Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ

Published by นายจักริน ทองดี, 2020-10-06 09:16:01

Description: วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชีพ วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจัดการอาชพี รหสั วิชา 3001-2001 ระดบั ชัน้ ปวส นายจักรนิ ทองดี วิทยาลัยสารพัดช่างสระบรุ ี นายจักริน ทองดี

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ บทที1่ ความรูเ้ กี่ยวกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม 1.1 ความหมายของคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณโ์ ทรคมนาคม ท่ีมา https://www.google.co.th/search?q=คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer) มาจากภาษาละตินว่า Computare หมายถึง เครื่อง คำนวณทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้น สามารถเก็บข้อมูลพร้อมด้วยคำสั่งแล้วแสดงผลออกมาใน รูปแบบต่างๆ ได้รวดเรว็ และถกู ตอ้ ง คอมพิวเตอร์ (Computer) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่นำไปใช้งานได้หลากหลายตาม วตั ถุประสงค์ของผู้ใชแ้ ต่ละคนทำงานโดยการรบั คำสั่งจากมนษุ ย์หากซึ่งคำสั่งท่สี ง่ั ให้คอมพิวเตอร์ ทำงานผิดคอมพิวเตอร์ก็จะทำงานผดิ ตรงข้ามกันถ้าคำสั่งนั้นถูกต้อง คอมพิวเตอรก์ จ็ ะทำงานได้ อย่างถูกต้องและใหผ้ ลลพั ธ์ทน่ี ่าพอใจ นายจักริน ทองดี

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ 1.2 หลกั การทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณโ์ ทรคมนาคม เครอื่ งคอมพวิ เตอรม์ ีขั้นตอนการทำงาน 3 ขัน้ ตอน คอื 1. รับโปรแกรมและข้อมูล Input หมายถึง ชุดของคำสั่งที่จะให้คอมพิวเตอร์ทำงาน สว่ นข้อมลู อาจเป็นตวั เลขหรือตวั หนังสือกไ็ ด้ ที่ตอ้ งการให้คอมพวิ เตอรท์ ำการประมวลผล 2. การประมวลผล Process หมายถึง การจัดระเบียบแบบแผนของข้อมูล เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งทำได้โดยการคำนวณเปรียบเทียบ วิเคราะห์โดยใช้สูตรทาง วิทยาศาสตร์ หรอื คณติ ศาสตร์ โดยอาศยั คำส่งั หรือโปรแกรมที่เขยี นข้ึน 3. แสดงผลลพั ธ์ Output คือ การนำผลลัพธ์ท่ีได้จากการประมวลผลเสร็จเรียบร้อย แสดงออกใน รูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีผใู้ ช้เขา้ ใจ และนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ทมี่ า www.google.co.th/search นายจกั รนิ ทองดี

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ 1.3 องค์ประกอบพื้นฐานของคอมพวิ เตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆ กันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของ ระบบคอมพวิ เตอร์เทา่ นั้น แตถ่ ้าตอ้ งการให้เครื่องคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเคร่อื งสามารถทำงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามที่เราต้องการนั้น จำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทำงานร่วมกนั ซึง่ องคป์ ระกอบพ้นื ฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปดว้ ย ทม่ี า https://www.google.co.th/search?q=คอมพวิ เตอร์ ฮารด์ แวร์ (Hardware) หมายถงึ อปุ กรณ์ตา่ งๆ ที่ประกอบขน้ึ เปน็ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ มลี กั ษณะเป็นโครง ร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่วย แสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วย มหี นา้ ทีก่ ารทำงานแตกตา่ งกัน นายจกั รนิ ทองดี

เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชีพ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผสั ไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำส่งั ท่ีถกู เขยี นขึน้ เพื่อสงั่ ใหเ้ คร่ืองคอมพิวเตอรท์ ำงาน ซอฟตแ์ วรจ์ งึ เปน็ เหมือนตัวเช่ือมระหว่าง ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ ดังน้ี ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่ง สำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ ฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือ โปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งท่ี เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เป็นต้น นอกจากนี้ โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบ ด้วยเชน่ กัน ท่มี า https://www.google.co.th/search?q=คอมพิวเตอร์ นายจักริน ทองดี

เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชีพ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่สั่งคอมพิวเตอร์ ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์สามารถจำแนกได้เปน็ 2 ประเภท คอื - ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึน้ เพื่อการทำงานเฉพาะ อย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมระบบเชา่ ซื้อ โปรแกรมการ ทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกัน ออกไปตามความตอ้ งการ หรอื กฎเกณฑ์ของแตล่ ะหน่วยงานทีใ่ ช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแกไ้ ข เพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ทเ่ี ขยี นข้นึ นีโ้ ดยสว่ นใหญม่ ักใชภ้ าษาระดบั สงู เป็นตัวพฒั นา - ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการ ทำงานประเภทตา่ งๆ ท่วั ไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมน้ีไปประยุกตใ์ ช้กบั ขอ้ มูล ของตนได้ แต่จะไมส่ ามารถทำการดัดแปลง หรือแกไ้ ขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไมจ่ ำเป็นต้องเขียน โปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ตอ้ งใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปน้ี มักจะมีการ ใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังน้ัน การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เปน็ ต้น นายจักรนิ ทองดี

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ 1.4 ความหมายและหนา้ ที่ของแป้นพมิ พ์ แปน้ พมิ พ์ (Keyboard) แป้นพมิ พ์ หรอื (Keyboard) เป็นส่วนหน่งึ ของไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เราจะต้องใช้บ่อย ถ้าเรา แยกองคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอรก์ ็จะมีองคป์ ระกอบ 3 สว่ นคือ 1. หนว่ ยรับข้อมลู หรอื Input Unit 2. หนว่ ยประมวลผลหรือ Processing Unit 3. หนว่ ยแสดงขอ้ มูล หรือ Output Unit แป้นพิมพม์ ีความสำคัญเป็นอย่างย่ิงในการที่จะพมิ พ์คำสัง่ เพ่ือสงั่ ให้เครื่องคอมพวิ เตอร์ ปฏบิ ัติงาน จึงนา่ จะรู้องค์ประกอบของแป้นพิมพ์ และปมุ่ หรือแป้นต่าง ๆ ว่าทำหนา้ ที่อะไร ถ้าเราแบง่ แป้นพิมพ์ (keyboard) แบ่งออกได้ 3 สว่ นคอื 1. คียพ์ ิเศษ (Function Key) 2. คีย์ตวั เลข (Numeric Key) 3. คยี ์อักขระ (Character Key) นายจกั รนิ ทองดี

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจดั การอาชีพ 1.5 ความหมายและวธิ กี ารใช้เมาส์ ที่มา https://cokgola.wordpress.com เมาส์ (Mouse) คอื อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการควบคมุ ตัวช้ีบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เรยี กวา่ ตัวชี้เมาส์ (Mouse pointer) ซ่งึ ปัจจุบันถูกออกแบบมาให้มีรปู ร่างลักษณะสีสันตา่ งๆ กัน บางรนุ่ มีไฟ ประดับใหส้ วยงาม เพอ่ื ให้เหมาะกบั การใช้งานในแต่ละประเภทและความช่นื ชอบของผ้ใู ช้ ภายในตวั เมาสจ์ ะมีอปุ กรณส์ ำหรับตรวจจบั ตำแหน่งการเคล่อื นไหวของลกู กล้ิงหรอื อปุ กรณต์ รวจจับการเปลย่ี นแปลงของแสงโดยตวั ตรวจจบั จะสง่ สัญญาณไปทค่ี อมพวิ เตอร์ เพอื่ แสดงผลของตัวชี้บนหน้าจอคอมพวิ เตอร์สัญลักษณ์ของตวั ชเี้ มาส์ สามารถเปลี่ยน รูปแบบไดห้ ลายแบบขึ้นอยู่กับสถานการณ์ดงั ต่อไปนี้ นายจกั ริน ทองดี

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจดั การอาชีพ 1.6 วธิ กี ารใช้และการบำรุงรักษาเครอื่ งคอมพวิ เตอร์และอุปกรณโ์ ทรคมนาคม ที่มา http://www.thaigoodview.com/node/187998 1.6.1 ความปลอดภยั ในการใชค้ อมพิวเตอร์ 1. ความปลอดภยั ของคอมพวิ เตอร์ (1) อย่าจบั ต้องอปุ กรณ์ภายในหากเครื่องคอมพิวเตอร์ยังเปดิ อยู่ (2) อยากเปิดปดิ สวติ ชเ์ คร่ืองคอมพิวเตอร์บอ่ ยๆ ถ้าโปรแกรมมปี ัญหาให้กด reset แทนการ ปดิ เปิด 2. ความปลอดภัยของผู้ใช้ อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้าดดู การใช้ปลั้กเสียบคอมพิวเตอร์ต้อง ใช้ปลก๊ั เสยี บ 3 ขา เพราะขาท่ีสามของปล๊ักเสียบคอมพิวเตอร์มีสายตอ่ กับส่วนที่เป็นโลหะ ของอปุ กรณ์จ่ายไฟ ซ่งึ ยึดติดกบั กล่องของคอมพวิ เตอร์เรยี กว่าสายดิน 1.6.2 สภาพแวดล้อมและการติดต้ังเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ สภาพแวดล้อมโดยทั่วไป อาจมีผลต่อสภาพจิตใจของพนักงานโดยตรง โดย เฉพาะงานที่ตอ้ งอยู่กับเครอ่ื งคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ รวมท้ังสว่ นประกอบของระบบ อื่นที่เกี่ยวข้องกับคอมพวิ เตอร์ดว้ ย เชน่ เมาส์ เครอ่ื งพิมพ์ เป็นตน้ ขอ้ ควรปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับการจดั สภาพแวดลอ้ มสำหรับงานคอมพวิ เตอร์ มีดงั นี้ นายจกั รนิ ทองดี

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชีพ 1. การติดตั้งตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ เมาส์ และอุปกรณ์ประกอบอื่นควรให้เกิด ความสะดวกในการใช้งาน ทำให้การใช้งานเป็นธรรมชาติมากที่สุด ไม่ควรให้เกิดอาการ เซง็ มแี นวทางปฏิบตั ดิ งั น้ี 1) สถานที่ติดตั้งเครื่องและอุปกรณ์ ควรมีพื้นที่กว้างขวางมากพอที่จะทำให้ผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถเคลื่อนไหวได้สะดวก 2) แป้นพิมพ์ ควรวางให้อยู่ตรงหน้าของผู้ใช้และตรงกับหน้าจอด้วย เพราะจะสามารถ ปลอ่ ยแขนให้หอ้ ยลงแนบกบั ลำตัวไดท้ ันทีทร่ี ้สู ึกเมื่อย และทำใหไ้ ม่ตอ้ งเกง่ ไรในขณะป้อน ข้อมลู 3) เมาส์ ควรวางในระดบั เดยี วกบั แปน้ พมิ พ์ และวางในดา้ นท่ถี นดั 2. การจัดวางคอมพิวเตอร์และเก้าอี้ ที่นั่งที่เหมาะสมนอกจากต้องสัมผัสกันระหว่างโต๊ะ กบั เกา้ อที้ ีใ่ ชง้ านแล้ว ยงั ควรให้เหมาะสมกับคนที่ใช้เคร่อื งคอมพิวเตอร์โต๊ะและเก้าอี้แบบ ปรับความสูงได้จะให้ประโยชน์มากกว่า เพราะสามารถปรับระดับในกรณีที่ต้องใช้งาน คอมพิวเตอร์ชุดเดียวกันหลายๆคน ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงเมื่อต้องปรับระดับของโต๊ะหรือ เก้าอี้ คอื 1) ระดับความสูงของโต๊ะและเก้าอี้ประมาณ 28-31 นิ้ว และ 16-21 นิ้ว ตามระดับ เพ่ือ ทำให้ศอกกบั ข้อมอื ของผใู้ ช้ในขนานกบั พ้ืน 2) ไมท่ ำใหผ้ ู้ใชม้ อี าการเกรง บรเิ วณช่วงแขน มือ 3) น่งั ทำงานให้ช่วงล่างของแผ่นหลงั พงิ สนทิ กับพนกั เกา้ อี้ 4) ควรจดั สรรพ้นื ที่วางบนโตะ๊ ไว้บางส่วน 3. การเคลื่อนไหวมือและแขนเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นบ่อยที่สดุ และหลีกเลี่ยงไม่ได้ในการทำงาน ดังนน้ั ควรให้การเคลอื่ นไหวเปน็ ธรรมชาติที่สดุ เพราะจะทำใหท้ ำงานได้เป็นเวลานาน จึง ควรปฏบิ ัติดงั น้ี 1) ในขณะปอ้ นข้อมูล ควรใช้ปลายนิว้ และขอ้ มืออยใู่ นระดบั และแนวเดยี วกัน นายจักรนิ ทองดี

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชีพ 2) อย่าใหข้ ้อศอกอยูช่ ิดและหา่ งลำตวั เกนิ ไป 3) ในขณะใช้แป้นพิมพ์ เมาส์ หรอื อปุ กรณอ์ น่ื ๆ ควรให้มืออยู่ในทา่ ที่เปน็ ธรรมชาติ 4) ควรมกี ารบรหิ ารนิว้ มอื ในขณะปอ้ นขอ้ มูล ด้วยวธิ ีการกำมอื ใหแ้ น่นแล้วคลายออก 5) ควรจบั เมาสเ์ บาๆและวางนิ้วชี้กับน้วิ กลางบนปุ่มกดทง้ั สองของมือ 4. มุมมองจอภาพและการถนอมสายตา หมายถงึ ระดับของการมองจอภาพรวมทั้งการจัด แสงสว่างภายในหอ้ งเพ่อื ให้ไมเ่ ม่อื ยสายตาไหล่และบริเวณลำคอ มีแนวทางปฏิบัตดิ ังน้ี 1) ใหจ้ อภาพอยูต่ รงหนา้ ผใู้ ช้งานโดยห่างจากตาของผู้ใช้ประมาณ 20 ถงึ 36 นิ้ว 2) ระดับขอบบนของจอภาพต้องไม่สงู กว่าระดับสายตาของผใู้ ช้ 3) ใหเ้ กดิ แสงสะทอ้ นจากสภาพสูตรอาผใู้ ชน้ ้อยทีส่ ดุ 4) อยา่ ปรับความสวา่ งของจอภาพ 5) ห้องทำงานควรปรับความสวา่ งได้ 6) ควรพกั สายตาเป็นระยะๆ 1.6.3 ข้อควรระวังเกี่ยวกบั การใชค้ อมพิวเตอร์ 1) ไมค่ วรนำเอาอุปกรณ์สำรองของข้อมูลออกจากเคร่อื งอา่ น 2) ไม่ควรปิดเครอ่ื งคอมพวิ เตอรข์ นาดทไ่ี ฟของฮารด์ ดสิ กต์ ิดอยู่ 3) ไม่ควรเปิดจอภาพท้งิ ไวน้ านๆ 4) เมือ่ ปิดเครื่องคอมพิวเตอรแ์ ลว้ ไมค่ วรเปิดเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ันที 5) ไมค่ วรเสยี บสายไฟคา้ งไว้ท่เี ตา้ เสยี บ 6) การเกบ็ ข้อมลู ไม่ควรเก็บชดุ เดยี วควรทำแฟ้มสำรองข้อมูลไว้หลายชดุ นายจกั รนิ ทองดี

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชีพ นายจักริน ทองดี