แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรียนชุมชนประชาธปิ ัตย์วิทยาคาร ตำบลประชาธปิ ัตย์ อำเภอธญั บุรี จงั หวัดปทมุ ธานี _______________________________________________ สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
คำนำ
สารบญั
สว่ นท่ี 1 บทนำ 1. ประวตั ิความเปน็ มาและข้อมูลสถานศึกษา 1.1 ข้อมลู ทวั่ ไป สถานศึกษา 1) ชอ่ื สถานศึกษา โรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตยว์ ทิ ยาคาร ทตี่ ้ัง เลขที่ 47 ซอยพหลโยธนิ 127 ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบรุ ี จังหวดั ปทมุ ธานี รหสั ไปรษณยี ์ 12130 โทรศัพท์ 02-959-4454 โทรสาร 02-567-4821 เวบ็ ไซต์ : www.cptw.ac.th สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษา ปทุมธานี เขต 2 2) เปิดสอนระดบั ช้นั ปฐมวัย ถึงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เนอื้ ที่ 8 ไร่ 1 งาน 36 ตารางวา 3) เขตพ้นื ทบ่ี รกิ ารการศกึ ษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 2 ดังนี้ - ตำบลประชาธปิ ัตย์ หมู่ 1 - 2 (เดิม) - ซอยพหลโยธิน 87 – 139 - ถนนพหลโยธิน บา้ นเลขท่ี คู่ 2 – 172, บา้ นเลขที่ คู่ 1 - 855 - ซอยรงั สติ - นครนายก 1 - ซอยรงั สิต - ปทุมธานี 1 - 31 - เลียบคลองรังสิต ถนนรงั สติ - นครนายก บา้ นเลขที่ 1 – 11 1.2 ประวัติโรงเรยี น ( โดยย่อ ) โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ตั้งอยู่เลขที่ 47 ซอยพหลโยธิน 127 ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีความเป็นมา ดังน้ี • 1 กมุ ภาพันธ์ 2466 นายอำเภอ พอ่ ค้า ประชาชน ร่วมกันจัดตง้ั ขน้ึ โดยอาศัยศาลเจ้าโรงเจคลองหน่ึง สายล่าง คลองซอยที่ 1 เป็นสถานที่เรียน ชื่อโรงเรียนบึงทะเลสาบ 1 คลองหนึ่ง เปิดสอน ช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3 มนี ักเรยี น 9 คน มีนายบุญรอด มงุ่ เยียวยา เปน็ ครูใหญ่ • 17 เมษายน 2475 ขยายช้ันเรียนถึงชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 มนี กั เรียนทงั้ ส้นิ 55 คน มีนายกิมใช้ เฮงสำราญ เปน็ ครูใหญ่ • 15 สิงหาคม 2480 ย้ายไปเรียนที่โรงเรียนเกษตรกรรมรังสิต (ปัจจุบัน คือ สถาบันเทคโนโลยีราช มงคลวทิ ยาเขตปทมุ ธานี) เนื่องจากศาลเจา้ โรงเจชำรุดมาก มนี ายผล เดชะปทมุ วนั เปน็ ครใู หญ่ • 5 สิงหาคม 2483 โรงเรียนเกษตรกรรมตอ้ งการสถานท่คี ืน โรงเรียนจึงได้รับงบประมาณสร้างอาคาร เรยี นเป็นเงนิ 1,000 บาท หลวงรตั นชโรดม (แก้ว รัตโนดม) บริจาคที่ดินสรา้ งอาคารโรงเรยี นจำนวน 2 ไร่ ประชาชนบริจาคเงินสมทบ 400 บาท สร้างเป็นอาคารเรียนไม้แบบ ป.1 กว้าง 9 เมตร ยาว 27 เมตร พืน้ ไม้ยาง หลังคามุงกระเบ้ืองไมม่ ีฝา เปน็ อาคารเรียนหลังแรก ช่ือว่า “อาคาร 1” ปัจจุบัน รื้อแล้วเพื่อปลูกสร้างอาคารเรียน 8 ปัจจุบันรื้อแล้วเช่นเดียวกันเพื่อใช้ปลูกอาคารเรียนแบบ สปช. 2/28 • 5 กรกฎาคม 2486 ชื่อตำบลเป็นตำบลประชาธิปัตย์ โรงเรียนจึงเปลี่ยนชื่อตามชื่อตำบลเป็น “โรงเรียนประชาบาลตำบลประชาธิปัตย์ 1 คลองหนึ่ง” ในปีเดียวกันนี้ได้รับการจัดสรรงบประมาณ สร้างอาคารเรียนเพิ่มขึ้นอีก 1 หลัง เป็นแบบ ป.1 ขนาด กว้าง 8 เมตร ยาว 24 เมตร พื้นไม้ยาง หลงั คาสังกะสชี ่อื วา่ อาคารเรยี น 2” ปจั จุบันไดร้ ้ือแลว้
• 25 ตุลาคม 2489 เปลย่ี นชอ่ื โรงเรียนใหมเ่ ปน็ “โรงเรียนประชาบาลประชาธปิ ตั ย์ 1” • 1 พฤษภาคม 2495 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศเปลยี่ นแปลงการเรียกชอ่ื โรงเรยี นเสียใหม่โดยตดั คำ วา่ “ประชาบาล”ออก จงึ ใชช้ ื่อใหมว่ ่า “โรงเรยี นประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร” และในปนี ้ีได้รับงบประมาณ สร้างอาคารเรียนใหม่เพิ่มขึน้ อีก 1 หลัง แบบ ป.1 ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 24 เมตร พื้นและฝาไม้ ยางหลงั คาสงั กะสชี ือ่ “อาคารเรียน 3” ปจั จบุ ันรอ้ื แล้ว • 1 มีนาคม 2512 ได้งบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ 015 ขนาด 10 ห้องเรียน เป็นเงิน 442,600 บาท แต่เนื่องจากที่ดินที่ หลวงรัตนชโลดม บริจาคให้สร้างอาคารเรียนจำนวน 2 ไร่นั้น มี ความยาวน้อยไปไม่สามารถสร้างอาคารเรียนหลังดังกล่าวได้ คณะกรรมการศึกษาซึ่งมี นายนนท์ วร รักษา เป็นประธาน มอบให้นายเจริญ บุษมาลี ครูใหญ่ เป็นผู้ประสานงานขอบริจาคทีด่ ินจาก นางสาว วลัย รัตโนดม จำนวน 212 ตารางวา สร้างอาคารเรียนเสร็จเรียบร้อย สุขาภิบาล โดยนายนนท์ วร รักษา และ นายสุรใจ ทรพั ยส์ มบูรณ์ บริจาคทรายถมท่เี พอื่ ให้โรงเรียนใช้ เปน็ สนามเดก็ เล่นคิดเป็นเงิน 2,300 บาท อาคารเรียนหลังนี้ ชื่อ “อาคารเรียน 5” และได้ขยายชั้นเรียนถึงชั้นประถมศึกษาตอน ปลาย เมอื่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2512 ปีน้ีมีนักเรยี นทงั้ สิ้น 787 คน • 26 กรกฎาคม 2514 กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ได้มอบที่ดินของกระทรวงศึกษาธิการอันเปน็ ที่ตั้งโรงเรียนธัญบุรีเดิม คือ ที่ดินของนายทองพูล หวั่งหลี ได้บริจาคใหท้ างราชการไว้แตเ่ ดิมจำนวน 5 ไร่ 3 งาน 16 ตารางวา และอาคารเรียน 1 หลัง (รื้อแล้ว) ต่อมาร้อื มขุ ของอาคารเรียนและห้องเรียน ของโรงเรียนธัญบุรีออก 2 เพื่อปลูกสร้างอาคารเรียนแบบ 506 อาคาร 9 ปัจจุบันโรงเรียนมที ี่ดิน 8 ไร่ 1 งาน 28 ตารางวา และในปีนี้ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ 015 ขนาด 8 ห้องเรียน เปน็ เงิน 400,000 บาท ชื่อว่า “อาคาร 7” สว่ นอาคารโรงเรยี นธัญบุรเี ดมิ ชือ่ “อาคารเรียน 6” • 10 พฤษภาคม 2515 โรงเรียนไดร้ บั งบประมาณตอ่ เตมิ อาคารเรยี น 2 รายการ คือ สรา้ งอาคารเรียน แบบ 014 ขนาด 8 ห้องเรียน เป็นเงิน 500,000 บาท ได้รื้อย้ายอาคารเรียน 1 – 2 เพอ่ื สร้างอาคาร เรยี นแบบ 014 ชอ่ื “อาคารเรียน 8” ร้ือออกแลว้ กบั ได้รบั งบประมาณต่อเติมอาคารเรียนแบบ 015 อีก 4 ห้องเรียน เป็นเงิน 200,000 บาท และได้รื้อบ้านพักครูโรงเรียนธัญบุรเี ดิม เพื่อต่อเติมอาคาร เรียนหลังดงั กลา่ ว และสุขาภิบาลประชาธิปัตย์ไดบ้ ริจาคทรายถมสนาม คิดเปน็ เงนิ 14,000 บาท • 1 มถิ นุ ายน 2516 ไดร้ ับงบประมาณกอ่ สร้างอาคารเรียนแบบ 506 ตึก 3 ชัน้ 15 หอ้ งเรียน จำนวน 1 หลัง เป็นเงิน 1,000,000 บาท ได้รับงบประมาณในปี 2517 เพิ่มอีก 880,00 บาท สร้างเสร็จ เรียบร้อย ชอื่ ว่า “อาคาร 9” • 1 พฤษภาคม 2517 ได้นำวัสดุต่างๆ ที่รื้อจากอาคารเกา่ คือ อาคาร 1 – 4 มีเสา 31 ต้น มีพื้นและ อื่นๆ มาก่อสร้างปรับปรุงเป็นโรงอาหารชั่วคราวกว้าง เมตร ยาว 24 เมตร พื้นไม้ยาง หลังคา สงั กะสี(ปจั จบุ นั ไดร้ อ้ื แลว้ ) และในปีนีไ้ ด้รับงบประมาณสร้างอาคารโรงฝกึ งาน 1 หลังเปน็ เงิน 85,000 บาท โรงอาหารและบ้านพักครู 2 หลงั รวมเปน็ เงิน 190,000 บาท • 1 มีนาคม 2519 โรงเรยี นได้รับงบประมาณสร้างสว้ ม 1 หลัง 5 ท่ีน่ัง พรอ้ มที่ปสั สาวะและบ้านพักครู 2 หลัง คิดเป็นเงิน 100,000 บาท ในปีเดียวกันนี้โรงเรียนได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนชุมชนของ จังหวัดปทุมธานี และเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร” และได้รับ งบประมาณตอ่ เตมิ อาคารเรียนช้ันล่าง อาคาร 7 จำนวน 4 หอ้ งเรยี นพรอ้ มทาสี เปน็ อาคารแบบ 015 เตม็ รูปแบบขนาด 16 หอ้ งเรียน • ปี 2525 ได้รับงบประมาณเหลือจ่ายจาก สปช. กระทรวงศึกษาธิการสร้างอาคารเรียนแบบ 506 จำนวน 15 หอ้ งเรยี น งบประมาณ 1,400,000 บาท • ปี 2528 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารอเนกประสงค์ แบบ 206/2516 ขนาด 21 x 36 เมตร งบประมาณ 1,301,000 บาท
• ปี 2529 ไดร้ บั งบประมาณสรา้ งสว้ ม 12 ทีน่ ง่ั เป็นเงิน 120,000 บาท สร้างเรือนเพาะชำขนาด 7 x 8 เมตร งบประมาณ 30,000 บาท • ปี 2530 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ สปช. 2/28 จำนวน 9 ห้องเรียน งบประมาณ 1,980,000 บาท สร้างพระพุทธรูปประจำสถานศึกษาหน้าตักกว้าง 43 นิ้ว ฉัตรทอง 1 ชุด 5 ช้ัน พรอ้ มฐานพระพทุ ธรปู โดยการบรจิ าคของพอ่ คา้ คหบดี คดิ เป็นเงิน 60,000 บาท • 11 กุมภาพันธ์ 2536 นายวิชัย ซาตะนัย ย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน คำสั่งที่ 853/2536 ลงวันท่ี 5 พฤษภาคม 2536 • 15 กรกฎาคม 2536 ปรับปรงุ ทางระบายน้ำภายในโรงเรียนท้ังหมด คดิ เปน็ เงิน 27,500 บาท และ สุขาภิบาลประชาธิปัตย์จัดทำทางระบายน้ำลงคลองท่อปูนซีเมนต์เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0 เมตร 2 ช่องทาง คิดเป็นเงิน 160,000 บาท • 4 ตุลาคม 2536 จัดทำศาลาท่าน้ำเสร็จ จากงบประมาณพัฒนาจังหวัดจำนวนเงิน 110,000 บาท โดยคุณชูชีพ ชชู าติ วาณี หาญสวัสด์ิ ส.ส. จังหวดี ปทมุ ธานี • 22 พฤศจิกายน 2536 สร้างสว้ ม 2 หลัง 8 ที่นั่ง พร้อมท่ีปสั สาวะโดยการบริจาคของบรษิ ทั พิพัฒน สิน จำกัด และคณุ ชาญวทิ ย์ หิรัญอัศย์ รายละ 100,000 บาท • 22 ธันวาคม 2536 คุณนภาภรณ์ รังษีธนานนท์ บริจาคเครื่องดนตรีไทย 1 ชุด เป็นเงิน 40,000 บาท และเครอื่ งเสียงภายในโรงเรยี น รวมทัง้ คา่ ติดตงั้ เป็นเงนิ 100,000 บาท • 7 มกราคม 2537 รา้ นคลองหลวงค้าไม้ สร้างศาลาทีพ่ กั ผปู้ กครอง 1 หลงั เป็นเงนิ 50,000 บาท • 29 เมษายน 2537 สร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กภายในโรงเรียน กว้าง 4.5 เมตร ยาว 95 เมตร คิดเป็นเงิน 115,074 บาท งบประมาณจากงานวนั เกิดโรงเรียน และนายดเิ รก คลา้ ยสบุ รรณ บรจิ าค แรงงานและเครอื่ งจกั รกล คดิ เปน็ เงนิ 15,390 บาท • 15 พฤศจิกายน 2537 สร้างศูนย์การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนเริ่มเปิดสอนเป็นคร้ัง แรกจำนวน 10 เคร่อื ง คดิ เป็นเงนิ 380,000 บาท • 4 กุมภาพันธ์ 2538 ถมบ่อน้ำหน้าอาคารเรียน 5 (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3)โดยได้รับบริจาคดินจาก คหบดีในท้องถิ่น และจัดหาลูกรังมาเพิ่มเติมคิดเป็นเงินทั้งสิ้นประมาณ 120,000 บาท (บ่อขนาด 25 x 30 เมตร ลึก 2 เมตร) • 25 มกราคม 2539 สร้างเครื่องกรองน้ำขนาดใหญ่ สำหรับนักเรียนและครูโดยการบริจาคของ คุณ เย่ียม เทพธญั ญะ และ ญาติ สโมสรโรตารร่ี ังสิต คณะครแู ละผู้ปกครองนักเรียนรว่ มบรจิ าคสมทบเป็น เงนิ 280,000 บาท • 20 พฤษภาคม 2539 สร้างเสริมถนนคอนกรีตและปรับพื้นดินเป็นคอนกรีตตามโครงการปฏิรูป การศกึ ษา คิดเป็นเงินทั้งหมดประมาณ 90,000 บาท งบประมาณทเ่ี หลือจากวนั เกิดโรงเรียนปี 2539 • ปีงบประมาณ 2541 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม 4 ที่นั่ง พร้อมที่ปัสสาวะชายจำนวน 1 หลัง เป็น เงิน 110,000 บาท สร้างอาคารเรียนแบบ สปช. 2/28 จำนวน 18 ห้องเรียน งบประมาณ 6,458,000 บาท สร้างแล้วเสร็จเมื่อวนั ท่ี 19 พฤษภาคม 2542 พร้อมกันนี้ได้รื้อถอนอาคารเรียน แบบ 014(อาคาร8) นำวสั ดุไปสร้างอาคารชัว่ คราว ขนาด 3 ห้องเรยี น กว้าง 8 เมตร ยาว 27 เมตร งบประมาณเป็นเงินยืมจากกองทุนประถมศึกษาของโรงเรียน จำนวน 350,000 บาทเศษ ปีนี้มี นักเรียนทั้งสิ้น 2,639 คน ในปีเดียวกันได้สร้างสนามอาคารเรียนหลังใหม่ (สปช. 2/23) คอนกรีต เสริมเหล็ก ขนาด 32 x 32 เมตร คิดเป็นเงินประมาณ 358,000 บาท ได้รับงบสนับสนุนจาก กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน • ปีงบประมาณ 2543 ได้รบั งบประมาณจากกองการกฬี าแห่งประเทศไทยใหส้ รา้ งสนามบาสเกตบอล 1 สนาม เป็นเงิน 180,000 บาท.
• ปีงบประมาณ 2545 ได้รับงบประมาณจากองค์การส่วนบริหารส่วนจังหวดั ปทุมธานสี รา้ งอาคารโรง อาหาร 2 ชัน้ งบประมาณ 1,900,000.- บาท ก่อสร้างคา้ งไว้ ใน พ.ศ.2546 ได้รับงบประมาณจาก องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานีกอ่ สร้างเพม่ิ เติมอีกเป็นเงิน 2,000,000.-บาท • 30 กนั ยายน 2546 นายวิชยั ซาตะนยั ผู้อำนวยการโรงเรียนเกษยี ณอายุราชการ นายวจิ ิตร ชำนาญดี รกั ษาราชการในตำแหนง่ ใชเ้ งินบำรงุ การศึกษาปรบั ปรุงบริเวณอาคารเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ซ่ึงมี นำ้ ทว่ มขงั ทกุ ปี เปน็ เงิน 254,026.29 บาท • 8 ตลุ าคม 2546 นายสมยศ นวลลออ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั ไก่เตีย้ อำเภอสามโคก จังหวดั ปทุมธานี เดินทางมารับตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นชุมชนประชาธปิ ตั ยว์ ิทยาคารต่อจากนายวิชยั ซาตะนัย • 14 มกราคม 2552 นายบัญชา จันทรร์ ักษา ผ้อู ำนวยการโรงเรียนทองพูลอุทิศ อำเภอธัญบุรี จังหวัด ปทุมธานี เดินทางมารับตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนประชาธปิ ัตย์วิทยาคารต่อจาก นายสมยศ นวลละออ เม่ือย้ายมาดำรงตำแหน่ง เปน็ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ตั ยว์ ิทยาคาร ได้ปรบั ปรุง พัฒนาโรงเรียนในปลายปี 2554 เกิดเหตุน้ำท่วม โรงเรียนเป็นศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยจากชมุ ชนรอบ ข้างเข้ามาอยู่อาศัย หลังจากน้ำลดได้พัฒนาปรับปรุง ซ่อมแซมให้ทุกอย่างมีสภาพกลับมาใช้งานได้ เหมือนเดมิ • พ.ศ.2554 โรงเรียนได้รับคดั เลือกเป็น “สถานศึกษาพอเพียงแบบอย่าง” พ.ศ. 2555 ได้รับคัดเลือก ใหเ้ ปน็ “สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ” ผ่านการประเมนิ การคงสภาพโรงเรียนรางวัลพระราชทาน ผ่าน การประเมินจากสำนักงานมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารอบสาม (สมศ.รอบสาม) พ.ศ. 2556 ได้รับรางวัล “โรงเรียนดีศรีตำบล” โรงเรียนและนักเรียน ได้รับรางวัล ดีเด่นด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ประดับประเทศ • พ.ศ. 2557 โรงเรยี นได้รบั รางวลั ดีเยย่ี มประดบั ประเทศ “โครงการเยาวชนไทยทำดี ถวายในหลวงผา่ น การคัดเลือก ผลการปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) ในระดบั ภูมภิ าค ของมูลนธิ ิยุวสถริ คณุ • พ.ศ. 2557 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากความอนุเคราะห์ของบรษิ ัท ซันดิว จำกัด มอบอาคารโดม ศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1 หลัง มลู ค่า 2,000,000 บาท (สองล้านบาท ถ้วน) กำหนดแล้วเสร็จ กรกฎาคม 2558 • 28 พฤศจิกายน 2557 ได้รับอนุมัติใหร้ ื้อถอนอาคารเรียนแบบสามัญเดมิ แบบ 015/1512 ขนาด 10 ห้องเรยี น 1 หลัง เนื่องจากชำรดุ ทรุดโทรมจนไม่สามารถใช้ในราชการได้ และมอี ายุการใช้งานเกิน 25 ปี คำสั่งที่ ศธ 04087/5282 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นหลงั ใหม่ทดแทน แบบ 308ล/55-ข (4 ชนั้ ใต้ถุนโล่ง 18 ห้องเรยี น) กำหนด สง่ มอบอาคาร วันที่ 7 ตุลาคม 2559 • 18 กมุ ภาพันธ์ 2558 ไดร้ บั การประกาศใหเ้ ปน็ โรงเรยี นศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งด้านการศึกษา • 1 กุมภาพันธ์ 2560 จัดงานทอดผ้าป่าเพื่อการศึกษา เพื่อระดมทุนมาพัฒนาปรับปรุงห้อง ต่างๆ ใน อาคารเรียนหลังใหม่ ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน โดยมีท่าน ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 2 มาเป็นประธานในพธิ ี พร้อมกับ ทำพธิ ีเปิดอาคารเรยี นหลังใหม่ • 30 กันยายน 2560 นายบัญชา จันทร์รักษา ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร เกษียณอายุราชการ และได้แต่งตั้งให้ นายพิษณุ คนซื่อ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคารแทน • 6 พฤศจิกายน 2561 นายเกรียงไกร อาจเวทย์ ผู้อำนวยการโรงเรียนเจริญดีวิทยา ย้ายมาดำรง ตำแหนง่ ที่โรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ัตยว์ ิทยาคาร
• 3 มกราคม 2564 นางวีรวัลย์ เวียงจันทร์ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชน ประชาธปิ ตั ยว์ ทิ ยาคาร • 28 มกราคม 2565 นางสาวกัญญาภัทร ภัทรโสตถิ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดพืชนิมิตร ย้ายมาดำรง ตำแหน่ง ท่โี รงเรยี นชมุ ชนประชาธิปัตยว์ ทิ ยาคาร จนถงึ ปัจจบุ ัน แผนทีต่ ง้ั โรงเรียน 1. หา้ งสรรพพสินค้าฟวิ เจอร์พารค์ รังสิต 2. โรงภาพยนตร์เมเจอร์ 3. โรงแรม Hop Inn 4. ตลาดรงั สิต 5. โรงพยาบาลประชาธปิ ตั ย์ 6. สถานีตำรวจภธู รประตูน้ำจุฬาลงกรณ์ 7. ปมั๊ น้ำมนั ESSO 8. สำนักงานเทศบาลนครรังสิต 9. โรงพยาบาลปทมุ เวท
การบรหิ ารจัดการอาคารสถานที่ สถานศกึ ษา 1. อาคาร 1 11. หอประชมุ ลลี าวดี 2. อาคาร 4 12. ลานโดมใหญ่ 3. อาคาร 6 13. ห้องนำ้ หญิง 4. หอ้ งสมุด 14. บ้านพักครู 5. อาคาร 5 15. อาคาร 2 6. ห้องประชมุ สุพรรณกิ า 16. เรอื นรับรองผู้ปกครอง 7. อาคารคหกรรม 17. ทจี่ อดรถครูและบคุ ลากร 8. อาคารปรงุ อาหาร 18. ป้อมยาม 9. โดมเลก็ 19. หอ้ งน้ำชาย 10. อาคาร 3
1.3 โครงสรา้ งการบริหารงาน แผนภมู ิการบริหารงานโรงเรยี น ผู้อำนวยกา รองผู้อำนวยก กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ กลมุ่ บริหารบคุ คล 1. การพัฒนาหลกั สตู รท้องถ่ิน 1. การวางแผนอตั รากำลัง 2. การวางแผนดา้ นงานวิชาการ 2. การจัดสรรอัตรากำลัง 3. การจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา 3. การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตัง้ 4. การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 4. การเปล่ยี นตำแหน่ง การยา้ ย 5. การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ 5. การเลอ่ื นขน้ั เงินเดอื น 6. การวดั ผล ประเมินผล เทียบโอน 6. การลาทกุ ประเภท 7. การวิจยั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 7. การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน 8. การพัฒนา สง่ เสริมให้มแี หล่งเรียนรู้ 8. การดำเนนิ การทางวนิ ยั และการลงโทษ 9. การนเิ ทศการศกึ ษา 9. การสั่งพกั ราชการและการใหอ้ อก 10.การแนะแนว 10.การรายงานการดำเนินการทางวนิ ัย 11.การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในและ 11.การอธุ รณ์และการรอ้ งทกุ ข์ มาตรฐานการศึกษา 12.การออกจากราชการ 12.การสง่ เสรมิ ชมุ ชนใหม้ คี วามเข้มแขง็ ทางวชิ าการ 13.การจัดทำทะเบยี นประวัติ 13.การประสานความรว่ มมือในการพฒั นากับ 14.การจัดทำบัญชรี ายชื่อการขอเครอ่ื งราช สถานศึกษาและองค์กรอ่ืน 15.การสง่ เสรมิ การประเมนิ วทิ ยฐานะ 14.การสง่ เสริมและสนบั สนนุ งานวชิ าการแก่บคุ คล 16.การยกย่องเชิดชูเกียรติ ครอบครวั องคก์ ร ฯ อ่ืนทจ่ี ัดการศกึ ษา 17.การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณ 15.การจดั ทำระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ยี วกับงาน วิชาชีพ วิชาการ 18.การส่งเสรมิ วนิ ัย คุณธรรมจรยิ ธรรม 16.การคดั เลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพ่ือใชใ้ นสถานศกึ ษา 19.การสง่ เสรมิ การขอรับใบอนุญาต 17.การพัฒนาและใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา 20.การพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากร
นชุมชนประชาธปิ ัตยว์ ิทยาคาร คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ารโรงเรยี น ยการโรงเรยี น กลมุ่ บรหิ ารงานแผนและงบประมาณ กล่มุ บรหิ ารงานท่วั ไป 1. การจัดทำแผนงบประมาณ 1. การพฒั นาระบบเครอื ข่ายขอ้ มูลสารสนเทศ 2. การจัดทำแผนปฏิบตั ิการการใชเ้ งนิ 2. การประสานงานและพฒั นาเครอื ขา่ ยการศึกษา 3. การอนุมัติการใช้งบประมาณท่ีไดร้ ับ 3. การวางแผนการบรหิ ารการศกึ ษา 4. การโอนหรือขอเปลีย่ นแปลงงบประมาณ 4. การวจิ ัยเพ่ือพฒั นานโยบายและแผน 5. การรายงานผลการเบกิ จา่ ย 5. การจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาองคก์ ร 6. การตรวจสอบติดตามและรายงาน 6. การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน 7. ตรวจสอบ ตดิ ตาม รายงานการใชผ้ ลผลิต 7. งานเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา 8. การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพอ่ื กศ. 8. การดำเนนิ งานธรุ การ 9. งานอน่ื ๆ เกยี่ วกับกองทุนเพอ่ื กศ. 9. การดแู ลอาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดลอ้ ม 10.การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรเพอื่ กศ. 10.การจดั ทำสำมโนผูเ้ รียน 11.การวางแผนพสั ดุ 11.การรบั นกั เรยี น 12.การกำหนดรปู แบบรายการ คณุ ลกั ษณะครภุ ัณฑ์ 12.การเสนอความคดิ เหน็ เกี่ยวกับการจดั ตั้ง ยุบ รวม ส่ิงก่อสร้างท่ีใชง้ บประมาณเพอื่ เสนอตอ่ ปลดั กระทรวง หรอื เลิกสถานศกึ ษา หรือเลขาธิการสพฐ. 13.การประสานการศึกษาในระบบ นอกระบบ ตาม 13.การพฒั นาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพอื่ จัดทำ อัธยาศัย และจดั หาวัสดุ 14.การระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา 14.การจัดหาพัสดุ 15.การทัศนศึกษา 15.การควบคมุ ดแู ล บำรงุ รักษา จำหนา่ ยพสั ดุ 16.งานกจิ กการนักเรยี น 16.การจดั หาผลประโยชนจ์ ากทรพั ย์สิน 17.งานประชาสมั พันธก์ ารศึกษา 17.การเบกิ เงินจากคลงั 18.การส่งเสริม สนับสนุนการประสานการจัด 18.การรบั เงนิ รกั ษาเงนิ และจ่ายเงนิ การศึกษาของบุคคล ชุมชน องคก์ ร หนว่ ยงานอนื่ 19.การนำเงินสง่ คลัง 20. การจดั ทำบัญชกี ารเงนิ 19. การประสานกบั สว่ นภูมภิ าค ทอ้ งถนิ่ รายงาน 21.การจัดทำรายงานทางการเงินและงบประมาณ 20.การจดั ระบบการควบคมุ ภายในหน่วยงาน 22.การจดั ทำหรอื จัดหาแบบพิมพ์ บญั ชี ทะเบยี น ราย 21.แนวทางการจดั กจิ กรรมเพ่อื ปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม ในการลงโทษนักเรยี น
ข้อมลู ดา้ นการบรหิ าร 14 สถานศึกษา 1. ผู้อำนวยการโรงเรยี น นางสาวกญั ญาภทั ร ภัทรโสตถิ โทรศัพท์ 094-5566612 วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาโท สาขาบรหิ ารการศึกษา ดำรงตำแหน่งทีโ่ รงเรยี นนตี้ ง้ั แต่ วนั ที่ 28 มกราคม 2565 ถึงปัจจุบัน 2. รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน 3 คน 2.1 นางวีรวลั ย์ เวยี งจนั ทร์ วฒุ ิการศึกษาสูงสดุ ปรญิ ญาโท สาขาบริหารการศึกษา โทรศพั ท์ 082-9014596 2.2 นางสมุ นา นอ้ ยวรรณะ วฒุ ิการศึกษาสงู สุด ปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริการศกึ ษา โทรศัพท์ 089-4242342 2.3 นางสาวจนั ทิมา อดทน วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด ปริญญาโท สาขาบรหิ ารการศึกษา โทรศัพท์ 064-7562111 ภารกจิ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา โรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ตั ยว์ ิทยาคาร สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ขนาดใหญพ่ ิเศษ จดั การศึกษา 4 ระดับ คอื ระดับก่อนประถม ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ดำเนินการตามภารกิจของสถานศึกษาที่กำหนดให้ในพระราชบญั ญัติ และ ตามนโยบาย จุดเน้นที่หน่วยงานต้นสังกัดได้มอบหมายและให้แนวทางปฏิบัติ จากการศึกษาพระราชบัญญตั ิ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท2่ี ) พ.ศ.2545 สรุปภารกิจหลักๆ ของสถานศึกษา ได้ 10 ข้อ ดังนี้ 1. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศกึ ษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกบั นโยบาย และแผนของ กระทรวงศึกษาธกิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ ฐาน สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา ตลอดจน บรบิ ทและความตอ้ งการของชุมชนและทอ้ งถิน่ 2. จัดตง้ั งบประมาณ และรบั ผิดชอบการใช้จา่ ยงบประมาณของสถานศกึ ษา 3. พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน และ ความต้องการของนกั เรียน ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ 4. จัดการเรยี นการสอน สภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรยี นการสอนทเี่ หมาะสม และส่งเสริม กระบวนการเรยี นรทู้ เี่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ตลอดจนการปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง 5. ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศและแนวปฏบิ ัตติ า่ ง ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด 6. กำกบั ติดตามประเมินผลงานตามแผนงานโครงการและประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ตลอดจน การพจิ ารณาความดคี วามชอบ การพัฒนาและการดำเนินการทางวินัยกบั ครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษาใน สถานศึกษาตามทีก่ ฎหมายกำหนด
7. ระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา รวมทงั้ ปกค1ร5อง ดแู ล บำรุงรักษา ใชแ้ ละจัดหา ผลประโยชน์ จาก ทรัพยส์ นิ ของสถานศกึ ษา 8. จดั ใหม้ รี ะบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาและใหค้ วามรว่ มมือในการประเมนิ คุณภาพ การศึกษาจากหน่วยงานภายนอกสถานศึกษา รวมทั้งการรายงานผลการประเมิน ต่อคณะกรรมการ สถานศกึ ษาและสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 9. สง่ เสรมิ ความเขม้ แขง็ ใหก้ ับชุมชน และสร้างความสมั พนั ธ์กบั สถานศกึ ษา และ สถาบันอืน่ ใน ชุมชนและท้องถิน่ 10. ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่อืน่ ท่ีเกี่ยวกับกจิ การภายในสถานศึกษาหรอื ตามที่ได้รับมอบหมาย และตามท่ี กฎหมายกำหนด คณะกรรมการบรหิ าร สถานศึกษา อันเนื่องมาจากเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ต้องการใหป้ ระชาชนซึ่งเป็นผู้มสี ่วนไดเ้ สียโดยตรงเข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ร่วมกับผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู บุคลากรทางการศึกษา อย่างแท้จริงในลกั ษณะเป็นเจ้าของหรือหุ้นสว่ นของ สถานศกึ ษา บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งต้องทำหน้าที่แทน ชุมชนและ ผู้ปกครองนกั เรียนทุกคนจึงต้องคำนึงถงึ การจัดการศึกษาทีจ่ ะเกิดประโยชนส์ ูงสุดกบั ผู้เรียน ซึ่งเป็นลกู หลาน ของชุมชน ขณะเดียวกันก็จะต้องทำงานร่วมกับผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครู โดยตระหนักถึงความเป็น “เจ้าของร่วมกัน” จึงอาศัยกระบวนการทำงานที่เน้นการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมและความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทกุ ข้นั ตอนของการจัดการศึกษา พรอ้ มกับยึดถือหลักการของการบริหารกิจการบ้านเมืองและ สงั คม ดว้ ยการปฏบิ ัติตามกฎหมายยดึ มั่นในความถูกต้อง ดีงาม สรา้ งความไว้วางใจซึง่ กันและกนั เปิดโอกาสให้ ประชาชนมสี ่วนรว่ มตระหนักในสิทธิหน้าทีค่ วามสำนึกในความรับผิดชอบร่วมกัน และคำนึงถึงความคุ้มคา่ ใน การลงทนุ ดา้ นการจัดการศกึ ษา โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา จำนวน 15 คน ดังนี้ 1. นายเดชา กลน่ิ กุสุม ประธรรมกรรมการ 2. นางสาวเบญจมาภรณ์ แซ่ล้ี กรรมการ 3. นายธัชยพงศ์ ปาละหงษา กรรมการ 4. นายครรชิต อมรทพิ ยร์ ตั น์ กรรมการ 5. นายเสนาะ เขียววงคใ์ หญ่ กรรมการ 6. นางสาวชบาไพร แซเ่ ฮง็ กรรมการ 7. พระประสิทธิ์ ฐานสทุ โธ กรรมการ 8. พระกำจร มหาวีริโย กรรมการ 9. นายวัชรพล แกว้ จ้อย กรรมการ 10.นายสราวุธ กล่นิ กุสมุ กรรมการ 11.นางพรพกั ตร์ เตก็ สี กรรมการ
12.นายประสทิ ธ์ิ ศรรี ศั มี 16 กรรมการ 13.นายประดิษฐ์ ศรเี สถยี ร กรรมการ 14.นางวรงค์พร ทองในธรรม กรรมการ 15.นางสาวกัญญาภทั ร ภทั รโสตถิ กรรมการและเลขานกุ าร บทบาทและหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษา มีดังน้ี หน้าท่ี ขอ้ 1 กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาของสถานศึกษา หน้าท่ี ขอ้ 2 ให้ความเหน็ ชอบแผนปฏิบัติการประจำปขี องสถานศึกษา หนา้ ท่ี ขอ้ 3 ให้ความเห็นชอบในการจัดทำสาระหลักสตู รให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของท้องถ่ิน หน้าท่ี ข้อ 4 กำกับและตดิ ตามการดำเนนิ งานตามแผนของสถานศึกษา หนา้ ที่ ข้อ 5 ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้เดก็ ทุกคนในเขตบริการไดร้ บั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานอยา่ งทวั่ ถงึ มี คณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน หน้าท่ี ขอ้ 6 พิทกั ษ์สิทธิเดก็ ดูแลเด็กพกิ าร เดก็ ด้อยโอกาสและเดก็ ท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษ ให้ไดร้ บั การพัฒนาเตม็ ศักยภาพ หนา้ ท่ี ข้อ 7 เสนอแนะและมีสว่ นร่วมในการบรหิ ารด้านวิชาการดา้ นงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงาน บุคคลและดา้ นการบริหารงานท่วั ไปของสถานศกึ ษา หน้าที่ ขอ้ 8 ระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา ตลอดจนวชิ าวทิ ยากรภายนอกและภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน เพอ่ื สง่ เสริมพัฒนาการของนักเรียนทกุ ด้าน รวมท้ังส่ือสารจารีตประเพณีศิลปวัฒนธรรมของทอ้ งถ่ินและของ ชาติ หน้าที่ ขอ้ ท9ี่ เสรมิ สร้างความสัมพันธร์ ะหว่างสถานศึกษากบั ชมุ ชนตลอดจนประสานงานกับองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนเพอื่ ให้สถานศึกษาเป็นแหลง่ วิทยากรของชุมชนและมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาชมุ ชนและ ท้องถนิ่ หน้าที่ ข้อ 10 ใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานผลการดำเนนิ งานประจำปขี องสถานศึกษา กอ่ นเสนอตอ่ สาธารณชน หนา้ ที่ ข้อ 11 แต่งต้งั ทปี่ รกึ ษาและหรอื คณะอนกุ รรมการ เพ่อื การดำเนินงานตามระเบียบนี้ ตามที่ เห็นสมควร
สัญลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา 17 สถานศกึ ษา รูปตราสญั ลักษณ์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานอยบู่ นช่ือโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร หมายถึง โรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ตั ย์วทิ ยาคาร อยูภ่ ายใต้สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ตวั อักษรยอ่ ภาษาองั กฤษ CPTW • C : Cultuสrถeานหศมึกายษถาึง การสืบสานวฒั นธรรมไทย • P : Public mind หมายถงึ มจี ิตสาธารณะ • T : Transformation หมายถึง มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี • W : Work in team be professional หมายถงึ การทำงานเปน็ ทมี อยา่ งมืออาชีพ สปี ระจำโรงเรียน โรงเรียนมีสีประจสำถโรางนเรศียกึ นษาคือ สมี ว่ ง – ขาว ปรัชญาการศกึ ษาของโรงเรยี น “โรงเรยี นชุมชนปสระถชาานธศปิ กึ ตั ษยา์วทิ ยาคาร เปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรทู้ จี่ ัดการศกึ ษา เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ทีส่ มบูรณ์บนพ้ืนฐานของความเปน็ ไทย” คำขวัญโรงเรียน “เรียนเดน่ ประพสฤถตาดิ นี ศมกึ ีวษินายั ใฝ่คณุ ธรรม ” ดอกไมป้ ระจำโรงเรยี น ดอกไมป้ ระจำโรงเรยี น คือ ดอกบัวขาบ 2. สภาพท่วั ไป
สภาพชมุ ชนของโรงเรยี น 18 1. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนเมือง เขตปริมณฑล ติดต่อกับ กรุงเทพมหานคร มีประชากรประมาณ 30,000 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนได้แก่ ตำบล ประชาธปิ ตั ย์ ตำบลคลองหนึ่ง ตำบลหลักหก อ.ธญั บุรี จ.ปทมุ ธานี อาชีพหลกั ของชมุ ชน คอื รบั จ้าง พนักงาน ในภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากเป็นพื้นที่ปริมณฑล ที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณ/ี ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ทเ่ี ป็นทรี่ ูจ้ กั โดยทัว่ ไป คือ ประเพณที ำบุญชาวมอญ 2. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ประกอบอาชีพ ค้าขาย และรับจ้าง พนกั งานในภาคอตุ สาหกรรม รอ้ ยละ 60 นับถอื ศาสนา พุทธ รอ้ ยละ 90 อาณาเขตตำบล ทิศเหนอื ติด ต.คลองหนง่ึ ต.คลองสอง ต.คลองสาม อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี ทศิ ใต้ ตดิ ต.คูคต อ.ลำลกู กา จ.ปทมุ ธานี ทศิ ตะวันออก ตดิ ต.บงึ ยี่โถ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี ทศิ ตะวันตก ติด ต.บางพนู ต.หลกั หก อ.ธัญบุรี จ.ปทมุ ธานี เสน้ ทางการคมนาคม การเดินทางเขา้ สตู่ ำบล จากกรงุ เทพ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 โดยตำบลประชาธปิ ัตยต์ ้ังอยู่ตดิ กบั ตำบลคูคต ทางดา้ นเหนอื สภาพภมู ปิ ระเทศ ตำบลประชาธิปัตย์ เปน็ ทีร่ าบลุ่มมีถนนและคลองรังสิตเป็นเส้นขนานกนั ระยะทาง 31 กิโลเมตร ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมอิ ากาศ อากาศร้อนชน้ื มี 3 ฤดู คือ - ฤดูร้อน ตั้งแตเ่ ดือนกุมภาพันธุ์ – เดือนพฤษภาคม อณุ หภูมโิ ดยเฉล่ีย 35 – 38 C - ฤดูฝน ต้งั แต่เดือนมิถนุ ายน - เดือนตุลาคม อุณหภมู ิโดยเฉลีย่ 30 – 35 C - ฤดูหนาว ต้ังแต่เดือนพฤศจิกายน - เดือนมกราคม อณุ หภูมโิ ดยเฉล่ีย 27 – 35 C แหล่งนำ้
อำเภอธัญบรุ ี มคี ลองรังสติ ประยูรศกั 1ด9ติ์ ดั ผ่านกลางพืน้ ท่ี แบ่งออกเป็นสองขา้ ง ๆ ละ 40 เส้นประมาณ 1,600 เมตร สองฝัง่ คลองรังสติ ประยรู ศักดิม์ คี ลองซอยหา่ งกนั 60 เสน้ ประมาณ 2,400 เมตร ตั้งแตค่ ลองซอยที่ 1-14 ใชส้ ำหรับส่งนำ้ เพอ่ื ประโยชนก์ สิกรรม เสน้ ทางการคมนาคม การคมนาคมทางบก เป็นทางหลักของชุมชนได้แก่ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305 (ถนนรังสิต-นครนายก) และตามคลองซอยต่างๆ จะมีถนนเลียบ คลอง ส่วนถนนรังสิตนครนายกจะแบ่งเป็น 2 ฝั่งคลอง ข้ามโดยสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก และมี ถนนคอนกรีตต่อเข้าหมู่บา้ นทุกหมู่บ้าน การคมนาคมทางนำ้ เดิมมีการใช้คลองรังสิตประยูรศักดิ์ใน การติดตอ่ ไปหาสกู่ นั แต่ปัจจบุ นั ก็ยังพอมีอยู่บา้ งแตไ่ มม่ ากนกั ขอ้ มูลสาธารณปู โภค 1) ประปา มีการใช้นำ้ ประปาทกุ หมู่บ้าน 2) ไฟฟา้ มีไฟฟา้ ใช้ทุกหมบู่ ้าน 3) โทรศัพท์ ใช้โทรศพั ท์ขององคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย และสว่ นใหญใ่ ช้โทรศัพท์มือถือ 4) ไปรษณีย์ ท่ไี หบ้ รกิ ารในพื้นที่ คอื ท่ีทำการไปรษณีย์อำเภอธญั บุรี และท่ที ำการไปรษณียร์ ังสิต 3. สภาพปัจจบุ ัน
20 ขอ้ มลู พ้ืนฐานทางการศกึ ษา โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตยว์ ทิ ยาคารมขี อ้ มลู พื้นฐานในการดำเนินการ ดงั น้ี ตารางที่ 1 แสดงจำนวนหอ้ งเรียนและนกั เรียน ยอ้ นหลัง 3 ปกี ารศกึ ษา 2562, 2563 และ 2564 ปกี ารศกึ ษา ชัน้ 2562 2563 2564 หอ้ งเรียน นกั เรยี น ห้องเรยี น นักเรียน ห้องเรยี น นกั เรียน อนุบาลปีท่ี 2 2 56 1 30 2 28 อนุบาลปที ี่ 3 2 51 2 56 2 33 รวมระดับก่อนประถม 4 107 4 86 4 61 ประถมศึกษาปที ี่ 1 5 182 5 151 5 113 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 5 139 5 172 5 141 ประถมศึกษาปที ่ี 3 5 161 5 136 5 166 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 5 174 5 156 5 137 ประถมศึกษาปที ี่ 5 5 180 5 176 5 150 ประถมศึกษาปที ี่ 6 5 179 5 178 5 185 รวมระดบั ประถม 30 1,015 30 969 25 892 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 5 177 5 181 5 194 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 5 173 5 167 5 157 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 5 147 5 168 5 170 รวมระดบั มธั ยมตอนต้น 15 497 15 516 15 521 มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 2 54 2 35 2 86 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 2 45 2 52 2 33 มัธยมศึกษาปที ี่ 6 2 45 2 45 2 51 รวมระดบั มธั ยมตอน 6 144 6 132 6 170 ปลาย ห้องเรยี นคขู่ นาน 1 19 1 18 1 รวมทั้งสนิ้ 56 1,763 55 1,761 จำนวนนกั เรียนท่ีจบหลักสตู ร คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 • อ.3 จำนวน 33 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 • ป.6 จำนวน 185 คน คิดเป็นร้อยละ 100 • ม.3 จำนวน 170 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 • ม.6 จำนวน 51
21 4. ผลการดำเนนิ งานในรอบปที ี่ผา่ นมา งานบรหิ ารทัว่ ไป ➢ ดา้ นสิทธิและโอกาสทางการศกึ ษา โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตยว์ ทิ ยาคาร รับผิดชอบดูแลเขตบรกิ ารในพน้ื ที่ คือ หมู่ 1 หมู่ 2 ตำบล ประชาธปิ ตั ย์ ซึง่ มกี ารดำเนนิ การ ทำเรอ่ื งแจง้ ผู้ปกครองกรณี เดก็ ทเี่ ข้าเกณฑ์ต้องศึกษาในระดบั ขนั้ พื้นฐาน และตดิ ตามการเข้าสมัครเรยี น รวมถึงให้สิทธิและโอกาสเด็กได้เข้าศึกษาในโรงเรยี น รอ้ ยละ 100 ➢ ดา้ นประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษา ในปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวนนักเรยี นท่เี ขา้ เรยี นในระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน จำนวนท้ังส้ิน 1,644 คน ไมม่ ีจำนวนนกั เรียนทอี่ อกกลางคัน งานบรหิ ารวิชาการ (ด้านคณุ ภาพการศึกษา) ➢ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น ตารางที่ 2 แสดงผลการพัฒนาการของนักเรยี นระดับปฐมวัย ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 พัฒนาการ ระดบั ผลการพฒั นาการ แนวโนม้ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 (เพ่ิม-ลด) ด้านร่างกาย 80.94 89.35 75.00 ด้านอารมณ์ 87.59 93.34 100 ลด ด้านสงั คม 82.02 91.45 75.00 เพิ่ม ดา้ นสตปิ ัญญา 79.07 88.17 62.50 ลด รวมเฉล่ีย 81.92 90.34 78.16 ลด ลด
ตารางท่ี 3 แสดงผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรียน2ร2ะดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ตารางท่ี 3.1 ระดับประถมศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2562 – 2564 ช้ัน ปี ไทย คณติ วิทย์ สงั คม ประวตั ิ สุข- ศิลปะ การงาน อังกฤษ รวม การศกึ ษา พละ เฉลี่ย 2562 82.46 83.41 81.76 79.31 80.29 85.78 84.26 85.08 73.29 81.74 ป.1 2563 98.01 92.05 87.42 98.01 98.67 98.67 100.00 98.68 85.43 84.33 2564 78.81 79.66 88.98 92.37 86.83 92.37 96.61 93.22 73.73 86.95 2562 77.00 78.03 76.73 77.13 78.93 78.83 82.46 70.26 86.20 78.40 ป.2 2563 53.53 52.35 58.23 53.53 54.70 71.76 24.12 91.76 62.35 52.09 2564 75.00 75.00 75.00 71.62 77.70 74.32 69.59 65.54 86.49 74.47 2562 80.52 80.41 80.41 78.07 82.45 76.79 80.24 84.1 66.52 78.83 ป.3 2563 78.52 51.11 50.37 78.52 58.52 74.81 37.12 99.24 48.14 55.31 2564 53.76 53.75 54.91 80.92 84.39 45.09 76.88 49.13 87.86 65.19 2562 78.74 76.82 76.00 76.8 76.84 80.46 84.84 85.12 66.25 77.99 ป.4 2563 35.44 52.53 46.20 35.44 34.17 56.96 96.13 67.09 53.79 49.15 2564 56.52 56.52 29.71 53.62 53.62 100 99.28 85.51 55.07 65.54 2562 72.79 75.34 76.85 72.74 74.06 84.76 84.03 86.83 70.37 77.53 ป.5 2563 59.65 21.59 59.65 66.47 68.18 98.86 98.86 86.93 28.40 58.77 2564 34.68 28.90 56.06 68.79 69.76 98.84 87.86 89.60 30.06 62.73 2562 76.72 77.07 74.47 73.97 73.80 78.16 78.60 82.72 76.42 76.88 ป.6 2563 62.92 41.57 80.33 75.28 45.50 92.69 97.18 86.44 33.14 68.34 2564 55.14 55.6 61.62 51.35 96.76 96.76 73.51 46.49 100 70.80 รวมเฉล่ีย ปี 62 78.04 78.51 77.70 76.34 77.73 80.80 82.41 82.35 73.18 78.56 รวมเฉล่ีย ปี 63 64.68 51.86 63.700 67.87 59.95 82.29 75.56 88.35 51.87 61.33 รวมเฉล่ีย ปี 64 58.99 58.24 61.05 69.78 78.18 84.56 83.96 71.58 72.20 70.95 เปา้ หมาย 70 70 70 70 70 70 70 70 70 70
ตารางที่ 3.2 ระดับมัธยมศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2562 –232564 ปี คณิต วทิ ย์ สังคม ประวัติ สุข- ศิลปะ การ องั กฤษ รวม ชนั้ การศึกษา ไทย พละ งาน เฉลีย่ 2562 62.31 58.09 61.16 64.16 63.57 75.34 65.93 63.59 56.42 63.40 ม.1 2563 27.77 22.22 7.22 27.77 31.11 46.11 51.67 22.22 50.55 28.76 2564 39.70 15.46 39.69 14.43 13.92 47.42 31.44 30.93 54.12 31.90 2562 58.08 74.56 69.45 73.93 73.89 77.89 67.37 56.79 67.10 68.78 ม.2 2563 84.43 15.56 4.79 84.43 67.66 75.45 67.66 44.31 71.25 47.90 2564 39.24 24.68 48.10 22.15 22.15 22.15 47.47 65.82 30.38 35.79 2562 71.78 68.74 70.72 73.34 79.44 77.88 91.39 79.66 72.55 76.17 ม.3 2563 24.09 12.65 43.37 48.19 53.01 54.21 78.92 30.72 34.93 42.23 2564 39.77 39.76 29.82 34.50 55.56 46.20 57.31 21.05 39.77 40.42 2562 67.68 73.17 65.90 75.64 75.33 86.64 75.96 79.15 72.69 74.68 ม.4 2563 53.61 49.38 43.42 51.19 49.88 57.28 63.56 53.53 45.07 51.88 2564 39.53 25.58 20.93 26.74 24.42 27.91 51.16 27.91 17.44 29.07 2562 72.00 67.26 68.08 83.33 71.65 74.57 74.06 73.65 71.97 72.95 ม.5 2563 49.64 57.87 62.83 67.43 50.98 63.05 68.85 59.55 45.08 58.36 2564 27.27 48.48 57.58 51.52 30.30 51.52 63.64 45.45 18.18 43.77 2562 72.00 67.26 68.08 83.33 71.65 74.57 74.06 73.65 71.97 72.95 ม.6 2563 27.27 2.27 20.45 31.81 20.45 68.18 31.82 81.81 54.54 37.62 2564 54.90 50.98 43.14 49.02 43.14 62.75 80.39 86.27 39.22 56.65 รวมเฉลย่ี ปี 62 67.31 68.18 67.23 75.62 72.59 77.82 74.80 71.08 68.78 71.49 รวมเฉลี่ย ปี 63 44.47 26.66 30.35 51.80 45.51 60.71 60.41 48.69 50.24 44.46 รวมเฉลย่ี ปี 64 40.07 34.16 39.88 33.06 31.58 42.99 55.24 46.24 33.19 39.60 เป้าหมาย 70 70 70 70 70 80 80 80 70 70
แผนภาพที่ 1 แสดงเปรียบเทียบเฉล่ียผลสมั ฤทธิ์ทางกา2ร4เรยี นของนกั เรียน ท้งั 8 กลมุ่ สาระ ระดบั ประถมศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 – 2564 ปี 63 ปี 64 86 84 82 80 78 76 74 72 70 68 แผนภาพท่ี 2 แสดงเปรียบเทยี บเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี น ทงั้ 8 กล่มุ สาระ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ปกี ารศกึ ษา 2563 - 2564 ปี 63 ปี 64 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0
25 1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รยี น (RT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 เปรยี บเทียบ ขอ้ มูลปีการศกึ ษา 2562-2564 ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ของโรงเรยี น ชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ต้ังแต่ปีการศึกษา 2562 – 2564 ความสามารถ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 2562 2563 2564 การอ่านออกเสยี ง 32.27 45.54 68.16 การอา่ นรู้เรือ่ ง 47.60 48.84 67.66 รวม 2 ด้าน 39.93 47.19 68.25 ซง่ึ จากการเปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ 1 ตั้งแตป่ กี ารศกึ ษา 2562 – 2563 สามารถนำเสนอในรปู ของแผนภมู ิท่ี 1 ดังนี้ 70 การอ่านร้เู รอ่ื ง รวม 2 สมรรถนะ 60 2562 2563 2564 50 40 30 20 10 0 การอ่านออกเสยี ง แผนภมู ิท่ี 1 แสดงการเปรยี บเทียบผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รยี น (RT) ชนั้ ประถมศึกษา ปีท่ี 1 ของโรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ตั ย์วทิ ยาคาร ตง้ั แต่ปีการศกึ ษา 2562 – 2564
26 2 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ช้นั ประถมศึกษา ปที ี่ 3 เปรยี บเทยี บขอ้ มูลปีการศึกษา 2562-2564 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ของโรงเรียนชุมชน ประชาธปิ ัตยว์ ทิ ยาคาร เปรียบเทยี บย้อนหลงั ปีการศกึ ษา 2562 – 2564 แสดงรายละเอียดดังตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของโรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ตั ยว์ ิทยาคาร ต้งั แตป่ ีการศกึ ษา 2562 – 2564 ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2564 ด้านภาษาไทย 41.10 2563 57.19 ดา้ นคณิตศาสตร์ 37.41 44.47 50.53 39.26 35.03 53.71 รวม 2 ดา้ น 39.75 แผนภมู ทิ ี่ 2 แสดงผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ของนักเรยี น ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ยว์ ิทยาคาร เปรียบเทยี บย้อนหลงั 3 ปีการศกึ ษา (2562 – 2564) 60 50 40 30 20 10 0 ดา้ นภาษาไทย ด้านคณติ ศาสตร์ รวม 2 ด้าน ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564
27 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 เปรียบเทยี บข้อมลู ปีการศึกษา 2562-2564 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียน ชมุ ชนประชาธปิ ตั ยว์ ทิ ยาคาร เปรยี บเทียบยอ้ นหลังปีการศึกษา 2562–2564 แสดงรายละเอียดดงั ตารางท่ี 3 ตารางที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ของโรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ัตย์วทิ ยาคาร ต้งั แตป่ ีการศึกษา 2562 – 2564 คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ ความสามารถ ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2562 2563 2564 ภาษาไทย 48.62 53.14 41.75 ภาษาอังกฤษ 33.97 47.41 34.53 คณติ ศาสตร์ 28.69 28.38 31.93 วทิ ยาศาสตร์ 34.12 36.24 28.60 ซ่งึ จากการเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพการจัดการเรียนรจู้ ากผลสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 – 2564 สามารถนำเสนอในรูปของแผนภูมทิ ่ี 3 ดังน้ี แผนภมู ิที่ 3 แสดงการเปรียบเทยี บผลการประเมินคุณภาพการจดั การเรยี นรูจ้ ากผลสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ัตย์วทิ ยาคาร ตัง้ แต่ปีการศกึ ษา 2562 – 2564 60 50 40 30 20 10 0 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย ปกี ารศึกษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564
การประเมินคุณภาพภายใน 28 โรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตยว์ ทิ ยาคารดำเนินการตามแผนและมาตรฐานสถานศึกษาทกี่ ำหนดไวต้ าม การประกันคุณภาพภายใน โดยมีผลการประเมินคุณภาพภายในในรอบปที ี่ผา่ นมา ดงั นี้ 1. ระดับการศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก ดเี ย่ยี ม 1. มาตรฐานดา้ นคณุ ภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 เด็กมพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกาย 1.1 มนี ้ำหนกั สว่ นสูงเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 1.2 มีทกั ษะการเคลื่อนไหวตามวัย 1.3 มีสุขนิสัยในการดแู ลสขุ ภาพของตน 1.4 หลีกเล่ยี งต่อสภาวะทีเ่ ส่ยี งต่อโรค อุบตั ิเหตุ ภัย และ ส่ิงเสพติด มาตรฐานท่ี 2 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ 2.1 ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดตี อ่ ตนเอง 2.2 มคี วามม่ันใจและกลา้ แสดงออก 2.3 ควบคุมอารมณ์ตนเองไดเ้ หมาะสมกับวัย 2.4 ชนื่ ชมศิลปะ ดนตรี การเคล่ือนไหว และรักธรรมชาติ มาตรฐานท่ี 3 เด็กมีพฒั นาการด้านสังคม 3.1 มีวนิ ยั รับผิดชอบ เช่ือฟังคำสงั่ สอนของพอ่ แม่ ครู อาจารย์ 3.2 มคี วามซอ่ื สตั ย์สจุ รติ ช่วยเหลอื แบง่ ปนั 3.3 เลน่ และทำงานรว่ มกบั ผ้อู ื่นได้ 3.4 ประพฤตติ นตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาท่ีตนนับ ถือ มาตรฐานท่ี 4 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา 4.1 สนใจเรียนรูส้ ิ่งรอบตวั ซกั ถามอยา่ งต้งั ใจ และรกั การ เรยี นรู้ 4.2 มคี วามคดิ รวบยอดเก่ียวกับส่งิ ต่างๆ ท่ีเกิดจาก ประสบการณ์การเรียนรู้ 4.3 มีทักษะทางภาษาท่เี หมาะสมกบั วัย 4.4 มที ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์
29 ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก ดเี ยยี่ ม 4.5 มีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ 2. มาตรฐานด้านการจดั การศึกษา มาตรฐานท่ี 5 ครปู ฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่อี ย่างมี ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล 5.1 ครูเขา้ ใจปรชั ญา หลกั การ และธรรมชาตขิ องการจดั การศึกษาปฐมวัยและสามารถนำมาประยกุ ต์ใช้ในการจัด ประสบการณ์ 5.2 ครจู ัดทำแผนการจัดประสบการณท์ ่ีสอดคล้องกับ หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ความแตกต่าง ระหว่างบคุ คล 5.2 ครจู ัดทำแผนการจัดประสบการณท์ ่ีสอดคลอ้ งกับ หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั และสามารถจัดประสบการณ์ การเรียนรทู้ ่หี ลากหลาย สอดคล้องกบั ความแตกต่าง ระหว่างบคุ คล 5.3 ครูบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนที่สรา้ งวินัยเชิงบวก 5.4 ครูใช้สอื่ และเทคโนโลยเี หมาะ สอดคล้องกับพัฒนาการของ เด็ก 5.5 ครใู ช้เครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ พฒั นาการของเด็ก อย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพฒั นาการของเดก็ แกผ่ ปู้ กครอง 5.6 ครูวจิ ยั และพัฒนาการจัดการเรียนรทู้ ตี่ นรบั ผิดชอบ และใชผ้ ลในการปรบั การจัดประสบการณ์ 5.7 ครจู ดั สง่ิ แวดล้อมในเกิดการเรียนรไู้ ด้ตลอดเวลา 5.8 ครมู ปี ฏสิ มั พันธ์ท่ดี ีกบั เด็ก และผู้ปกครอง 5.9 ครูมีวฒุ ิและความรู้ความสามารถในด้านการศกึ ษา ปฐมวัย 5.10 ครูจดั ทำสารนิเทศและนำมาไตรต่ รองเพือ่ ใชป้ ระโยชนใ์ น การพัฒนาการเดก็ มาตรฐานท่ี 6 ผู้บริหารปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล 6.1 ผูบ้ รหิ ารเข้าใจปรัชญาและหลกั การของการจัดการศกึ ษา ปฐมวยั
30 ระดับคุณภาพ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก ดีเยยี่ ม 6.2 ผู้บรหิ ารมวี ิสัยทัศน์ ภาวะผนู้ ำ และความคิดรเิ ร่มิ ที่ เน้นการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 6.3 ผบู้ ริหารใชห้ ลักการบริหารแบบมสี ว่ นรว่ มและใช้ ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจยั เป็นฐานคิดทัง้ ด้าน วิชาการและการจัดการ 6.4 ผบู้ รหิ ารสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุ เป้าหมายตามแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา 6.5 ผู้บรหิ ารส่งเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรให้มี ประสทิ ธภิ าพ 6.6 ผบู้ ริหารให้คำแนะนำ คำปรกึ ษาทางวิชาการและเอา ใจใส่การจัดการศกึ ษาปฐมวยั เตม็ ศักยภาพและเต็มเวลา 6.7 เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจดั การศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานท่ี 7 แนวการจัดการศึกษา 7.1 มีหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษาและ นำสู่การปฏบิ ัติไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 7.2 มีระบบและกลไกใหผ้ ู้มีส่วนรว่ มทกุ ฝา่ ยตระหนักและ เขา้ ใจการจัดการศึกษาปฐมวยั 7.3 จัดกิจกรรมเสรมิ สร้างความตระหนักรู้และความ เข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวยั 7.4 สร้างการมสี ่วนรว่ มและแสวงหาความร่วมมือกบั ผู้ปกครอง ชุมชนและ ทอ้ งถ่ิน 7.5 จัดสิง่ อำนวยความสะดวกเพอื่ พฒั นาเด็กอย่าง ชดั เจน มาตรฐานท่ี 8 สถานศกึ ษามีการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง 8.1 กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา 8.2 จดั ทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาทีม่ ุ่งพัฒนาคณุ ภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 8.3 จดั ระบบสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบรหิ าร จัดการ 8.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนนิ งาน คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
31 ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดเี ยย่ี ม 8.5 นำผลการประเมินคณุ ภาพทงั้ ภายในและภายนอกไป ใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง 8.6 จัดทำรายงานประจำปีท่ีเปน็ รายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายใน 3. มาตรฐานท่ีดา้ นการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 9 สถานศึกษามกี ารสรา้ ง ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาเป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 9.1 เป็นแหล่งเรียนร้เู พ่อื พฒั นาการเรยี นรูข้ องเดก็ และ บคุ ลากรในสถานศกึ ษา 9.2 มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้รว่ มกันภายในสถานศกึ ษา ระหวา่ งสถานศกึ ษากับครอบครวั ชมุ ชน และองค์กรท่ี เก่ยี วข้อง 4. มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 10 การพัฒนาสถานศกึ ษาให้บรรลเุ ป้าหมาย ตามปรัชญา วิสยั ทัศน์ จุดเนน้ ของการศกึ ษาปฐมวัย 10.1 จดั โครงการ กจิ กรรมพฒั นาเด็กให้บรรลตุ าม เปา้ หมาย ปรัชญา วสิ ัยทัศน์และจุดเนน้ การจัดการศึกษา ปฐมวัยของสถานศึกษา 10.2 ผลการดำเนนิ งานบรรลตุ ามเปา้ หมาย 5. มาตรฐานด้านมาตรการสง่ เสรมิ มาตรฐานท่ี 11 การพฒั นาสถานศึกษาตามนโยบายและ แนวทางปฏริ ปู การศึกษา เพอื่ ยกระดับคณุ ภาพให้สงู ข้ึน 11.1 จดั โครงการ กจิ กรรมส่งเสรมิ สนบั สนุนตาม นโยบายเกย่ี วกับการจัดการศึกษาปฐมวยั 11.2 ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
2. ระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน 32 มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั คุณภาพ ดเี ยย่ี ม ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก มาตรฐานด้านคุณภาพผเู้ รียน มาตรฐานที่ 1 ผ้เู รียนมีสขุ ภาวะทดี่ ีและมสี ุนทรียภาพ 1.1 มีสุขนสิ ัยในการดแู ลสุขภาพและออกกำลงั กาย สมำ่ เสมอ 1.2 มนี ำ้ หนัก ส่วนสงู และมีสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์ ปอ้ งกันตนเองจากส่ิงเสพตดิ ให้โทษและหลีกเล่ียง สภาวะท่ีเสย่ี งต่อความรุนแรงโรคภยั อบุ ตั เิ หตุ และ ปัญหาทางเพศ 1.4 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความม่ันใจ กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม 1.5 มมี นษุ ยสัมพันธท์ ่ดี ีและให้เกียรติผอู้ ื่น สรา้ งผลงานจากการเข้ารว่ มกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กฬี า /นนั ทนาการ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ 2.1 มีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคต์ ามหลกั สตู ร 2.2 เอ้อื อาทรผ้อู ื่นและกตญั ญกู ตเวทีต่อผมู้ พี ระคุณ 2.3 ยอมรับความคิดและวฒั นธรรมทแี่ ตกต่าง 2.4 ตระหนัก รู้คณุ ค่า รว่ มอนรุ ักษแ์ ละพฒั นา สง่ิ แวดล้อม มาตรฐานท่ี 3 ผูเ้ รียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ดว้ ยตนเอง รกั การเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองอยา่ ง ต่อเนื่อง 3.1 มีนิสยั รักการอ่านและแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง จากหอ้ งสมดุ แหลง่ เรียนรู้ และส่อื ตา่ งๆ รอบตวั 3.2 มที ักษะในการอา่ น ฟงั ดู พดู เขยี น และต้งั คำถามเพอ่ื คน้ ควา้ หาความรเู้ พิม่ เตมิ 3.3 เรียนรู้รว่ มกนั เป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ เพ่ือการเรียนรูร้ ะหว่างกนั 3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรยี นร้แู ละนำเสนอผลงาน
33 ระดับคุณภาพ พอใช้ ดี ดีมาก มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปรับปรุง ดเี ยย่ี ม มาตรฐานท่ี 4 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคิดอย่างเป็น ระบบ คดิ สร้างสรรค์ ตัดสินใจ แกป้ ัญหาได้อยา่ งมสี ติ สม เหตผุ ล 4.1 สรปุ ความคิดจากเร่อื งทอี่ า่ น ฟงั และดู และ สอื่ สารโดยการพูดหรือเขยี นตามความคิดของตนเอง 4.2 นำเสนอวิธคี ิด วธิ แี กป้ ัญหาด้วยภาษาหรือ วิธีการของตนเอง 4.3 กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสนิ ใจแก้ปัญหา โดยมีเหตผุ ลประกอบ 4.4 มีความคิดริเร่ิม และสร้างสรรค์ผลงานดว้ ยความ ภาคภมู ิใจ มาตรฐานท่ี 5 ผเู้ รียนมคี วามรูแ้ ละทักษะทีจ่ ำเป็น ตามหลักสูตร 5.1 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นแต่ละกลุม่ สาระเป็นไป ตามเกณฑ์ 5.2 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลักสตู รเป็นไปตาม เกณฑ์ 5.3 ผลการประเมนิ การอ่านคดิ วิเคราะห์ และเขยี นเป็นไป ตามเกณฑ์ 5.4 ผลการทดสอบระดบั ชาติเปน็ ไปตามเกณฑ์ มาตรฐานท่ี 6 ผู้เรยี นมที ักษะในการทำงาน รกั การ ทำงาน สามารถทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ และมเี จตคติท่ี ดตี ่ออาชีพสุจรติ 6.1 วางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ 6.2 ทำงานอย่างมคี วามสขุ มุง่ มัน่ พัฒนางาน และ ภูมิใจในผลงานของตนเอง 6.3 ทำงานร่วมกบั ผอู้ นื่ ได้ 6.4 มีความรสู้ กึ ท่ีดตี ่ออาชีพสุจริตและหาความรู้ เกย่ี วกบั อาชีพทต่ี นสนใจ มาตรฐานดา้ นการจดั การศึกษา มาตรฐานท่ี 7 ครปู ฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าทีอ่ ยา่ ง มีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธิผล
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 34 ระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก 7.1 ครูมกี ารกำหนดเป้าหมายคณุ ภาพผู้เรียนทัง้ ด้าน ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ สมรรถนะ และ คณุ ลักษณะท่ี พึงประสงค์ 7.2 ครมู ีการวิเคราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ ขอ้ มลู ในการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนา ศกั ยภาพของผเู้ รียน 7.3 ครอู อกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความ แตกต่างระหวา่ งบุคคลและพฒั นาการทางสติปญั ญา 7.4 ครใู ช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมผนวกกับการนำ บริบทและภมู ปิ ัญญาของท้องถน่ิ มาบูรณาการในการจดั การ เรียนรู้ 7.5 ครูมีการวัดและประเมินผลท่มี ุง่ เนน้ การพัฒนาการ เรยี นรขู้ องผเู้ รียน ดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย 7.6 ครูให้คำแนะนำ คำปรึกษา และแกไ้ ขปัญหา ให้แก่ผู้เรยี นทัง้ ดา้ นการเรียนและคุณภาพชวี ติ ดว้ ย ความเสมอภาค 7.7 ครมู กี ารศกึ ษาวิจยั และพฒั นาการจดั การเรียนรู้ ในวชิ าท่ตี นรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรบั ปารสอน 7.8 ครปู ระพฤตปิ ฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างท่ีดีและเป็น สมาชกิ ที่ดีของสถานศกึ ษา 7.9 ครูจัดการเรยี นการสอนตามวิชาทไ่ี ด้รบั มอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ มาตรฐานที่ 8 ผบู้ รหิ ารปฏิบัตงิ านตามบทบาท หนา้ ที่อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล 8.1 ผู้บรหิ ารมวี สิ ัยทัศน์ ภาวะผนู้ ำ และความคิด ริเริ่มท่ีเนน้ การพัฒนาผู้เรยี น 8.2 ผบู้ ริหารใชห้ ลกั การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมและ ใช้ขอ้ มูลผลการประเมนิ หรอื ผลการวิจัย เปน็ ฐาน ความคดิ ท้ังดา้ นวิชาการและการจดั การ 8.3 ผู้บริหารสามารถบริหารจดั การ การศึกษาให้ บรรลุเปา้ หมายตามท่ีกำหนดไว้ในแผนปฏิบตั ิการ 8.4 ผบู้ รหิ ารสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพบุคลากรให้ พรอ้ มรับการกระจายอำนาจ
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 35 ระดับคุณภาพ ดเี ยี่ยม ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก 8.5 นกั เรียน ผ้ปู กครอง และชมุ ชนพึงพอใจผลการ บริหารการจดั การศกึ ษา 8.6 ผูบ้ ริหารให้คำแนะนำ คำปรกึ ษาทางวิชาการและ เอาใจใส่ การจดั การศึกษาเต็มศกั ยภาพและเต็มเวลา มาตรฐานท่ี 9 คณะกรรมการสถานศึกษาและ ผู้ปกครองชมุ ชน ปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ท่อี ย่างมี ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผล 9.1 คณะกรรมการสถานศกึ ษารแู้ ละปฏิบตั ิหน้าท่ี ตามท่ีระเบียบกำหนด 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษากำกบั ดูแล และ ขับเคล่อื นการดำเนินงานของสถานศึกษาใหบ้ รรลุผล ตามเปา้ หมาย 9.3 ผปู้ กครองและชุมชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการ พัฒนาสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 10 สถานศกึ ษามีการจดั หลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น อย่างรอบด้าน 10.1 สถานศกึ ษามหี ลักสูตรทีเ่ หมาะสมและ สอดคล้องกบั ทอ้ งถ่ิน 10.2 จดั รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ท่ีหลากหลายใหผ้ ู้เรยี นเลือก เรยี นตามความถนดั ความสามารถ และความสนใจ 10.3 จดั กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี นทส่ี ง่ เสรมิ และ ตอบสนองความตอ้ งการ ความสามารถ ความถนดั และ ความสนใจของผ้เู รียน 10.4 สนับสนนุ ใหค้ รจู ัดกระบวนการเรยี นรู้ ท่ใี ห้ ผเู้ รยี นได้ลงมอื ปฏิบตั จิ ริง จนสรุปความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง 10.5 นเิ ทศภายใน กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และ นำผลไปปรับปรุงการเรยี นการสอนอยา่ งสม่ำเสมอ 10.6 จดั ระบบดแู ลช่วยเหลือผเู้ รียนที่มี ประสิทธภิ าพและครอบคลุมถึงผเู้ รียนทกุ คน มาตรฐานที่ 11 สถานศกึ ษามีการจดั สภาพแวดล้อม และการบริการทส่ี ง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี นพฒั นาเตม็ ศักยภาพ 11.1 ห้องเรยี น ห้องปฏบิ ัติการ อาคารเรยี นม่นั คง สะอาดและปลอดภยั มสี ิ่งอำนวยความสะดวก
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 36 ระดับคณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดลอ้ มร่มร่ืน มแี หล่งเรียนรู้สำหรบั ผู้เรียน 11.2 จดั โครงการ กจิ กรรมที่สง่ เสริมสุขภาพอนามยั และความปลอดภยั ของผู้เรยี น 11.3 จัดห้องสมุดทใี่ ห้บริการสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศท่ีเอื้อใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรดู้ ้วยตนเองและหรอื เรียนร้แู บบมสี ่วนร่วม มาตรฐานที่ 12 สถานศกึ ษามีการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง 12.1 กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 12.2 จัดทำและดำเนินการตามแผนพฒั นาการจัด การศึกษาของสถานศกึ ษาที่มงุ่ พัฒนาคณุ ภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 12.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศ ในการบรหิ ารจัดการเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา 12.4 ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพภายใน ตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 12.5 นำผลการประเมนิ คณุ ภาพท้ังภายในและ ภายนอกไปใชว้ างแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนอ่ื ง 12.6 จัดทำรายงานประจำปที ่เี ปน็ รายงานประเมนิ คณุ ภาพภายใน มาตรฐานด้านการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 13 สถานศกึ ษามีการสรา้ ง ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรู้ 13.1 มีการสรา้ งและพฒั นาแหล่งเรียนรภู้ ายใน สถานศกึ ษาและใชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ เรยี นรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เพ่ือพัฒนาการ เรยี นร้ขู องผู้เรียน และบคุ ลากรของสถานศึกษา รวมทัง้ ผูเ้ ก่ียวขอ้ ง 13.2 มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ระหวา่ งบุคลากร ภายในสถานศกึ ษา ระหวา่ งสถานศกึ ษากับครอบครวั ชมุ ชน และองคก์ รท่เี กี่ยวขอ้ ง
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 37 ระดับคณุ ภาพ ดีเยี่ยม ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก มาตรฐานที่ 14 การพฒั นาสถานศกึ ษาให้บรรลุ เป้าหมายตามวสิ ัยทัศน์ ปรชั ญา และจุดเน้นท่ีกำหนด 14.1 จดั โครงการ กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนบรรลุ ตามเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ ปรชั ญา และจุดเนน้ ของ สถานศกึ ษา 14.2 ผลการดำเนินงานส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนบรรลุตาม เปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ ปรัชญา และจดุ เน้นของ สถานศกึ ษา มาตรฐานด้านมาตรการสง่ เสรมิ มาตรฐานท่ี 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาและส่งเสริม สถานศึกษาใหย้ กระดับคุณภาพสงู ข้นึ 15.1 จดั โครงการ กิจกรรมพเิ ศษ เพ่อื ตอบสนอง นโยบาย จดุ เนน้ ตามแนวทางปฏิรปู การศึกษา 15.2 ผลการดำเนินงานบรรลุเปา้ หมาย ขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ ภายใน สถานศกึ ษา สรุปสภาพปัญหา จดุ เดน่ จุดทค่ี วรพัฒนาในการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ❖ สภาพปญั หา สภาพปัญหาทีเ่ ปน็ อุปสรรคในการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา ปัจจัยที่ 1 ในดา้ นของสภาพอาคารเรียน ห้องเรยี นท่ียงั ไมพ่ ร้อม และไมเ่ พียงพอ เนื่องจากอยู่ในช่วง กำลงั กอ่ สรา้ งอาคารเรยี น ทำให้หอ้ งพเิ ศษต่าง ๆ ทัง้ ห้องวทิ ยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งพัฒนาด้านภาษา ฯลฯ ทใี่ ชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนเพ่อื พัฒนาศักยภาพนักเรยี นขาดความพรอ้ ม ปัจจัยที่ 2 ในด้านของอปุ กรณ์การเรียนการสอน สื่อ/นวัตกรรม ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนท่ไี ม่ พรอ้ มและไมเ่ พยี งพอ ปัจจยั ที่ 3 ในด้านของบคุ ลากร ยังไม่เพยี งพอกับจำนวนนกั เรยี น และขาดแคลนครใู นเอกเฉพาะทำให้ การจัดการเรยี นการสอนยังขาดความคล่องตวั และความเชี่ยวชาญ
❖ จุดเดน่ 38 จุดเดน่ ในการจดั การศึกษาของสถานศึกษา คอื 1. สถานศึกษามีการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของโรงเรียน ทำให้การวางแผนพัฒนา การกำหนด วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมายเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการมีส่วนร่วมของบุคลากร ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน กระบวนการพัฒนาสถานศึกษาในทกุ ดา้ น 2. ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถ มีความมุ่งมั่น มีวิสัยทัศน์ในการบริหารจัดการได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 3. ครแู ละบุคลากรมีความรคู้ วามสามารถในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และแสวงหาความรู้อย่างตอ่ เน่อื ง ทำให้มีประสิทธภิ าพในการทำงานใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายท่ตี ั้งไว้ 4. ผูเ้ รียนมีสุขภาพกายสขุ ภาพจิตท่ีดี มคี วามต้ังใจและความพยายามในการเรยี นรู้ดีและเป็นไปอย่าง ตอ่ เนอื่ งสม่ำเสมอ ❖ จดุ ควรพฒั นา จุดควรพฒั นาในการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา คอื การจัดเตรียม จดั หาและอำนวยความสะดวกใน เรือ่ งของห้องเรยี น อุปกรณก์ ารเรียนรู้ รวมถงึ สื่อ นวัตกรรม ที่นำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนร้ขู องนักเรียน ❖ ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศกึ ษาในอนาคต 1. ผู้บรหิ ารควรใช้ภาวะผนู้ ำในการสร้างเสริม/สนบั สนนุ และนำโอกาสที่มี เชน่ มีแหลง่ เรยี นรู้และภูมิ ปัญญาท้องถิ่นทีห่ ลากหลายมาใช้ในการจดั การเรียนการสอนอย่างตอ่ เนื่อง โดยขอความร่วมมือจากแหล่งภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่นิ และชุมชนให้เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการพัฒนาผเู้ รยี นอย่างสม่ำเสมอ 2. สถานศึกษาสามารถวางแผนพฒั นาจดุ เดน่ ของผู้เรียน ด้านสุขนิสยั สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี และดา้ นความสนใจทางดา้ นกีฬา และนนั ทนาการให้มีการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื ตลอดไป จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพัฒนา เงื่อนไขท่ที ำใหส้ ำเร็จ ระดบั การศึกษาปฐมวัย ❖ จุดเด่น 1. ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีความสนใจทางด้านศิลปะ ดนตรีและการ เคลือ่ นไหว มีทกั ษะพื้นฐานตามพัฒนาการทกุ ด้าน 2. ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน มีการแสวงหาความรู้ และเทคนิควธิ ีการใหม่ๆเปน็ ประจำ 3. ผ้บู ริหารมวี ิสัยทัศน์ มภี าวะผ้นู ำ มคี วามสามารถในการบริหารจดั การเปน็ ที่ยอมรับขององคก์ รส่วน ทอ้ งถ่ิน ชมุ ชน และผปู้ กครอง ผ้บู ริหารสามารถสร้างความสมั พันธ์ที่ดีกับชุมชน มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ของสถานศึกษา ต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทำให้ชุมชน องค์กรท้องถิ่น ตลอดจนผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมใน การพฒั นาสถานศกึ ษาเป็นอย่างดี
❖ จดุ ท่ีควรพัฒนา 39 1. ผูเ้ รียนพัฒนามารยาทในการรบั ประทานอาหาร ดา้ นการสนใจใฝร่ ู้ ดา้ นรักการอ่าน และการรู้จัก แก้ปัญหาใหเ้ หมาะสมกับวัย 2. ครมู จี ำนวนไม่ครบตามเกณฑ์ กลา่ วคือ มคี รูไม่ครบช้นั อตั ราสว่ นครตู อ่ ผูเ้ รียน ผเู้ รียนตอ่ หอ้ งเรียน ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนด และพบวา่ ครบู างสว่ นยงั ขาดประสบการณ์ในการจัดประสบการณ์การ เรียนรโู้ ดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั 3. สถานศกึ ษายังจดั บรกิ ารส่อื เทคโนโลยสี ำหรบั เดก็ ปฐมวยั ไม่เพยี งพอและไมเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ❖ จุดเดน่ 1. ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมด้านกีฬา/ นันทนาการ 2. ครูมีความมุ่งมั่น ขยัน อดทนในการพัฒนาผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม และสามารถปฏิบัติงาน ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควธิ ีการใหม่ๆเปน็ ประจำ 3. ผูบ้ รหิ ารมวี สิ ัยทศั น์ มีภาวะผู้นำ มคี วามสามารถในการบรกิ ารการจัดการเปน็ ที่ยอมรับขององค์กร ท้องถิน่ ชุมชน และผปู้ กครอง ผบู้ ริหารสามารถสรา้ งความสัมพันธ์ท่ีดีกับชุมชน มกี ารประชาสัมพันธ์กิจกรรม ของสถานศึกษา ต่อชมุ ชนอย่างต่อเน่อื ง ทำให้ชุมชน องคก์ รทอ้ งถน่ิ ตลอดจนผู้ปกครองเข้ามามบี ทบาทและมี สว่ นร่วมในการพฒั นาสถานศึกษา ❖ จดุ ทค่ี วรพฒั นา 1. ผู้เรียนบางส่วนยังไม่เห็นความสำคัญของการประหยัด และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ขาดทักษะ ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ การสรุปความคิดอย่างเปน็ ระบบและมีการคิดแบบองค์รวม มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นคอ่ นข้างตำ่ ทกุ กลุ่มสาระ 2. ครูบางสว่ นขาดทักษะในการจัดการเรยี นการสอนแบบเน้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั 3. สถานศึกษามสี ื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศค่อนข้างน้อย และมีการบริการเทคโนโลยยี ังไม่เอือ้ ต่อการ เรียนรู้ เช่น คอมพิวเตอร์ และอินเตอรเ์ นต็ ไม่เพียงพอกบั จำนวนผ้เู รยี น ❖ โอกาส 1. ทีต่ ั้งของสถานศึกษาอยู่ตดิ ถนนเลียบคลองรงั สติ ใกลส้ ถานตี ำรวจ โรงพยาบาล การคมนาคม สะดวก 2. ผปู้ กครองมีความสนใจและใหค้ วามสำคญั กบั การศกึ ษา 3. สถานศึกษามีแหลง่ เรียนรู้ มภี ูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นท่หี ลากหลาย เช่น คลองรงั สติ พิพิธภัณฑ์ วทิ ยาศาสตร์ พิพิธภณั ฑก์ ารเกษตร
❖ อปุ สรรค 40 1. ผู้ปกครอง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง มีรายได้น้อย และมีการย้ายที่อยู่เป็นประจำ ทำให้มี ปญั หาในการพัฒนาผเู้ รยี น 2. ด้านผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ซึ่งดำเนินการได้ไมม่ ากนกั และจากการนิเทศติดตามอยา่ งเป็นระบบ ควรได้รับการพัฒนาโดยการ ให้ครูเขียนแผนการสอนที่เน้นผู้เรยี น เป็นสำคัญและนำแผนการเรียนการสอนไปใช้จริง โดยเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนรว่ ม ปฏิบัติจริงทุกขัน้ ตอน การจัด กิจกรรมให้ผู้เรยี นไดเ้ ลอื กแสวงหาความรูจ้ ากแหลง่ เรียนรตู้ ่างๆ 3. ด้านครูผู้สอน การส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามความถนัด ความสนใจ การพัฒนาผู้เรียนให้เต็ม ศักยภาพ การนำผลการประเมินมาพัฒนาแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม การสอนแบบบูรณาการเพื่อแก้ไข ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรครู หางบประมาณจ้างครูที่ตรงกับความขาดแคลนมาสอนเป็นจำนวน 3 ราย และเชิญวิทยากรภายนอกมาช่วยสอนในวิชา การงานอาชีพ (งานประดิษฐ์ดอกไม้, ใบตอง) กลุ่มสาระ ศิลปศึกษา (วชิ าดนตรี) และพระวัดอยั ยิการาม มาชว่ ยสอนในวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (พระพุทธศาสนา) 4. ด้านผู้บริหาร การมีส่วนร่วมในการทำแผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน การพัฒนาครูให้เขียน แผนการสอนโดยเน้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั นำผลการประเมินมาพัฒนาโดยการวจิ ัยในชน้ั เรียน การพฒั นาหลกั สตู ร ให้สอดคล้องกบั ชีวิตประจำวนั ให้เปน็ รปู ธรรม และมกี ารระบบอินเตอรเ์ น็ตให้นักเรยี นศกึ ษาคน้ คว้า ❖ ปัญหาและอปุ สรรคในการจดั การศึกษา 1. ปัญหาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรยี นและชมุ ชนทอ้ งถิน่ 2. ปัญหาน้ำระบายช้า เนื่องจากโรงเรียนมีระบบระบายนำ้ บางส่วนไม่สามารถระบายน้ำได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ทำใหเ้ กดิ นำ้ ท่วมขงั บางพืน้ ที่ ซงึ่ อาจทำให้เกิดโรคอนั เนอื่ งมาจากน้ำเนา่ เสยี ได้ 3. ปัญหาระบบการจราจรหน้าโรงเรียนยังไมเ่ ปน็ ระบบท่ีสมบูรณ์ เน่อื งจากโรงเรยี นมพี ื้นท่ีจำกดั 4. ปัญหาทางสงั คม สภาพแวดล้อมทางสงั คมของชุมชนในเขตบริการของโรงเรียนสว่ นใหญ่เป็นเขต ชุมชนเมือง สิ่งแวดล้อมรอบตัวนักเรียนมีสภาพเป็นปัญหาทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม โดยเฉพาะปัญหายาเสพติด โรงเรียนต้องเร่งสร้างเสริมการเรียนรูเ้ ป็นเกราะป้องกัน ให้ตระหนกั ถึงพิษภัยโดยเรง่ ดว่ น ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม โรงเรียน ชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบสามเม่ือ วันที่ 8 - 10 สิงหาคม 2554 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษา มีการประเมนิ 3 กลุ่มตัว บ่งช้ี คือ กลุม่ ตัวบ่งชี้พ้ืนฐาน กลมุ่ ตัวบง่ ชีอ้ ตั ลกั ษณ์ และกลมุ่ ตวั บง่ ชี้มาตรการส่งเสริม ซึ่งสรุปผลการประเมิน โดยภาพรวมตามตัวบง่ ชี้ เป็นตารางดงั ตอ่ ไปนี้
41 ระดบั การศึกษาปฐมวัย ตวั บ่งชี้ ระดับคุณภาพ ตวั บง่ ช้ีพืน้ ฐาน ต้อง ตอ้ ง พอใช้ ดี ดีมาก ตวั บ่งชที้ ่ี 1 เด็กมพี ฒั นาการด้านรา่ งกายสมวยั ปรบั ปรงุ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์และจติ ใจสมวัย ปรับปรงุ ✓ ✓ ตวั บ่งชี้ท่ี 3 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสงั คมสมวยั เรง่ ดว่ น ✓ ✓ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 4 เดก็ มพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญาสมวยั ✓ ตวั บ่งชี้ท่ี 5 เดก็ มคี วามพร้อมศกึ ษาตอ่ ในขน้ั ต่อไป ✓ ตัวบง่ ช้ีที่ 6 ประสิทธิผลการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ่ี เน้นเดก็ เปน็ สำคญั ✓ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและการ ✓ พฒั นาสถานศกึ ษา ตวั บ่งชี้ที่ 8 ประสทิ ธิผลของระบบประกนั คณุ ภาพภายใน ✓ กลมุ่ ตัวบง่ ชี้อัตลักษณ์ ✓ ตัวบง่ ชี้ที่ 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน/ วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และวตั ถุประสงค์ของการจัดต้งั ✓ สถานศึกษา ✓ ตัวบ่งช้ีที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจดุ เด่นทีส่ ง่ ผล สะท้อนเปน็ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา กลมุ่ ตัวบ่งชม้ี าตรการส่งเสรมิ ตัวบ่งชี้ท่ี 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพอ่ื ส่งเสริมบทบาทของสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ท่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศึกษาเพ่ือ ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษา มาตรฐาน และพฒั นาสู่ความ เป็นเลิศทีส่ อดคลอ้ งกับแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา สรุปผลการประเมินในระดับปฐมวยั มีผลการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดมี าก โดยมี คา่ เฉลี่ย 90.86 มีผลการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพ รับรอง ไม่รับรอง
42 ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน: ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ตัวบ่งช้ี ระดับคณุ ภาพ กลุม่ ตัวบ่งชพ้ี ้นื ฐาน ตอ้ ง ตอ้ ง พอใช้ ดี ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ี่ 1 ผูเ้ รยี นมีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี ปรบั ปรงุ ✓ ✓ ตัวบ่งชีท้ ี่ 2 ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมที่ ปรับปรงุ ✓ พงึ ประสงค์ เร่งดว่ น ✓ ✓ ตัวบ่งชท้ี ี่ 3 ผเู้ รียนมคี วามใฝ่รแู้ ละเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง ✓ ✓ ตวั บ่งชี้ท่ี 4 ผู้เรียนคดิ ปน็ ทำเป็น ✓ ✓ ตวั บ่งชท้ี ่ี 5 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รยี น ✓ ✓ ตวั บง่ ชี้ที่ 6 ประสทิ ธิผลการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้น ✓ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ✓ ตวั บ่งชี้ท่ี 7 ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การและ การพฒั นาสถานศึกษา ตัวบ่งชท้ี ่ี 8 พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายใน โดยสถานศกึ ษาและตน้ สงั กัด กลุม่ ตวั บ่งชี้อัตลักษณ์ ตวั บง่ ช้ที ี่ 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามปรชั ญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ และวัตถปุ ระสงคข์ องการ จดั ตงั้ สถานศึกษา ตัวบง่ ชท้ี ี่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจดุ เด่นท่ี สง่ ผลสะทอ้ นเปน็ เอกลักษณ์ ของสถานศกึ ษา กลมุ่ ตัวบง่ ชมี้ าตรการสง่ เสรมิ ตัวบ่งชท้ี ่ี 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพิเศษเพื่อ ส่งเสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา ตวั บ่งชท้ี ่ี 12 ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศึกษาเพื่อ ยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐาน และพฒั นาสู่ความ เป็นเลิศท่สี อดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏริ ูปการศึกษา เฉล่ียรวม สรปุ ผลการประเมนิ ในระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มีผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ดี โดยมี คา่ เฉล่ีย 80.59 มีผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ รบั รอง ไม่รบั รอง
ขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ ภายนอก 43 สถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั สถานศึกษา ❖ จุดเด่น ➢ มาตรฐานด้านผลการจัดการศกึ ษา - เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ และจิตใจสมวัย มีความพร้อมศึกษาต่อในข้ัน ต่อไปมีผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรชั ญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของ การจัดต้ังสถานศกึ ษา ➢ มาตรฐานดา้ นการบริหารจัดการศึกษา - สถานศึกษามีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและ พัฒนาสู่ความเปน็ เลิศ ทีส่ อดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรปู การศกึ ษาและประสิทธิภาพของการ บริหารจดั การและการพัฒนาสถานศกึ ษา ➢ มาตรฐานดา้ นการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ - ประสิทธผิ ลของการจดั ประสบการณ์การเรยี นรูท้ เ่ี นน้ เด็กเปน็ สำคัญ ➢ มาตรฐานดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน - สถานศึกษามปี ระสิทธผิ ลของระบบประกันคณุ ภาพในจากต้นสังกัดและการประเมินตนเองใน ระดบั ดีมาก เนอ่ื งจากมีการนเิ ทศ ติดตาม จากหน่วยงานตันสังกัดและผู้บรหิ ารโรงเรียน ❖ จุดควรพฒั นา ➢ มาตรฐานด้านผลการจัดการศึกษา - เด็กไม่ไดร้ บั การส่งเสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์จากกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เชน่ วาด ปั้น ร้อย ลกู ปดั ฉีก ตัด ปะ เล่นบลอ็ ก เปน็ ต้น ➢ มาตรฐานดา้ นการบรหิ ารจดั การศกึ ษา - อัตราส่วนจำนวนครูต่อเดก็ และจำนวนของเลน่ เคร่ืองใช้ของเด็กมจี ำนวนไมเ่ พียงพอ ➢ มาตรฐานดา้ นการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ - ครูขาดการจัดกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ให้กับผู้เรียน เช่น วาดภาพ การปั้น ร้อย ลกู ปัดหลากสี - ครูขาดการประเมินพฒั นาผเู้ รยี นทีห่ ลากหลาย
44 ขอ้ เสนอแนะเพ่อื พฒั นามาตรฐานคณุ ภาพศึกษาตามมาตรฐานกฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ 2553 สถานศึกษา ➢ มาตรฐานดา้ นผลการจัดการศกึ ษา - เด็กควรได้รับการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์จากกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เช่น ปั้น วาด สี น้ำ รอ้ ยลูกปัด ตัดปะ เล่นบล็อก พลาสตกิ สรา้ งสรรค์ และมมุ ประสบการณ์ตา่ งๆ ตามเวลาท่ี หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนด ➢ มาตรฐานดา้ นการบริหารจดั การศึกษา - สถานศึกษาควรจัดหาอัตรากำลังครู ให้มีจำนวนครูต่อนักเรียนใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยขอสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดหรือเทศบาลตำบลประชาธิปัตย์หรือองค์กรการ บริหารส่วนจังหวัดปทุมธานีและควรจดั สรรงบประมาณในการจัดซื้อของเล่นเด็กและของใช้ ใหเ้ พียงพอต่อเด็ก ➢ มาตรฐานดา้ นการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั - ครูควรพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคด์ ว้ ยการใหเ้ ดก็ ทำกิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ โดยเฉพาะสร้าง ภาพอิสระในกระดาษเปล่า จากสีน้ำ สีเทียน งานปั้น ร้อยลูกปัดหลากสีและได้มีโอกาสเลน่ ตามมมุ กบั ไมบ้ ลอ็ ก พลาสติกสร้างสรรค์ และมุมประสบการณต์ า่ ง ๆ - ครูควรประเมินพัฒนาการเด็กให้หลากหลายเพิ่มเติมจากเดิม เช่น มีแบบบันทึกพฤติกรรม แบบบันทกึ ประสบการณส์ ำคญั และแฟม้ สะสมงาน ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน สถานศึกษา ❖ จดุ เดน่ ➢ มาตรฐานด้านผลการจดั การศึกษา - นักเรียนได้เรยี นรวู้ ิชาชพี เพอ่ื พฒั นาเป็นอาชีพในอนาคต มกี ารพฒั นาการดา้ นการแสดงดนตรี ไทย นาฎศิลป์ มีโอกาlร่วมงานแสดงในระดบั เขต ภาคและประเทศ นักเรียนมีความกตัญญู ช่วยเหลือครอบครัว แบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายดว้ ยการทำงานพิเศษนอกเวลาเรียน สถานศึกษา มีจุดเด่น จุดเน้นในเร่ืองยึดหลักคุณธรรม สำนึกความเป็นไทย และมีมาตรการส่งเสริม โครงการพเิ ศษในการแก้ปญั หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนค่อนขา้ งต่ำ แก้ปัญหาสุ่มเสีย่ งต่อยา เสพติด การขาดที่พึงยึดเหนี่ยวจิตใจจากครอบครัวแตกแยกและผู้ปกครองไม่มีเวลาให้ นกั เรียน รวมทงั้ การอนุรกั ษ์ดนตรไี ทย ➢ มาตรฐานด้านการบริหารจัดการศึกษา - สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการที่สามารถครอบคลุมภาระงานครบถ้วนทัง้ ด้านงานวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบรหิ ารงานบุคคล และงานบรหิ ารทัว่ ไป โดยมี ส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เข้มแข็ง รวมทั้งสถานศึกษาได้กำหนดมาตรการ สง่ เสรมิ เพ่อื รักษาระดบั คุณภาพและสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศของสถานศึกษา
➢ มาตรฐานดา้ นการจัดการเรยี นการสอนท45่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั - ครผู ูส้ อนได้รับการพฒั นาตนเองมากกวา่ 20 ชั่วโมงตอ่ ปี ทุกปกี ารศกึ ษาและมคี วามสามารถ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ➢ มาตรฐานดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน - สถานศึกษามีผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในมีคุณภาพดีมาก เนื่องจากได้รับ การนเิ ทศติดตามจากหน่วยงานตน้ สังกัด และผบู้ รหิ ารสถานศึกษาอย่างตอ่ เนอื่ ง ❖ จุดควรพฒั นา ➢ มาตรฐานดา้ นผลการจัดการศกึ ษา - นักเรียนอยู่จดุ เสี่ยงต่อสภาพแวดล้อมท่ีมีสิ่งเสพติด มีปัญหาติดเกมคอมพวิ เตอร์จำนวนมาก จน ขาดเรียน เริ่มพบปัญหาอ้วน 10 เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทั้งหมด นักเรียนทานอาหาร กลางวนั ซำ้ หลายวัน สว่ นใหญเ่ ดนิ ลงจากอาคารเรียนไปโรงอาหาร เข้าหอ้ งน้ำ วิ่งเลน่ โดยไม่ ใส่รองเท้า นักเรียนมสี ่วนรว่ มในห้องเรียนนอ้ ย ครูส่วนใหญ่สอนผ่านแบบฝึกหัด ควรพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นจากผลการสอบ O-NET ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ➢ มาตรฐานด้านการบรหิ ารจัดการศกึ ษา - ครขู าดการนำระบบสอื่ เทคโนโลยี ICT มาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ข้อเสนอแนะเพ่อื พฒั นามาตรฐานคุณภาพศกึ ษาตามมาตรฐานกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ 2553 สถานศกึ ษา ➢ มาตรฐานดา้ นผลการจัดการศกึ ษา - ครูควรอธิบายความสำคญั ของการสอบ O-NET และให้นักเรียนตระหนักถงึ ความสำคัญของ ทกุ กลมุ่ สาระวิชา และสอดแทรกแนวข้อสอบ O-NET ในทุกกลมุ่ สาระ ต้งั แต่ชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 4 เพื่อให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ มีความเคยชินและได้ทดลองทำตัวอย่างแนวข้อสอบที่ หลากหลายสภานศึกษาควรดูแลโภชนาการของผู้เรียน การทำอาหารของแม่ครัวให้ครบ 5 หมู่และหลากหลายต่อวัน ครูผู้ดูแลเวรโรงอาหาร ควรดูแลระเบียนการเข้าแถว การทาน อาหารให้หมดของผู้เรียนและสถานศึกษาควรทำกิจกรรมสลัดพุงที่ทำอยู่แล้วอย่างต่อเน่อื ง สมำ่ เสมอ ครูควรดูแลความสะอาด สขุ นสิ ัยของผ้เู รียนสถานศึกษาควรขอความร่วมมือครูทุก คนทมี่ หี อ้ งพกั ครู และสอนใกล้จุดลับตา เอาใจใส่นักเรียนทกุ ระดับชั้น แจ้งฝ่ายปกครองเมื่อ พบผู้เรียนไม่เข้าห้องเรียน และจับกลุ่มมั่วสุม สถานศึกษาควรเคร่งครัดเรื่องระเบียบและ บทลงโทษ เพือ่ ไมใ่ หผ้ ู้เรียนประพฤติผดิ ซำ้ และไม่เป็นแบบอย่างกบั ผู้เรยี นท่ียงั ไม่เคยทำผดิ ➢ มาตรฐานด้านการบริหารจดั การศึกษา - ครคู วรนำระบบสือ่ เทคโนโลยี ICT มาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหค้ รอบคลุมทุก ชัน้ เรียน ทุกสาระการเรียนรู้ ซงึ่ จะทำให้ผู้เรยี นสามารถเรียนร้ผู า่ นสือ่ เทคโนโลยี
46 งานบรหิ ารบคุ คล โรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ตั ยว์ ทิ ยาคารสนบั สนนุ ใหค้ รูเข้าอบรมตามท่ีหนว่ ยงานราชการหรือหน่วยงาน อื่นจดั อย่างนอ้ ย คนละ 20 ชม./ปี เชญิ วทิ ยากรให้ความรู้ภายในโรงเรยี น ภาคเรียนละอย่างน้อย 1 คร้ัง จัด สวสั ดิการ ส่งเสริมสขุ ภาพ สร้างขวญั และกำลงั ใจแก่บุคลากรในสถานศึกษาตลอดปีการศกึ ษา ประเมินผลการ ปฏิบัติงานปีละ 2 ครั้ง ควบคุมกำกับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการโดยเคร่งครัด ตลอดปีการศึกษา มีการกระจายอำนาจโดยมอบหมายงานให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และ ส่งเสริมใหบ้ ุคลากรทุกคนมคี วามกา้ วหนา้ ทางวิทยฐานะ
ตารางท่ี 4 ข้าราชการครูและพนกั งานราชการ 4 ลำดับ คำนำหน้า ช่ือ นามสกลุ ตำแหน่ง สาขาวิชาเอ ท่ี ชื่อ ป.ตรี ภัทรโสตถิ ผอ./คศ.3 1 นางสาว กนั ยาภัทร เวยี งจนั ทร์ รองผอ./คศ.3 สังคมศึกษา 2 นาง วีรวัลย์ เอกองั กฤษ 3 นาง สุมนา นอ้ ยวรรณะ รองผอ./คศ.2 ภาษาไทย 4 นางสาว จนั ทมิ า อดทน รองผอ./คศ.2 พลศกึ ษา 5 นางสาว วิชุตา บณุ ยะตลุ า ครชู ำนาญการ ภาษาองั กฤษ นนท์ 6 นาย ราชินทร์ ศริ ิผลา ครชู ำนาญการ พลศึกษา พิเศษ 7 นาง กิตติมา ศรีพรหมมา ครูชำนาญการ ปฐมวยั 1 พิเศษ 8 นางสาว ฤดี เชยเดช ครชู ำนาญการ การประถมศกึ 9 นางสาว สริ ิรตั น์ สังสุทธิ ครชู ำนาญการ ภาษาอังกฤษ 10 นาย ธชั ยพงศ์ ปาละหงษา ครูชำนาญการ วิทยาการ พิเศษ คอมพิวเตอ 11 นาง พชั ราภรณ์ ระว้า ครชู ำนาญการ วทิ ยาศาตร์ทวั่ พเิ ศษ 12 นาย ถวัลย์ ประวนั เณ ครชู ำนาญการ ภาษาอังกฤษ
47 อก จบปริญญาโท ประจำกลุ่มสาระ ความถนัด า บริหารการศึกษา ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน ษ บริหารการศึกษา รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น เทคโนโลยีการ รองผู้อำนวยการโรงเรียน บรหิ ารการศกึ ษา บรหิ ารการศกึ ษา รองผู้อำนวยการโรงเรียน ษ- ภาษาตา่ งประเทศ ภาษาอังกฤษ บรหิ ารการศกึ ษา สุขศึกษาและพลศกึ ษา พลศึกษา ปฐมวัย รัฐประสาน การเรยี นรปู้ ฐมวยั ศิลปะ ภาษาองั กฤษ ศาสตร์ ศิลปะ วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาศาตร์ทว่ั ไป กษา หลกั สตู รและการ ภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษ สอน วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ษ บรหิ ารการศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อร์ - วไป บรหิ ารการศึกษา ภาษาต่างประเทศ ษ-
ลำดับ คำนำหน้า ชือ่ นามสกลุ ตำแหน่ง สาขาวิชาเ4อ ที่ ชื่อ จาตรุ นต์ ป.ตรี 13 นาย แกว้ ประพนั ธ์ ครชู ำนาญการ คณิตศาสตร 14 นางสาว อุไรวรรณ นอ้ ยมาลา ครชู ำนาญการ สขุ ศกึ ษา 15 นางสาว แคทธียา ตง้ั พฒั นธนา ครูชำนาญการ คณิตศาสตร 16 นาง เนตรชนก ยอดเชียงคำ ครูชำนาญการ วิทยาศาสต ตราชู 17 นางสาว สมฤดี ลามทุม ครชู ำนาญการ ศิลปกรรม อภยั ภกั ด์ิ ครชู ำนาญการ (ดนตรีไทย) 18 นางสาว วภิ ารตั น์ ครชู ำนาญการ วทิ ยาศาสต โชติณชิ กลุ ครชู ำนาญการ 19 นางสาว เพชรรัตน์ คำทอน ทว่ั ไป คอมพิวเตอ 20 นางสาว ณัฏฐนชิ 21 นางสาว ร่งุ ทพิ ย์ ศกึ ษา ภาษาไทย ครชู ำนาญการ การประถมศึก 22 นางสาว ทิพวรรณ การสมวรรณ์ ครูชำนาญการ สงั คมศึกษา 23 นางสาว ฤทยั รัตน์ ผลพิกลุ ครูชำนาญการ วิทยาศาสต 24 นางสาว มนัสนนั ท์ สรุ ินทร์ ครชู ำนาญการ การประถมศึก 25 นางสาว วนั เพญ็ แสนงาม ครูชำนาญการ ภาษาอังกฤษ
4อ8ก จบปริญญาโท ประจำกลมุ่ สาระ ความถนัด ร์ การสอนคณติ คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ สุขศึกษา เอกการ สุขศึกษาและพลศึกษา คณิตศาสตร์ ประถมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ร์ การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ ศลิ ปะ และเทคโนโลยี ตร์ หลักสูตรและการ วิทยาศาสตรท์ วั่ ไป สอน ศลิ ปะ คอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา ม บรหิ ารการศึกษา วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย ) และเทคโนโลยี คณติ ศาตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ตร์ บรหิ ารการศึกษา และเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ อร์ บริหารการศกึ ษา ภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ บริหารการศกึ ษา คณติ ศาตร์ กษา บรหิ ารการศึกษา สงั คมศึกษา ศาสนา า บริหารการศึกษา และวัฒนธรรม วทิ ยาศาสตร์ ตร์ บริหารการศกึ ษา และเทคโนโลยี ภาษาไทย กษา บรหิ ารการศกึ ษา ษ บริหารการศึกษา ภาษาต่างประเทศ
ลำดับ คำนำหน้า ชอื่ นามสกุล ตำแหนง่ สาขาวชิ าเ4อ ท่ี ชอ่ื ศรสี วย ป.ตรี พรชบุ 26 นาย เกินศักด์ิ ขำผวิ พรรณ ครชู ำนาญการ การประถมศึก ผิวอ่อน 27 นางสาว ปัญสริ ภิ ัทร พึ่งสว่าง ครูชำนาญการ รฐั ศาสตร์ แสงทรพั ย์ 28 นางสาว จริ าพร กลิน่ จนั ทร์ ครู ปฐมวัย 2 29 นาย วรพงศ์ ช่ืนเจรญิ บุญทนั ครู ดนตรไี ทย 30 นางสาว สวรส ไชยมงคล ครู วิทยาการ คอมพวิ เตอ 31 นางสาว ยคุ ลธร ครู การงานอาช 32 นางสาว สริ ริ ตั น์ 33 นางสาว วณิ ุรา ครู การงานอาช ครู ภาษาอังกฤษ 34 นางสาว จันทรจ์ ริ า ครู การประถมศึก 7 35 นางสาว จริ ะประภา ครู สังคมศกึ ษา 36 นาย วชริ ุณกรณ์ กมุทชาติ ครู การประถมศกึ 8 37 นางสาว บุปผฌา เจรญิ ทรพั ยานุ ครู ปฐมวัย 3 ภาพ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115