Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SOLO22-123_compressed

SOLO22-123_compressed

Published by Nithipon Thimasan, 2022-01-17 12:50:11

Description: SOLO22-123_compressed

Search

Read the Text Version

สั่งสม สืบสาน สรา้ งสรรค์ พระพิฆเนศน�ำ ใจจุดประกายศิลปนิ   ถิ่นแคว้นแดนสถาน ทิพย์วิมานองค์พิฆเนศ  ลูกหลานจากทุกถิ่นเขต ขอน้อมเกศฝากเปน็ ศิษย์ยา  จะตั้งใจ ใฝ่ดี สามคั คี กนั ทุกทัว่ หน้า  มีน้�ำ ใจใสเยน็ ศรัทธา น้อมบชู าคณุ ครอู าจารย์  อ้าองค์พระพิฆเนศนี้ ศูนย์รวมฤดีเป็นศรีสง่า  โปรดประทานแผ่พระเมตตา ประสิทธิว์ ิชาสร้างงานสานใจ  ศิษย์ขอบชู าเหล่าคณาอาจารย์  ผู้ประทานวิทยาและกําลงั ใจ สมานไมตรี  น้องพี่ร่วมใจ  มอบจิตถวาย หลอมเทียนแห่งใจ เป็นเทียนชัยนำ�ผองเรา  ก่อเกียรติก้องไกลศิลปกรรม ณ มหาสารคาม  1

สารจากคณบดี คณะศิลปกรรมศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมศาสตร์ “ศลิ ปนพิ นธท์ างศลิ ปะการแสดงครง้ั ท่ี ๒๒” ประจาํ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ เปน็ กจิ กรรมสาํ คญั สงู สดุ ในการเรยี นการสอนของหลกั สตู รศลิ ปกรรมศาสตรบณั ฑติ ภาควชิ าศลิ ปะการแสดง คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ และวัฒนธรรมศาสตร์ ที่สะท้อนถึงพัฒนาการอย่างประสบความสาํ เร็จมาถึง ครั้งที่ ๒๒ ประการสาํ คัญ ศิลปนิพนธ์ทางด้านศิลปะการแสดงแต่ละครั้งทีผ่ ่านมาได้สร้างคณุ ปู การต่อวงการศิลปะการแสดงในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนืออย่างมีนยั สาํ คญั โดยเฉพาะการสรรคส์ รา้ งชดุ การแสดงชดุ ตา่ ง ๆ ทผ่ี สานและบรู ณาการ การเรียนรู้ภาคทฤษฎี ปฏิบัติการ และการบริหารจดั การแสดงต่าง ๆ สําหรับ “โครงการศิลปนิพนธ์ทางศิลปะการแสดง คร้ังที่ ๒๒ ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๖๔” จัดเปน็ เวทสี าํ คญั ทที่ าํ ใหน้ สิ ติ สาขาศลิ ปะการแสดง ทงั้ นาฏยศลิ ปไ์ ทย นาฏยศลิ ปพ์ นื้ เมอื ง นาฏยศลิ ปต์ ะวนั ตก และ ศิลปะการละคร ได้นาํ ประสบการณ์จากการเรียนการสอนในหลกั สตู รทีผ่ ่านมาได้สรรคส์ ร้างชดุ การแสดง เป็นของตนเองเพื่อนําเสนอต่อสาธารณชน และรับการประเมินขั้นสูงสุดของหลักสูตรรวมท้ังเพื่อรับการ เสนอแนะ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการเตบิ โตเปน็ นาฏยศลิ ปนิ ทเ่ี ขม้ แขง็ ตอ่ ไป ในนามของคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ และวัฒนธรรมศาสตร์ผมมีความชื่นชมนิสิตเหล่านี้เป็นอย่างยิ่ง และโดยเฉพาะความสําเร็จจากการเรียน และการนาํ เสนอผลงานแสดงอย่างต่อเนื่อง จึงขอความชื่นชมยินดีอย่างยิ่งมา ณ ทีน่ ี้ และขออาํ นวยพรให้ นิสิตทุกคนได้เติบโตในวงการศิลปะการแสดงอย่างสงู สดุ ต่อไป ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชยั สิงห์ยะบุศย์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ 2

สารจากอาจารย์ประจ�ำ รายวชิ า และอาจารย์ท่ปี รกึ ษาโครงการ ตลอดระยะเวลา ๔ ปี ทผ่ี า่ นมาเปน็ ชว่ งเวลาทน่ี สิ ติ ทกุ คนไดใ้ ชเ้ วลาเกบ็ เกย่ี วความรู้ และประสบการณ์ โดยมคี ณาจารยภ์ าควชิ าศลิ ปะการแสดงทกุ คนเปน็ ผชู้ แ้ี นะแนวทาง และบม่ เพาะใหน้ สิ ติ ทกุ คนเปน็ เมลด็ พนั ธ์ ทางด้านศิลปวฒั นธรรมช้นั เยย่ี มทจ่ี ะเติบโต พร้อมทจ่ี ะเปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คญั ของประเทศชาติ ทจ่ี ะช่วยอนรุ กั ษ์ เผยแพร่ และสรา้ งสรรค์ น�ำ ไปสกู่ ารพฒั นาใหศ้ ลิ ปะการแสดงนน้ั ยงั ด�ำ รงอยคู่ ปู่ ระเทศชาตขิ องเราตอ่ ไป “โครงการศิลปนิพนธ์ทางศิลปะการแสดง คร้ังท่ี ๒๒” การสอบทักษะศิลปะการแสดงข้ันสูง ของนสิ ติ ชั้นปีที่ ๔ ในคร้ังนี้ ถอื เปน็ การกา้ วแรกทน่ี สิ ติ จกั ไดร้ วบรวมเรยี บเรยี งองคค์ วามรดู้ า้ นศลิ ปะการแสดง ในการน�ำ ความรจู้ ากการศกึ ษาและประสบการณเ์ รยี นรดู้ า้ นศลิ ปะการแสดงมาใชอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ มโี อกาส ทจี่ ะไดเ้ รยี นรทู้ กั ษะตา่ ง ๆ จากศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ผเู้ ชยี่ วชาญ ครู ศลิ ปนิ พนื้ บา้ นจากทว่ั ทง้ั ประเทศ การทดสอบ ในครง้ั นยี้ งั เปน็ สงิ่ สดุ ทา้ ยทแี่ สดงศกั ยภาพของนสิ ติ เปน็ การประมวลความรทู้ นี่ สิ ติ ไดศ้ กึ ษามาตลอดทงั้ ๔ ปี อีกด้วย ท้ายที่สุดครขู อขอบใจนิสิตทุกคนที่มีความต้ังใจมุ่งมัน่ ใฝ่เรียนรู้ตลอดมา คร้ังนี้เป็นก้าวแรกก่อนที่ จะส�ำ เรจ็ การศกึ ษาออกไปเปน็ บณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ภาพของภาควชิ าศลิ ปะการแสดง คณะศลิ ปกรรมศาสตรแ์ ละ วัฒนธรรมศาสตร์ นำ�ความรู้ประสบการณ์ และการวางตัวที่ดีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ครขู อเปน็ ก�ำ ลงั ใจพรอ้ มทส่ี ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ศษิ ยท์ กุ คน และจะคอยมองความเจรญิ กา้ วหนา้ ของศษิ ยท์ กุ คน ดว้ ยความภมู ใิ จ อาจารย์วา่ ที่รอ้ ยตรี ดร.เกิดศิริ นกน้อย อาจารย์ประจ�ำ รายวิชาและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ 3

สารจากประธานโครงการ โครงการศิลปนิพนธ์ทางด้านศิลปะการแสดง คร้ังที่ ๒๒ นี้ เป็นกระบวนการที่สำ�คัญอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นการชี้วัดตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาที่เราได้ศึกษาที่คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่นี่เปรียบเสมือนบ้านหลังที่ ๒ นอกจากจะได้รับการอบรมความรู้ในเรื่อง ของทักษะหรือทฤษฎีด้านศิลปะการแสดงแล้ว ที่นี่ยังสอนให้เรารู้จักศิลปะการดำ�เนินชีวิตไม่ว่าจะเป็น เรอื่ งของมารยาททดี่ งี าม การตดิ ตอ่ สอ่ื สารงาน การคดิ ใหร้ อบคอบ บคุ ลกิ ภาพตา่ ง ๆ ลว้ นแตเ่ ปน็ การปลกู ฝงั คณุ สมบตั ทิ งี่ ดงามส�ำ หรบั การด�ำ เนนิ ชวี ติ ในสงั คม คณาจารยท์ กุ ทา่ นเปรยี บเสมอื นพอ่ แมผ่ ปู้ กครองทคี่ อย ดูแล และให้คำ�ปรึกษาทกุ ๆ ด้าน ท้ังปญั หาด้านการเรียน หรือแม้แต่ปัญหาเรือ่ งส่วนตัว อีกท้ังยังกรุณา มอบโอกาสในการแสดงให้สามารถใช้ทักษะด้านแสดงสู่สายตาสาธารณชนได้อย่างสมบรู ณ์ โครงการศลิ ปนพิ นธท์ างศลิ ปะการแสดง “การสอบทกั ษะศลิ ปะการแสดงขน้ั สงู ” ครง้ั ท่ี ๒๒ เปน็ อกี หนึ่งบทพิสจู น์เพื่อการันตีคณุ ภาพของว่าที่บัณฑิตเอกนาฏยศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง ทุก ๆ คน ทจ่ี ะส�ำ เรจ็ การศกึ ษาในอนาคต ทจ่ี ะไดถ้ า่ ยทอดความรู้ ความสามารถทางดา้ นนาฏยศลิ ปไ์ ทย และวสิ ยั ทศั น์ ทว่ี า่ “สง่ั สม สบื สาน สรา้ งสรรค”์ ของภาควชิ าศลิ ปะการแสดง คณะศลิ ปกรรมศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นายนนั ทกร เกิดศิลป์ ประธานโครงการ 4

คณะกรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ อาจารยร์ จั นา พวงประยงค์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย-ละคร) ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๔ อาจารย์ประเมษฐ์ บุณยะชยั ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์-โขน) ปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ 5

กำ�หนดการ โครงการศิลปนพิ นธท์ างด้านศิลปะการแสดง “การสอบทกั ษะศิลปะการแสดงขน้ั สูงทางด้านนาฏยศิลปไ์ ทย” ครง้ั ท่ี ๒๒ โดยนิสิตชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกนาฎยศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๕ ณ ลานกลางคณะศิลปกรรมศาสตร์และวฒั นธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม (เขตพื้นที่ขามเรียง) เวลา ๑๘.๐๐ น. เริม่ การแสดงโครงการศิลปนิพนธท์ างดา้ นศิลปะการแสดง “การสอบทักษะศิลปะการแสดงขน้ั สงู ทางด้านนาฏยศิลป์ไทย” คร้งั ที่ ๒๒ การแสดงชุดที่ ๑ ร�ำ เบิกโรงกิ่งไม้เงินทอง การแสดงชดุ ที่ ๒ ฉุยฉายแม่บท การแสดงชดุ ที่ ๓ กลมพระไทร การแสดงชุดที่ ๔ ลงสรงแขกดาหลงั การแสดงชุดที่ ๕ ลงสรงโทนอิเหนา การแสดงชดุ ที่ ๖ ย่าหรันทรงเครือ่ ง การแสดงชดุ ที่ ๗ วิยะดาทรงเครื่อง การแสดงชุดที่ ๘ ฉยุ ฉายยอพระกลิ่น การแสดงชดุ ที่ ๙ นางจันทน์แต่งตวั การแสดงชุดที่ ๑๐ ฉุยฉายพราหมณ์ การแสดงชดุ ที่ ๑๑ มณโฑทรงเครื่อง การแสดงชุดที่ ๑๒ ฉยุ ฉายอินทรชิต การแสดงชุดที่ ๑๓ ฉุยฉายมานพ การแสดงชดุ ที่ ๑๔ ศกนุ ตลาชมสวน การแสดงชดุ ที่ ๑๕ ทษุ ยันต์ตามกวาง การแสดงชุดที่ ๑๖ วันทองแต่งตวั การแสดงชุดที่ ๑๗ พลายชุมพลแต่งตัว การแสดงชุดที่ ๑๘ พระไวยตรวจพล เวลา ๒๒.๐๐ น. บันทึกภาพร่วมกบั อาจารย์ที่ปรึกษาและคณาจารย์ในภาควิชาศิลปะการแสดง หมายเหตุ : กำ�หนดการอาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม 6

7

การแสดงชุดท่ี ๑ ร�ำ เบกิ โรงกิ่งไมเ้ งนิ ทอง แสดงโดย นางสาวประภาพรรณ นามนอก นางสาวจิราพร นามนอก ผูถ้ า่ ยทอดทา่ ร�ำ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ วรนรรฏ อญั ญะโพธ์ิ อาจารย์มรกต ไพรศรี พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธ์ บทรอ้ งประกอบการร�ำ เบกิ โรงเพือ่ ความเปน็ สวสั ดมิ งคลขึน้ ใหมช่ ดุ หนงึ่ โดยทรงดดั แปลงมาจากการแสดง รำ�เบิกโรง ชดุ ปะเลง ทรงสมมุติให้ผู้รำ�แต่งกายเป็นเทพบตุ รทั้งคู่ และมือท้ังสองถือกิง่ ไม้เงินทองแทนการ ถือหางนกยงู เรียกว่า ร�ำ เบิกโรงกิ่งไม้เงินทอง รำ�เบิกโรงกิ่งไม้เงินทอง ได้รับการสืบทอดมาจากเจ้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ ๕ เดิมเป็น ละครหลวงรุ่นเล็ก ในรัชกาลที่ ๔ ซึ่งได้รับเชิญเข้ามาถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�เบิกโรงกิ่งไม้เงินทองให้กับ คณะละครวังสวนกุหลาบ ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา โดยมีอาจารย์ละมุล ยมะคุปต์ อดีตผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฎศิลป์ไทย วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป กรมศลิ ปากร และอาจารย์เฉลย ศุขะวณิช อดีตผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�เม่ือคร้ังศึกษาอยู่ในคณะละครวังสวนกุหลาบ ต่อมาอาจารย์ทั้งสองท่านได้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้กับอาจารย์รัตติยะ วิกสิตพงศ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ซึง่ อาจารย์รัตติยะ วิกสิตพงศ์ ได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร�ำ ให้กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บวรนรรฏ อญั ญะโพธ์ิ และอาจารยม์ รกต ไพรศรี อาจารยป์ ระจ�ำ คณะศลิ ปศกึ ษา สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ เปน็ ล�ำ ดบั ตอ่ มา 8

บทรอ้ งร�ำ เบกิ โรงกิ่งไมเ้ งนิ ทอง ป่ พี าทย์ท�ำ เพลงกลม รอ้ งเพลงเชดิ ฉ่ิง เมือ่ น้ัน ไทท้าว เทพบุตร บรุ ษุ สอง สองมือ ถือกิ่งไม ้เงินทอง ป้องหน้า ออกมา ว่าจะร�ำ เบิกโรง ละครใน ให้ประหลาด มีวิลาศ น่าชม คมขำ� ท่ากง็ าม ตามครู ดูแม่นยำ� เปน็ แต่ทำ� อย่างใหม ่มิใช่ฟ้อน หางนกยงู อย่างเก่า เขาเล่น ไม่เห็นหลาก จืดตา มาแต่ก่อน คงแต่ท่า ไว้ให้งาม ตามละคร ที่แต่งตน ก้อนไม่งอน ตามโบราณ ป่ พี าทย์ท�ำ เพลงเชิดจนี ตัวสาม 9

10

การแสดงชุดท่ี ๒ ฉุยฉายแมบ่ ท แสดงโดย นางสาวปิมฤดี นาชอน นางสาววรรณวนิช โสภานวกลุ ผ้ถู ่ายทอดท่าร�ำ อาจารยว์ า่ ทร่ี อ้ ยตรี ดร.เกดิ ศริ ิ นกนอ้ ย อาจารยน์ ฐั พล กลงึ กลางดอน การแสดงชุดฉุยฉายแม่บท ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้รำ�อวดฝีมือเป็นการแสดงแบบรำ�เดี่ยวหรือรำ�คู่ พระ-นาง จัดอยู่ในประเภทฉยุ ฉายพวง การแสดงชดุ นเ้ี ปน็ การร�ำ ตบี ทในลลี าแมท่ า่ ตามค�ำ รอ้ งของแมบ่ ทใหญ่ ดั้งเดิมบรรจบุ ทร้องในทำ�นองฉยุ ฉายและแม่ศรี พลตรหี ลวงวจิ ติ รวาทการ เปน็ ผปู้ ระพนั ธเ์ รยี บเรยี งค�ำ รอ้ งร�ำ แมบ่ ทขนึ้ ประดษิ ฐท์ า่ ร�ำ ฉยุ ฉายแมบ่ ท โดย อาจารย์ละมุล ยมะคุปต์ อดีตผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และถ่ายทอดกระบวนท่าร�ำ ให้แก่อาจารย์สมั พันธ์ พันธ์มณี ศิลปินแห่งชาติ และอาจารย์สุภาพ พันธ์มณี เป็นผู้รำ� ๒ ท่านแรกโดยท่ารำ�ที่ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ในคร้ังนั้นเป็นบทบาทของตัวนางทีส่ ถานี โทรทศั นช์ อ่ ง ๔ บางขนุ พรม เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๕ ตอ่ มาคณุ ครลู มลุ ยมะคปุ ต์ มคี วามคดิ วา่ การร�ำ ฉยุ ฉาย แม่บท ควรจะมีการร�ำ ท้ังตวั พระและตวั นาง ได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร�ำ ให้แก่ คณุ ครรู ติวรรณ กลั ยาณมิตร เผยแพร่ที่สถานีโทรทศั น์ช่อง ๕ สนามเป้า เปน็ ล�ำ ดบั ต่อมา 11

บทรอ้ งฉุยฉายแมบ่ ท ป่ ีพาทยท์ �ำ เพลงรวั รอ้ งเพลงฉุยฉาย (พวง) ฉยุ ฉายเอย เจ้ารำ�เยื้องกราย ท่ากระต่ายชมจนั ทร์ กวางเดินดง รำ�หงส์ลินลา ร�ำ ช้างหว่านหญ้า เปลีย่ นเปน็ ท่ากงั หนั ตระเวนเวหา เมขลาล่อแก้ว กระต่ายต้องแร้ว ล้วนเปน็ ร�ำ ส�ำ คญั เอย ป่ พี าทย์รบั สวยสมเอย ยอดตองต้องลม ท่าพรหมสี่พกั ตร์ หนุมานผลาญยักษ์ บังพระสุริยา กินนรฟ้อนฝูง นกยงู ฟ้อนหาง ท่าขดั จางนาง แล้วไปช้างประสานงา เครือวลั ย์พันร้อย สอดสร้อยมาลา แขกเต้าผาลา ไปถึงช้านางนอนเอย ป่ พี าทย์รบั รอ้ งเพลงแมศ่ รี แม่ศรีเอย แม่ศรี เทพพนม เจ้าร�ำ ปฐม แล้วเปลีย่ นเปน็ พรหมนิมิต ชักแป้ง ร�ำ ยัว่ รำ�บวั ชฝู กั รำ�นารายณ์ ขว้างจักร ท่าพระลักษณ์ แผลงฤทธิเ์ อย แม่ศรี นาฏศิลป์ แล้วเปลีย่ นเป็น สารถี ป่ ีพาทยร์ บั ร�ำ กินนร เลียบถ้�ำ เปน็ แบบร�ำ อย่างดีเอย แม่ศรีเอย งามทว่ั สรรพางค์ ร�ำ ท่า หงส์บิน ขว้างค้อน ภมรเคล้า พิสมยั เรียงหมอน ท่าพระจนั ทร์ ทรงกลด เหรา เล่นน้ำ� ท่ามังกร กระหวัดเกล้า ทีเ่ ชิดชู ของเก่า ชาวนาฏ-ศิลป์เอย ป่ พี าทย์รบั ทิ้งกร กล่อมตวั นาคา ม้วนหาง กรดสุเมรุ กางกั้น โยนสาร พระรถ เพื่อท่าน ผู้รู้ ได้ตรวจสอบ ฝีมือเรา ป่ พี าทยร์ บั ป่ ีพาทยท์ �ำ เพลงเรว็ - ลา 12

13

การแสดงชุดที่ ๓ กลมพระไทร แสดงโดย นายศิรสิทธิ์ จอกสถิตย์ ผ้ถู ่ายทอดทา่ ร�ำ รองศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชยั จนั ทรส์ วุ รรณ์ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ กลมพระไทร เป็นการรำ�เพลงหน้าพาทย์เพลงกลมของพระไทรเทพารักษ์ ประกอบอากัปกิริยา การเดินทางเหาะออกจากวิมานมาในอากาศ แทรกอยู่ในละครเรื่องอุณรุท บทพระราชนิพนธ์ของ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช กล่าวถึง เมือ่ พระอินทร์ใช้ให้มาตุลีเทพบุตรแปลงกาย เป็นกวางทองไปล่อพระอุณรุทไปยังต้นไทร เมื่อพระอุณรุทตามกวางทองไปถึงต้นไทรแล้วกวางก็หายไป พระอณุ รทุ ท�ำ พิธีบวงสรวงสงั เวยเทพารักษ์ก่อนพกั ค้างแรมทีใ่ ต้ต้นไทรน้ัน เมือ่ พระไทรเทพารกั ษ์ได้รับรู้ ถงึ การพลกี รรมนนั้ จงึ คดิ ทจี่ ะตอบแทนแกพ่ ระอณุ รทุ พระไทรเทพารกั ษจ์ งึ อมุ้ พระอณุ รทุ ไปสมกบั นางอษุ า โดยร่ายมนตร์ไม่ให้ทั้งสองพูดกันได้ แล้วพรากทั้งสองคนก่อนรุ่งสาง การรำ�เพลงหน้าพาทย์กลมนี้ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ อดีตผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลยั นาฏศิลป กรมศิลปากร ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�มาจากคณะละครวังสวนกหุ ลาบ น�ำ มา ถา่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ ใหแ้ กอ่ าจารยอ์ ดุ ม กลุ เมธพนธ์ ผเู้ ชย่ี วชาญการสอนนาฏศลิ ปไ์ ทย วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป กรมศลิ ปากร และไดถ้ า่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ ใหก้ บั รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชยั จนั ทรส์ วุ รรณ์ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ 14

บทรอ้ งกลมพระไทร ป่ ีพาทย์ท�ำ เพลงวา รอ้ งเพลงยานี (ป่ พี าทยร์ บั คำ�ท่ี ๒) เมือ่ น้ัน ฝ่ายพระไทร เทเวศร์ รังสรรค์ สถิตทิพย์ พิมาน พรายพรรณ ด้วยมหันต์ สโุ ข โอฬาร์ฬาร ได้สดับ สงั เวย วนั ทา วรารมย์ เรือ่ ยรบั ขับขาน ท้ังพิณพาทย์ ดุริยางค์ กังสดาล วังเวงหวาน สารศพั ท์ จบั ใจ จำ�กู จะไป สดับดู ให้รู้ กิจจา จงได้ คิดแล้ว ส�ำ แดง ฤทธิไกร ก็รีบจร ลงใกล้ พิชยั รถ ป่ พี าทย์ท�ำ เพลงกลม - เชิด 15

16

การแสดงชุดท่ี ๔ ลงสรงแขกดาหลัง แสดงโดย นางสาวอาภาภรณ์ บญุ หงำ� ผถู้ ่ายทอดทา่ ร�ำ อาจารยร์ ตวิ รรณ กลั ยาณมติ ร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ วรนรรฏ อญั ญะโพธ์ิ การแสดงชดุ ลงสรงแขกดาหลงั ตดั ตอนมาจากละครนอก (ทางใน) เรอ่ื งดาหลงั บทพระราชนพิ นธ์ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยกล่าวถึงอิเหนาเมื่อได้นางเกนบุษบาส่าหรี แล้วความทราบถึงท้าวกุเรปัน ท้าวกุเรปันจึงส่งคนมาลอบสังหารนางเกนบุษบาส่าหรี เมื่ออิเหนาทราบ เรือ่ งรู้สึกเสียใจมากจึงหนีออกจากเมือง และปลอมตนเป็นดาหลงั จากนั้นดาหลงั เดินทางระหกระเหินไป พบนางบุษบาก้าโละซึ่งเป็นพระธิดาของท้าวดาหา จึงได้ทำ�การอาบน้ำ�แต่งตัวก่อนที่จะไปเชิดหนังให้ นางบษุ บาก้าโละได้ชม ร�ำ ลงสรงแขกดาหลงั เปน็ การร�ำ เดยี่ วของตวั พระ มกี ระบวนการร�ำ ทใี่ ชเ้ พลงลงสรงแขก มลี กั ษณะ ที่เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะสะท้อนความเป็นอตั ลกั ษณ์ของเนื้อเรือ่ งที่มีเค้าโครงมาจากชวา เรียบเรียงบทโดย อาจารย์ประเมษฐ์ บุณยะชัย ศิลปินแห่งชาติ ขับร้องโดยอาจารย์ทศั นีย์ ขนุ ทอง ศิลปินแห่งชาติ ประดิษฐ์ กระบวนท่ารำ�โดยอาจารย์รติวรรณ กัลยาณมิตร ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นนาฏศลิ ปไ์ ทย สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ โดยไดถ้ า่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ ใหแ้ กผ่ ชู้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ วรนรรฏ อญั ญะโพธ์ิ อาจารยป์ ระจ�ำ คณะศลิ ปศกึ ษา สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ เปน็ ผู้รำ�คนแรก 17

บทรอ้ งลงสรงแขกดาหลัง ป่ ีพาทยท์ �ำ เพลงสารถี รอ้ งเพลงสารถี เมื่อน้ัน ดาหลงั เฉิดโฉม เสน่หา ครั้นบ่าย ชายแสง พระสรุ ิยา จึงสระสรง คงคา ทนั ใด รอ้ งเพลง ลงสรงแขก แล้วทาแป้ง อ�ำ พัน จันทน์ปรงุ กลิ่นฟุ้ง จับจิต พิสมยั (สร้อย) ก้อมิน้อตุรง น้อตุ รงเว้ เห่เห้ ก้อมิน้อตุรง อาเดะ ปะปงั อะนัง มะนียา ประทรวง แล้วทดั พวงมาลยั เพ่งพิศ ประไพ เพราตา (สร้อย) ก้อมิย้อระมา ย้อระ ม้าเว้ เห่เห้ ก้อมิยอระมา อาเดะ ปะปัง อะนัง มะนียา แล้วนุ่งผ้า บุหงา รังเกศ ใส่แหวน เพชรเทศ มีค่า (สร้อย) ก้อมิน้อตรุ ง น้อตุ รงเว้ เห่เห้ ก้อมิน้อตรุ ง อาเดะ ปะปงั อะนัง มะนียา คาดเขม็ ขัด สวุ รรณ รจนา สะพกั ผ้าม่วง อรชรใจ (สร้อย) ก้อมิย้อระมา ย้อระ ม้าเว้ เห่เห้ ก้อมิยอระมา อาเดะ ปะปงั อะนัง มะนียา ป่ พี าทย์ท�ำ เพลงแขกขาวชน้ั เดียว (๑ เทีย่ ว) รอ้ งเพลงรา่ ยใน เหนบ็ กริช เทวญั อันศักดา ถือเชด็ หน้า แสดสี แสงใส ลงจาก เคหา ทันใด จับชาย กรายกรีด ดำ�เนินมา ป่ พี าทยท์ �ำ เพลงเสมอแขก 18

19

การแสดงชุดที่ ๕ ลงสรงโทนอเิ หนา แสดงโดย นางสาวพักตร์พริ้ง แพงสนาม ผ้ถู า่ ยทอดท่ารำ� อาจารยว์ รรณพนิ ี สขุ สม ลงสรงโทนอิเหนา เป็นการแสดงชุดหน่งึ ท่แี ทรกอย่ใู นละครเร่อื งอิเหนา ตอน จากเมืองหมันหยา ยกทพั ไปชว่ ยกรงุ ดาหา บทพระราชนพิ นธข์ องพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั กลา่ วตงั้ แตอ่ เิ หนา ได้รับพระราชสาส์นจากท้าวกุเรปันพระบิดา ให้ไปรบกับท้าวกะหมังกุหนิงที่ยกทัพมาจะตีเมืองดาหา ท้าวกุเรปันเกรงว่าหากเมืองดาหาพ่ายแพ้ ก็จะทำ�ให้เสียวงศ์เทวัญจึงกำ�ชับให้อิเหนายกทัพไปช่วยเมือง ดาหา ก่อนที่จะออกเดินทางอิเหนาจึงได้บอกลาพร้อมกบั ปลอบประโลมใจนางจินตะหรา นางมาหยารัศมี และนางสกั การะวาตี จากนั้นอิเหนาจึงได้ทำ�การลงสรงทรงเครื่อง แล้วออกเดินทางไปยังเมืองดาหา เจา้ ฟา้ กรมหลวงพทิ กั ษม์ นตรเี ปน็ ผปู้ ระดษิ ฐท์ า่ ร�ำ รว่ มกบั ครรู งุ่ และครทู องอยู่ โดยมเี จา้ จอมมารดาแยม้ เปน็ ผรู้ �ำ และตอ่ มาไดถ้ า่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ ใหก้ บั เจา้ จอมมารดาวาดและหมอ่ มแยม้ ต่อมาหม่อมแย้ม หม่อมละครในสมเด็จเจ้าพระยาบรมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ได้เข้ามา เป็นครูละครในคณะละครวังสวนกุหลาบ ได้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้กับ คุณครูลมุล ยมะคุปต์ อดีตผู้ เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ต่อมาได้ถ่ายทอดกระบวนท่าร�ำ ให้กับ อาจารย์เวณิกา บุนนาค ผู้เชีย่ วชาญด้านนาฏศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ศิลปินแห่งชาติ และได้ ถา่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ ใหก้ บั อาจารยว์ รรณพนิ ี สขุ สม อดตี นาฏศลิ ปนิ อาวโุ ส ส�ำ นกั การสงั คตี กรมศลิ ปากร 20

บทรอ้ งลงสรงโทนอเิ หนา ป่ ีพาทยท์ �ำ เพลงต้นเขา้ ม่าน รอ้ งเพลงลงสรงโทน ทรงภษู า แย่งยก กระหนกกระหนาบ ฉลององค์ เข้มขาบ คดกริช ห้อยหน้า ปักทอง กรองดอกชิด สงั วาลวรรณ วิจิตร จ�ำ รสั เรือง ทับทรวง พวงเพชร เม็ดแตง ทองกร แก้วแดง ประดบั เนื่อง ธำ�มรงค์ รจนา ค่าเมือง อร่ามเรือง เพชรรัตน์ ตรสั ไตร ทรงมงกฎุ กรรเจียกจร สุวรรณ วาวแวว แก้วกุด่นั ดอกไม้ไหว ห้อยอบุ ะ บหุ งา มาลยั เหนบ็ กริช ฤทธิไกร แล้วไคลคลา ป่ พี าทย์ท�ำ เพลงเสมอ 21

22

การแสดงชุดที่ ๖ ยา่ หรนั ทรงเครอ่ ื ง แสดงโดย นายวุฒิชยั ไชยรบ ผ้ถู ่ายทอดทา่ รำ� รองศาสตราจารย์สภุ าวดี โพธิเวชกลุ การแสดงชุดย่าหรันทรงเครื่อง เป็นการแสดงที่ตัดตอนมาจากบทพระราชนิพนธ์ละครใน ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั เรอ่ื งอเิ หนา ตอน ยา่ หรนั เขา้ เฝา้ ทา้ วกาหลงั กลา่ วคอื หลงั จาก เสร็จพิธีโสกันต์ สียะตราซึ่งเป็นน้องชายร่วมมารดาเดียวกับบุษบาแห่งเมืองดาหา ได้มีประสงค์จะออก ติดตามหานางบุษบากับอิเหนาที่หายไป จึงอุบายกราบทูลพระบิดาว่าออกไปเที่ยวป่าแล้วปลอมตัวเป็น โจรป่า ชื่อ ย่าหรนั วิลิศมาหรา องค์ปะตาระกาหราปลอมตัวเป็นนกยงู นำ�ทางย่าหรันไปจนถึงเมืองกาหลงั จากนน้ั ยา่ หรนั ไดข้ อเขา้ เฝา้ ทา้ วกาหลงั เมอ่ื ไดร้ บั อนญุ าตจงึ ไดล้ งสรงทรงเครอ่ื งเพอ่ื เขา้ เฝา้ ทา้ วกาหลงั ตาม ความประสงค์ การแสดงชุดนี้เรียบเรียงบทโดย อาจารย์คมศร ธนธรรมเมธี ตรวจสอบการบรรจุเพลงโดย อาจารย์ไกรฤทธิ์ กันเรือง และ อาจารย์มัณฑนา อยู่ยั่งยืน ประดิษฐ์ท่ารำ�ขึ้นใหม่โดย รองศาสตราจารย์สุภาวดี โพธิเวชกุล เพื่อการแสดงสอบมาตรฐาน ศิลปินของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ในพุทธศักราช ๒๕๕๕ 23

บทรอ้ งยา่ หรนั ทรงเครอ่ ื ง ป่ พี าทย์ท�ำ เพลงเสมอ รอ้ งเพลงลงสรงโทน เย็นฉ่ำ� น้ำ�ดอกไม้ ไขสุหร่าย วารีโรย โปรยปราย ตกต้อง ทรงเครื่อง สุคนธาร ใส่พานรอง กระแจะเจือ เนื้อทอง ชมพูนุท สอดใส่ สนับเพลา พื้นตาด ปักรูป สีหราช ผาดผดุ ภษู ายก พื้นแดง แย่งครฑุ ทรงข้าวบิณฑ์ ลายบุษ-บาบาน ฉลององค์ ทรงอย่าง ปนั จุเหรจ็ ปั้นเหน่งเพชร พรรณราย สายประสาน ตาบประดบั ทับทรวง สังวาล ทองกร แก้วประพาฬ พาหุรดั เฟื่องห้อย สร้อยสุวรรณ บรรจง ธ�ำ มรงค์ เพชรน้ำ� ตะกัว่ ตัด เหน็บกริช ฤทธิไกร ดอกไม้ทัด แล้วมาทรง กัณฐัศว์ อศั ดร รอ้ งเพลงเชิดฉ่ิง ม้าเอย ม้าทีน่ ง่ั พ่วงพี มีก�ำ ลัง ไม่ย่อหย่อน ย่องย่�ำ ทำ�พยศ บทจร ปากอ่อน หันหก ยกสองเท้า ผูกเครื่อง หมอนปกั หักทองขวาง ซองหาง บงั เหียนหู พู่ขาว ตาบหน้า ใบโพธิ์ห้อย พร้อยพราว ประดบั ดาว สุวรรณ กุดน่ั ดวง ป่ พี าทยท์ �ำ เพลงเชดิ 24

25

การแสดงชุดที่ ๗ วยิ ะดาทรงเครอ่ ื ง แสดงโดย นางสาวชนัญธรณ์ โกสี ผู้ถา่ ยทอดท่ารำ� อาจารย์นนั ทนา สาธิตสมมนต์ วิยะดาทรงเครื่อง เป็นการแสดงชุดหนึ่งที่อยู่ละครในเรื่องอิเหนา ตอน ลมหอบ ซึ่งเป็น บทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศล้านภาลัย เนื้อเรื่องกล่าวถึง วิยะดาเป็นบุตรของ ท้าวกุเรปันและนางประไหมสุหรีซึ่งเป็นน้องสาวของอิเหนา ครั้นเมื่ออิเหนาลักพาตัวนางบุษบาไปไว้ใน ถ้ำ�แล้ว อิเหนาจึงลานางบุษบาไปแก้สงสยั เรือ่ งทีอ่ ิเหนาลอบวางเพลิงทีเ่ มืองดาหาเพื่อใช้เป็นอบุ ายลักพา นางบษุ บาออกจากเมือง โดยพาวิยะดาพระขนิษฐาไปด้วย วิยะดาได้ท�ำ การลงสรงทรงเครื่องก่อนจะออก เดินทางไปกบั พระเชษฐา วิยะดาทรงเครื่อง เป็นการรำ�เดี่ยวของตัวนางแบบละครใน เป็นการแสดงที่มีกระบวนท่าที่รำ� ตีบทตามเนื้อร้อง ต้องเป็นผู้ที่ผ่านการฝึกฝน มีสมาธิในการจับจงั หวะ และมีเทคนิคการรำ� สะท้อนให้เห็น ถึงคุณค่าความประณีตบรรจงของการแต่งกาย การสวมใส่เครือ่ งประดับ กระบวนท่าร�ำ วิยะดาทรงเครือ่ ง อาจารย์เฉลย ศุขะวณิช อดีตผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฎศิลป์ไทย วิทยาลยั นาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ คิดประดิษฐ์ท่าร�ำ ขึ้น แล้วถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้กับ อาจารย์กรรณิการ์ วีโรทยั ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และได้ถ่ายทอดกระบวน ท่าร�ำ ให้กบั อาจารย์นันทนา สาธิตสมมนต์ อาจารย์ประจ�ำ คณะศิลปศึกษา สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป์ 26

บทรอ้ งวยิ ะดาทรงเครอ่ ื ง ป่ ีพาทยท์ �ำ เพลงต้นเข้ามา่ น รอ้ งเพลงชมตลาด จึงสระสรง สุคนธ์ ปนทอง ผดั พกั ตร์ นวลละออง ผ่องศรี กนั กวด ขมวดมุ่น เมาฬี เกี้ยวรา- ชาวดี ดอกลำ�ดวน (รับ) กรอบพกั ตร์ จำ�หลัก ลายกุดนั่ ห้อยอบุ ะ ปะกัน หอมหวน ทรงภษู า ห้อยชาย ลายกระบวน สไบสอด สีนวล ขลิบสวุ รรณ (รบั ) บานพับ ประดับ พระพาหา ปะวะหล�่ำ ลงยา โมราค่ัน ทองกร รูปวา-สกุ รีพัน ทรงสัง- วาลวรรณ วิเชียรชู (รบั ) สร้อยประดบั ทบั ทิม สีประเทือง ตาบจินดา ค่าเมือง ควรคู่ เข็มขัด ประจำ�ยาม ก้ามปู ธ�ำ มรงค์ รปู งู เพชรเพรา (รับ) ป่ พี าทยท์ �ำ เพลงเสมอ 27

28

การแสดงชุดท่ี ๘ ฉุยฉายยอพระกล่ิน แสดงโดย นางสาวสิริกร พิบูลย์ศิริกุล ผถู้ ่ายทอดทา่ รำ� ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยว์ รางคณา วฒุ ชิ ว่ ย ฉุยฉายยอพระกลิ่น เป็นการแสดงที่แทรกอยู่ในละครนอกเรื่องมณีพิชัย บทพระราชนิพนธ์ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ตอน พราหมณ์ยอพระกล่นิ ขอพระมณีพิชัยไปเป็นข้ารับใช้ กลา่ วถึง เจา้ พราหมณ์แปลงคดิ จะลองใจพระมณพี ชิ ยั วา่ รกั และซือ่ สตั ย์กบั ตนผูเ้ ดียวหรือไม่ จึงออกอบุ าย วา่ จะไปเทย่ี วปา่ และจะใหน้ อ้ งสาวมาอยเู่ ปน็ เพอ่ื น เมอ่ื สง่ั เสรจ็ เจา้ พราหมณก์ เ็ ดนิ ลงจากอาศรมไปแปลงกาย เปน็ สาวงามมายว่ั ยวนพระมณพี ชิ ยั การแสดงชดุ นเี้ ปน็ การสอื่ ถงึ ลลี าการรา่ ยร�ำ เมอื่ นางยอพระกลนิ่ แปลงกายแตง่ ตวั ใหมจ่ งึ เกดิ ความ ภาคภูมิใจที่แต่งองค์ทรงเครือ่ งสวยงดงาม เพือ่ ให้พระมณีพิชยั ตกใจและเกิดความหลงใหลในความงาม ผู้ประดิษฐ์ท่ารำ�ฉุยฉายยอพระกลิน่ คือ หม่อมครูต่วน (ศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) หมอ่ มในเจา้ พระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ได้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ฉุยฉายยอพระกล่ินให้กับ อาจารยจ์ �ำ เรยี ง พธุ ประดบั อดตี ผเู้ ชยี่ วชาญการสอนนาฏศลิ ปไ์ ทย วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป กรมศลิ ปากร ศลิ ปนิ แห่งชาติ ต่อมาได้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา วฒุ ิช่วย ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 29

บทรอ้ งฉุยฉายยอพระกล่ิน ป่ พี าทย์ท�ำ เพลงรวั รอ้ งเพลงชมตลาด แปลงองค์ คงเป็น ยอพระกลิ่น งามสิ้น สารพดั ไม่ขัดข้อง ผิวพรรณ โสภา ดง่ั ทาทอง ผดั หน้า นวลละออง ยองใย (รับ) นุ่งโก- สยั พสั ตร์ ผ้าทิพย์ ห่มสี ทบั ทิมขลิบ สดใส เข็มขัด ประจ�ำ ยาม งามวิไล เพราพริ้ม ยิ้มละไม ยาตรา (รับ) รอ้ งเพลงฉุยฉาย ฉยุ ฉายเอย ชำ�เลืองเยื้องกราย เลียบชายมาในป่า เครื่องประดับ วะวบั แวมแสง ขาวเขียวแดง เพชรนิลจินดา งามสรรพ งามจับนัยน์ตา พระมณีเห็นหน้า จะบ้าใจ ป่ พี าทยร์ บั เจ้าสไบเอย รอ้ งเพลงแม่ศร ี เจ้าสไบ สีลิ้นจี่ เจ้าค่อย จรลี ไปยงั ที่ ศาลาลยั เจ้าจะลวง ดทู ่วงที พระมณี พิชัย ดดั จริต ให้ติดใจ รกั เจ้าสไบ ศรีเอย ป่ พี าทยร์ บั ป่ ีพาทย์ท�ำ เพลง เรว็ - ลา 30

31

การแสดงชุดที่ ๙ นางจนั ทน์แต่งตัว แสดงโดย นางสาวบุศยา ด่านขนุ ทด ผ้ถู ่ายทอดท่าร�ำ อาจารยว์ ลยั พร กระทมุ่ เขต การแสดงชุดนางจันทน์แต่งตัว เป็นการแสดงชุดหนึ่งที่ตัดตอนมาจากละครเรื่องพระร่วง บทพระราชนพิ นธข์ องพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั กลา่ วถงึ นางจนั ทรพ์ ระมารดาของพระรว่ ง เมื่อทราบข่าวว่าขอมกำ�ลังจะลักลอบปลงพระชนม์ลูกชายของตน จึงได้ทำ�การชำ�ระล้างร่างกาย แต่งตัว และไหว้พระรัตนตรยั ขอพรต่อสิง่ ศักดิ์สิทธิ์ ก่อนออกไปท�ำ การตรวจพลและยกกองทัพออกไปรบ กระบวนท่ารำ�นางจันทน์แต่งตัวท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ ถ่ายทอดกระบวน ท่ารำ� ใหอ้ าจารยร์ จั นา พวงประยงค์ ผ้เู ชย่ี วชาญนาฏศลิ ป์ไทย สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ ศลิ ปนิ แห่งชาติ ต่อมาได้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้อาจารย์วลัยพร กระทุ่มเขต อดีตนาฏศิลปินอาวุโส สำ�นักการสังคีต กรมศิลปากร 32

บทรอ้ งนางจนั ทน์แต่งตัว ป่ ีพาทย์ท�ำ เพลงชมตลาด รอ้ งเพลงชมตลาด นางจนั ทน์ จึงแต่ง กายา นุ่งผ้า หมดจด สดสี ห่มสไบ เฉียงบ่า ผ้าเนื้อด มุ่นเกล้า เมาฬี แน่นไว้ (รบั ) รอ้ งเพลงเชอื้ ช้นั เดียว จุดธูป จุดเทียน ประนมหตั ถ์ กราบพระ ไตรรตั น์ เป็นใหญ่ ท้ังทวย เทวา สรุ าลยั ขอให้ ช่วยคุ้ม ภยั พาล ขอให้ มีชยั ชำ�นะ แก่ขอม เกะกะ ห้าวหาญ กุมดาบ ด้ามแก้ว แกมกาญจน์ นงคราญ มาขึ้น ระแทะทอง ป่ พี าทย์ท�ำ เพลงเสมอ 33

34

การแสดงชุดที่ ๑๐ ฉุยฉายพราหมณ์ แสดงโดย นายศภุ ฤกษ ศรีษะผา ผู้ถา่ ยทอดท่ารำ� อาจารยพ์ มิ พร์ ตั น์ นะวะศริ ิ ฉยุ ฉายพราหมณ์ เปน็ การแสดงทแ่ี ทรกอยใู่ นการแสดงเบกิ โรงพระคเณศเสยี งา บทพระราชนพิ นธ์ ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั กลา่ วถงึ เมอื่ ปรศรุ ามเกดิ การววิ าทกบั พระคเณศ จนท�ำ ใหง้ า ของพระคเณศหกั ขา้ งหนงึ่ พระอมุ าทรงกรวิ้ จงึ สาปใหป้ รศรุ ามสนิ้ ฤทธแิ์ ขง็ เปน็ ทอ่ นไม้ พระอศิ วรทรงเมตตา จงึ แนะใหป้ รศรุ ามตงั้ จติ ถงึ พระนารายณ์ เมือ่ ปรศรุ ามร�ำ ลกึ ถงึ พระนารายณก์ ท็ รงแปลงเปน็ พราหมณน์ อ้ ย มารา่ ยร�ำ ถวายพระอมุ า เมอื่ พระอมุ าทอดพระเนตรเหน็ กโ็ ปรดเมตตาใหพ้ รแกพ่ ระนารายณ์ พระนารายณ์ แปลงจึงขอกำ�ลงั ปรศรุ ามคืน โดยแบ่งให้พระคเณศครึ่งหนึง่ และอีกครึง่ คืนให้ปรศุราม ประดิษฐ์ท่ารำ�โดยพระยานัฏกานุรักษ์ (ทองดี สุวรรณภารต) ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้แก่ หลวงไพจิตรนันทการ (ทองแล่ง สุวรรณภารต) ต่อมาอาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ อดีตผู้เชี่ยวชาญการสอน นาฏศลิ ปไ์ ทย วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป กรมศลิ ปากร ปรบั ปรงุ และถา่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ ใหแ้ กอ่ าจารยส์ อ่ งชาติ ชน่ื ศริ ิ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ เมอ่ื ครง้ั เปน็ นกั เรยี นทโ่ี รงเรยี นนาฏดรุ ยิ างคศาสตร์ จากนน้ั อาจารยล์ มลุ ยมะคปุ ต์ ไดถ้ า่ ยทอด กระบวนท่ารำ�ให้กับรองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชัย จันทร์สวุ รรณ์ ผู้เชีย่ วชาญนาฏศิลป์ไทย สถาบันบณั ฑิต พัฒนศิลป์ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ และตอ่ มาไดถ้ า่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ ใหแ้ ก่ อาจารยพ์ มิ พร์ ตั น์ นะวะศริ ิ นาฏศลิ ปนิ อาวโุ ส ส�ำ นกั การสงั คตี กรมศลิ ปากร 35

บทรอ้ งฉุยฉายพราหมณ์ ป่ พี าทยท์ �ำ เพลงรวั รอ้ งเพลงมอญแปลง กลายเป็น พราหมณ์น้อย ช้อยชด งามหมด น่าชม สมถวิล ภษู า ผ่องใส ไร้มลทิน งามสิ้น แลล้วน ยวนใจ ยิ้มย่อง มองพลาง ทางเดิน ค่อยขึ้น สู่เนิน เขาใหญ่ จนแล เห็นเทพ อรทัย สมใจ มุ่งหมาย กรายกร รอ้ งเพลงฉุยฉาย ฉยุ ฉายเอย ช่างงามขำ� ช่างรำ�โยกย้าย สะเอวแสนอ่อน อรชรช่วงกาย วิจิตรยิ่งลาย ที่คนประดิษฐ์ สองเนตรคมขำ� แสงดำ�มันขลบั ชม้อยเนตรจบั ช่างสวยสุดพิศ ป่ ีพาทย์รบั สดุ สวยเอย ยิ่งพิศยิ่งเพลิน เชิญให้งงงวย งามหตั ถ์งามกร กอ็ ่อนระทวย ช่างนาดช่างนวย สวยยั่วนยั นา ทั้งหัตถ์ทั้งกร กฟ็ ้อนถกู แบบ ดยู ลดูแยบ สวยยิ่งเทวา ป่ พี าทย์รบั รอ้ งเพลงแม่ศร ี น่าชมเอย น่าชม เจ้าพราหมณ์ ดทู ่วั ตวั งาม ไม่ทราม จนนิด ดูผุด ดผู ่อง เหมือนทอง ทาติด ยิง่ เพ่ง ยิ่งพิศ ยิง่ คิด ชมเอย น่ารกั เอย เหมือนแรก จะรุ่น ป่ พี าทย์รบั เจ้ายิ้ม เจ้าแย้ม จ่อจิต ติดตา น่ารกั ดรุณ จะรู้ เดียงสา แก้มเหมือน มาลา เสียจริง เจ้าเอย ป่ ีพาทย์รบั ป่ พี าทยท์ �ำ เพลง เรว็ - ลา 36

37

การแสดงชุดท่ี ๑๑ มณโฑทรงเครอ่ ื ง แสดงโดย นางสาวอาทิตยา ชัยมาตร์ ผถู้ า่ ยทอดทา่ ร�ำ อาจารยพ์ รทพิ ย์ ทองค�ำ การแสดงชุด มณโฑทรงเครื่อง เป็นการแสดงที่ปรากฏอยู่ในโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน มณโฑ หุงน้ำ�ทิพย์ บทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กล่าวถึงนางมณโฑมเหสี ของทศกณั ฐซ์ งึ่ มชี าตกิ �ำ เนดิ มาจากนางกบผมู้ คี วามกตญั ญตู อ่ พระฤาษี ในสมยั ทนี่ างมณโฑเปน็ ขา้ รองบาท ของพระอุมาเทวีบนเขาไกรลาส พระอุมาได้ประทานพรให้นางบทหนึ่งชื่อมนต์สัญชีพ ซึ่งสามารถชุบชีวิต ผู้ที่ตายขึ้นมาได้ ทศกัณฐ์เมื่อรู้จึงให้นางทำ�พิธีเพื่อหุงน้ำ�ทิพย์สำ�หรับชุบชีวิตญาติวงศ์ที่ตายในการทำ�ศึก กบั พระราม ด้วยความรักในสามี นางจึงเร่งชำ�ระร่างกายทรงเครื่องสีขาว อย่างดาบสสินีรีบไปทำ�พิธี ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ คิดริเริ่มและประดิษฐ์ท่าร�ำ เมือ่ พธุ ศกั ราช ๒๕๒๓ ได้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้แก่อาจารย์จำ�เรียง พุธประดับ ซึ่งต่อมาได้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้แก่ อาจารย์ตวงฤดี ถาพรพาสี ผู้แสดงชุดนางมณโฑหุงน้ำ�ทิพย์เป็นคนแรก หลังจากนั้นได้ถ่ายทอดกระบวน ท่ารำ�ให้แก่อาจารย์พรทิพย์ ทองคำ� นาฏศิลปินอาวุโส สำ�นักการสังคีต กรมศิลปากร 38

บทรอ้ งมณโฑทรงเครอ่ ื ง ป่ พี าทยท์ �ำ เพลงต้นเขา้ ม่าน รอ้ งเพลงลงสรงโทน น่ังเหนือ เตียงสวุ รรณ ผนั ขนอง อาบละออง สุหร่าย สายสินธุ์ ชำ�ระรด หมดหมอง มลทิน สคุ นธาร ประทิ่น กลิน่ เกลา รอ้ งเพลงชมตลาด ทรงภษู า เนื้อดี สีเศวต เขียนลาย ทองเทศ ฉลุเฉลา สไบหน้า เจียระบาด ตาดเงินเงา ผูกชฎา ห่อเกล้า เมาฬี ห้อยห่วง กณุ ฑาล สงั วาลถกั จุนเจิม เฉลิมพักตร์ ผ่องศรี ถือประคำ� สำ�รวม อินทรีย์ ด่ังนาง ดาบสสินี ลีลา รอ้ งเพลงรอ้ ื รา่ ย ลงจาก ปราสาทแก้ว แพรวพรรณ พร้อมก�ำ นลั นารี ถ้วนหน้า ท้าวนาง นำ�เสด็จ ยาตรา ไคลคลา ไปยัง โรงพิธี (ทวน) ป่ พี าทยท์ �ำ เพลงเสมอ 39

40

การแสดงชุดที่ ๑๒ ฉุยฉายอนิ ทรชติ แสดงโดย นายนนั ทกร เกิดศิลป์ ผู้ถ่ายทอดทา่ ร�ำ รองศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชยั จนั ทรส์ วุ รรณ์ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงโปรดทจี่ ะใหม้ กี ารแสดงโขนอยา่ งเปน็ ทางการ ขึ้นในกรมมหรสพ จึงทรงพระราชนิพนธ์ บทร้อง บทพากย์รามเกียรติ์ไว้หลายตอน เช่น สีดาหาย จองถนน ประเดิมศึกลงกา นาคบาศ พรหมาสตร์ เป็นต้น ในตอนพรหมาสตร์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์บทรำ�ฉุยฉาย อินทรชิต แทรกไวเ้ พอ่ื ใหผ้ เู้ ลน่ ไดม้ กี ารร�ำ อวดฝมี อื ผอู้ อกแบบทา่ ร�ำ ฉยุ ฉายอนิ ทรชติ คอื พระยานฏั กานรุ กั ษ์ (ทองดี สวุ รรณภารต) ฉยุ ฉายอนิ ทรชติ แสดงถงึ ความงามของอนิ ทรชติ ทสี่ ามารถแปลงกายเปน็ พระอนิ ทรไ์ ดอ้ ยา่ งงดงาม พร้อมบรรดาไพร่พลยักษ์แปลงกายเป็นเหล่าเทวดานางฟ้า เพื่อล่อลวงพระลักษณ์และไพร่พลวานรว่า เปน็ พระอนิ ทรล์ งมาจากสวรรค์ โดยทอี่ นิ ทรชติ คอยหาทางสงั หารพระลกั ษณแ์ ละเหลา่ บรรดาไพรพ่ ลวานร ในขณะทีเ่ พลิดเพลินกับเหล่าเทวดานางฟ้าทีจ่ บั ระบ�ำ ร�ำ ฟ้อน หลวงวลิ าศวงงาม (หร�ำ่ อนิ ทรนฏั ) ไดร้ บั การถา่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ จากพระยานฏั กานรุ กั ษ์ (ทองดี สวุ รรณภารต) ต่อมาหลวงวิลาศวงงามได้นำ�ท่าร�ำ มาถ่ายทอดกระบวนท่าร�ำ ให้กับลูกศิษยคืออาจารย์อุดม กลุ เมธพนธ์ อดตี ผเู้ ชยี่ วชาญการสอนนาฏศลิ ปไ์ ทย วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป กรมศลิ ปากร และตอ่ มาไดถ้ า่ ยทอด กระบวนท่าร�ำ ให้กับอาจารย์ไพฑรู ย์ เข้มแขง็ อาจารย์วีระชัย มีบ่อทรพั ย์ และรองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชยั จนั ทร์สุวรรณ์ ผู้เชีย่ วชาญนาฏศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ศิลปินแห่งชาติ เปน็ ล�ำ ดับต่อมา 41

บทรอ้ งฉุยฉายอนิ ทรชิต ป่ ีพาทย์ท�ำ เพลงรวั รอ้ งเพลงฉุยฉาย ฉุยฉายเอย ช่างเบือนบิด นิมิตกาย เยื้องยาตร นาดกรกราย งามเฉิดฉาย เปน็ หนกั หนา เหมือนราวกับรปู ทีช่ ่างแกะ งามจริงเทียวแหละ เหมือนเจ้าเทวา ป่ ีพาทย์รบั ฉยุ ฉายเอย ช่างบิดเบือน ได้เหมือนหมาย โฉมเฉิด เลิศโฉมชาย รปู ยักษ์หาย ไปจนหมด อรชร อ้อนแอ้นเอวกลม ดูช่างน่าชม สมเกียรติยศ ป่ ีพาทย์รบั ยกั ษีเอย รอ้ งเพลงแม่ศร ี รูปร่าง กล้องแกล้ง ใครเห็น ถูกจิต ยักษี จำ�แลง งวยงง หลงงม ดขู ำ� ดูคม ยกั ษีเอย ต้องติด อารมณ์ เอวอ่อน ระทวย ชมยกั ษีเอย ช่างเหมือน อัมรินทร์ ชะช่าง ทำ�กล ป่ พี าทยร์ บั ยักษี แสนสวย สำ�รวย ทั่วตน ปิ่นฟ้า เวหน จริงยักษีเอย ป่ ีพาทยร์ บั ป่ พี าทย์ท�ำ เพลง เรว็ - ลา 42

43

การแสดงชุดท่ี ๑๓ ฉุยฉายมานพ แสดงโดย นายเกียรติศกั ดิ์ กรวยทอง ผถู้ า่ ยทอดทา่ รำ� อาจารยไ์ พฑรู ย์ เขม้ แขง็ รำ�ฉุยฉายมานพ เป็นการรำ�เดี่ยวตัวพระชุดหนึ่งที่ปรากฏในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน หนุมานเข้าห้องนางวานรินทร์ กล่าวถึงวิรุญจำ�บังออกรบกับพระรามแต่สู้ไม่ได้ จึงผูกหุ่นพยนต์ไว้ แทนตวั และหลบหนอี อกไปสทู่ ะเลสที นั ดร พระรามทรงใชห้ นมุ านไปสงั หารวริ ญุ จ�ำ บงั ระหวา่ งทางหนมุ าน ไปพบกบั พวกลิงป่า ถามความจึงทราบว่ามีนางงามชือ่ นางวานรินทร์อาศยั อยู่ในถ้ำ�เพียงลำ�พงั หนมุ านจึง แปลงกายเปน็ มานพหนุ่มน้อย เพือ่ เข้าไปสืบดลู ู่ทาง ก่อนที่จะถามถึงการหลบหนีของวิรญุ จ�ำ บงั และตาม ไปฆ่าวิรุญจ�ำ บังได้ส�ำ เร็จ บทรอ้ งสนั นษิ ฐานวา่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงพระราชนพิ นธบ์ ทรอ้ งฉยุ ฉาย ขึ้นไว้ส่วนหนึ่ง ต่อมาอาจารย์มนตรี ตราโมท ศิลปินแห่งชาติ เปน็ ผู้ประพันธ์บทร้องแม่ศรีเพิม่ เติม ผู้ถ่ายทอดท่ารำ�อาจารย์ไพฑูรย์ เข้มแข็ง ผู้เชี่ยวชาญด้านนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ไดร้ บั การถา่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ มาจากอาจารยอ์ ดุ ม กลุ เมธพนธ์ อดตี ผเู้ ชย่ี วชาญ การสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร 44

บทรอ้ งฉุยฉายมานพ ป่ พี าทยท์ �ำ เพลงรวั ฉยุ ฉายเอย รอ้ งเพลงฉุยฉาย จะไปไหนนิด เจ้าก็กรีดกราย หนุมาน ทหารนารายณ์ เจ้าช่างแปลงกาย เปน็ เทพบุตร รปู ร่าง ช่างเฉิดฉาย งามเหมือนนารายณ์ ทรงครฑุ ฉยุ ฉายเอย จะไปไหนหน่อย เจ้าก็ลอยชาย เยื้องยาตร นาดกรกราย เดินลอยชาย ไปหานงนุช กิริยา เจ้าช่างน่าขนั ยืนเล่นแมลงวนั อยู่อุตลุด ป่ พี าทยร์ บั ป่ พี าทย์รบั กระบี่ศรีเอย รอ้ งเพลงแมศ่ ร ี กระบีศ่ รี จ�ำ แลง รูปร่าง กล้องแกล้ง ดขู ำ� ดูคม ใครเหน็ ถูกจิต ต้องติด อารมณ์ งวยงง หลงงม ชมกระบี่ ศรีเอย กระบี่ศรีเอย กระบีศ่ รี แสนคม ใครเห็น ใครชม ชอบอารมณ์ ถ้วนหน้า แปลงเหมือน มนุษย์ สวยสุด โสภา แล้วรีบ ไคลคลา ป่ พี าทย์รบั เข้าสู่ ถ้�ำ เอย ป่ พี าทย์รบั ป่ ีพาทย์ท�ำ เพลง เรว็ - ลา 45

46

การแสดงชุดที่ ๑๔ ศกนุ ตลาชมสวน แสดงโดย นางสาวอรวิกา แพทย์สงู เนิน ผู้ถ่ายทอดทา่ ร�ำ อาจารยว์ ลยั พร กระทมุ่ เขต ศกุนตลาชมสวน ตัดตอนมาจากละครรำ�เรื่องศกุนตลา ตอน ท้าวทุษยันต์พบนางศกุนตลา บทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวถึง นางศกุนตลาผู้เป็นธิดาของ พระมหาฤาษีวิศวามิตรกับนางอปั สรเมนกา ซึ่งได้อาศยั อยู่กับพระกณั วะดาบสก�ำ ลังเทีย่ วชมสวนรุกขชาติ บริเวณใกล้อาศรม ด้วยอารมณ์เบิกบานใจ ในบทร้องบรรยายถึงความงดงามและกลิ่นหอมของดอกไม้ นานาพันธ์และความร่มเย็นสบายของสถานที่นั้น อาจารยบ์ ญุ นาค ทรรทรานนท์ อดตี ผเู้ ชย่ี วชาญนาฏศลิ ป์ สาํ นกั การสงั คตี กรมศลิ ปากร ประดษิ ฐ์ ทา่ ร�ำ และถา่ ยทอดกระบวนทา่ ราํ ใหก้ บั อาจารยว์ ลยั พร กระทมุ่ เขต อดตี นาฏศลิ ปนิ อาวโุ ส สาํ นกั การสงั คตี กรมศลิ ปากร 47

บทรอ้ งศกนุ ตลาชมสวน ป่ ีพาทย์ท�ำ เพลงเรว็ - ลา รอ้ งเพลงลมพดั ชายเขา เมื่อน้ัน ยุพเยาว์ นารี ศรีใส มาชม บุปผา พนาไพร อรทยั เรือ่ ยร้อง รำ�พัน รื่นรื่น ชื่นกลิ่น กรรณิการ์ หอมชื่น นาสา เกษมสันต์ รื่นรืน่ สารภี ระคนกนั กลิน่ สุคนั ธ์ เยน็ รื่น ชืน่ ใจ เรือ่ ยเรื่อย ลมพัด มาอ่อนอ่อน โชยกลิน่ เกสร เข้ามาใกล้ เรื่อยเรื่อย รสรัก เย้าฤทยั พาให้ ปลื้มเปรม ปรีดา ป่ พี าทยท์ �ำ เพลงฉ่ิง 48

49

การแสดงชุดที่ ๑๕ ทษุ ยันต์ตามกวาง แสดงโดย นายธวัชชัย ศรีบุญเรือง ผูถ้ ่ายทอดท่ารำ� รองศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชยั จนั ทรส์ วุ รรณ์ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ทุษยันต์ตามกวาง ตัดตอนจากการแสดงละครรำ�เรื่องศกุนตลา ตอน ทุษยันต์ตามกวาง บทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวถึงท้าวทุษยันต์กษัตริย์จันทรวงศ์ แหง่ นครหสั ดนิ เสดจ็ ประพาสปา่ เพอ่ื ลา่ สตั ว์ ไดพ้ บกวางด�ำ มาถงึ บรเิ วณทพ่ี กั อาศยั จงึ คดิ ออกตดิ ตามจบั ขณะที่ติดตามกวางและกำ�ลังจะสังหาร พระกัณวะดาบสได้ทูลขอชีวิตกวางไว้ จึงเป็นมูลเหตุให้ได้พบ นางศกุนตลา จนเกิดเป็นความรักขึ้น ประดิษฐ์ท่ารำ�โดยอาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ อดีตผ้เู ช่ยี วชาญการสอนนาฏศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศลิ ปากร ไดถ้ า่ ยทอดกระบวนทา่ ร�ำ ใหก้ บั อาจารยอ์ ดุ ม กลุ เมธพนธ์ อดตี ผเู้ ชย่ี วชาญการสอนนาฏศลิ ป์ วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป กรมศิลปากร จากน้ันท่านได้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำ�ให้กบั รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย จนั ทร์สวุ รรณ์ ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ศิลปินแห่งชาติ เป็นล�ำ ดับต่อมา 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook