอไปตามลำดับชัน้ จนถึงท่สี ุด คือผู้ทีจ่ ะส่งั การไตส่ วน และแกค้ วามเดอื ดรอ้ นน้ันได้ ข้อ ๑๕ เม่ือใดไดร้ ้องทกุ ข์ต่อผู้บงั คับบัญชาตามระเบยี บทีว่ ่ามานีแ้ ล้ว และเวลาลว่ งพ้นไปสบิ หา้ วนั ยงั ไม่ได้รับความชีแ้ จงประการใด ทั้งความเดอื ดรอ้ นกย็ งั ไม่ปลดเปลื้องไป ให้รอ้ งทกุ ขใ์ หม่ตอ่ ผู้บงั คับบัญชาช้นั ทสี่ ูง ถดั ข้นึ ไปเป็นลำดับอกี และในการรอ้ งทุกข์ครั้งนใ้ี ห้ช้แี จงดว้ ยว่า ได้ร้องทกุ ขต์ ่อผู้บังคบั บัญชาชัน้ ใดมาแล้วแต่เม่อื ใด ข้อ ๑๖ ถ้าผู้บงั คับบัญชาได้รับเรือ่ งรอ้ งทกุ ข์เมื่อใด ตอ้ งรีบไต่สวนและจัดการแก้ไขความเดอื ดร้อนหรือ ชี้แจงใหผ้ ู้ยน่ื ใบรอ้ งทุกข์เข้าใจจะเพิกเฉยเสยี ไม่ได้เป็นอนั ขาด ผู้ใดเพิกเฉยนบั ว่ากระทำผิดวินัย ข้อ ๑๗ ถา้ ผู้บงั คับบญั ชาทีไ่ ด้รบั เร่ืองร้องทุกขไ์ ด้ช้ีแจงให้ผู้รอ้ งทกุ ข์ทราบแล้ว แต่ผู้ร้องทกุ ข์ยังไมห่ มดความสงสัย กใ็ ห้รอ้ งทุกข์ต่อผู้บงั คับบญั ชาชนั้ เหนอื ขน้ึ ไปได้ และต้องช้ีแจงดว้ ยว่าไดร้ ้องทกุ ขน์ ีต้ ่อผู้ใด และได้รับคำช้ีแจงอยา่ งไรแล้วด้วย ข้อ ๑๘ ถ้าหากปรากฏชดั ว่า ขอ้ ความทีร่ ้องทุกข์เปน็ ความเท็จหรอื การร้องทุกข์นน้ั กระทำไปโดยผดิ ระเบียบท่ีกลา่ วมา ผรู้ อ้ งทกุ ขจ์ ะต้องมีความผดิ ฐานกระทำผิดวนิ ยั ข้อ ๑๙ ให้ฝ่ายธรุ การเป็นผู้รักษาการ ตามระเบียบนี้

เคร่อื งแบบ การแต่งกาย เครื่องแบบชุดพิธีการครูและพ่เี ลยี้ ง

เคร่ืองแบบชุดพิธกี ารบคุ ลากร





ทำกอ่ น เมอ่ื มีปัญหาปรกึ ษาคนส่ัง เคารพเออ้ื เฟอ้ื ต่อหนา้ ท่ี กรุณาปราณีต่อประชาชน อดทนตอ่ ความเจ็บใจ ไม่หวัน่ ไหวตอ่ ความ ยากลำบาก ไม่มักมากในลาภผล มงุ่ บำเพ็ญประโยชน์เพื่อ ปวงชน ดำรงตนในความยุตธิ รรม กระทำการดว้ ยปัญญา รกั ษาความไม่ประมาท เสมอชวี ติ

“อย่าเกยี จครา้ น การเรยี นเรง่ อุตส่าห์ มีวิชาเหมือนมีทรพั ย์อยู่นบั แสน จะตกถิ่นฐานใดคงไม่แคลน ถงึ คบั แค้นก็พอยังประทังตน อนั ความรรู้ ้กู ระจ่างแต่อย่างเดยี ว แต่ใหเ้ ชยี่ วชาญเถดิ จะเกดิ ผล อาจจะชักเชดิ ชูฟสู กล ถงึ คนจนคนไพรค่ งได้ด”ี ................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook