Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1

Description: เครื่องมือเเละอุปกรณ์ในงานเขียนเเบบ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1 เครือ่ งมอื และอปุ กรณใ์ นงานเขียนเเบบ

1 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1 ช่ือวิชา เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองต้น เวลาเรยี นรวม ช.ม. ชือ่ หน่วย เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ สอนครั้งท่ี ช.ม. ชอื่ เรอ่ื ง เครือ่ งมือและอุปกรณ์ในงานเขยี นแบบ จำนวน หวั ข้อเร่อื ง 1. ความหมายของเคร่ืองมือในงานเขียนแบบ 2. ชนดิ ของเครื่องมือและอปุ กรณ์ในงานเขียนแบบ 3. การใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ สาระสำคัญ เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ในงานเขียนแบบมีความจำเป็นอย่างย่ิงต่องานเขียนแบบ เพราะจะชว่ ยให้งาน เขียนแบบเปน็ ไปอย่างสะดวก รวดเรว็ และถกู ต้องตามมาตรฐาน ในบทเรยี นนจ้ี ะกล่าวถึงเครอ่ื งมือและ อุปกรณ์ทีส่ ำคัญในงานเขยี นแบบเบือ้ งตน้ ได้แก่ กระดานเขียนแบบ โต๊ะเขยี นแบบ ไมท้ ี ฉากสามเหลย่ี ม ดนิ สอ บรรทัดสามเหลี่ยม วงเวียน อปุ กรณ์ทาความสะอาด และเทมเพลตช่วยงานเขียนแบบ เป็นต้น สมรรถนะหลัก (สมรรถนะประจำหนว่ ย) 1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ 2. แสดงความเข้าใจเก่ียวกับการใชแ้ ละบำรุงรักษาเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ 3. แสดงพฤตกิ รรมลักษณะนิสยั การทำงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ เปน็ ระเบยี บ สะอาดตรงต่อ เวลามีความซือ่ สตั ย์ รับผิดชอบ และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรยี นร)ู้ สมรรถนะทั่วไป (ทฤษฎี) 1. ความหมายของเคร่ืองมือในงานเขยี นแบบ 2. ชนดิ ของเครื่องมือและอปุ กรณ์ในงานเขียนแบบ 3. งานเครอื่ งมอื และอุปกรณ์ในงานเขยี นแบบ สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ (ทฤษฎ)ี เมอื่ ผ้เู รียนได้ศกึ ษาเน้ือหาในบทน้ีแล้ว ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกชนิดของเครื่องมือและอุปกรณใ์ นงานเขียนแบบได้ถกู ต้อง 2. อธิบายชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขยี นแบบไดถ้ ูกต้อง สมรรถนะท่ัวไป (ปฎิบัต)ิ 1. แสดงทกั ษะงานเครอ่ื งมอื และอปุ กรณใ์ นงานเขยี นแบบ

2 สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ (ปฏิบัต)ิ เม่อื ผูเ้ รียนได้ศกึ ษาเนื้อหาในบทนแ้ี ล้ว ผเู้ รียนสามารถ 1 ใช้เครื่องมอื และอุปกรณ์ในงานเขียนแบบได้ กจิ กรรมการเรียนการสอน ในการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น ไดก้ ำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรโู้ ดยใช้วิธีการจัดการเรียนรฐู้ านสมรรถนะเชงิ รกุ (Active Learning Competency Based) ด้านเทคนคิ การ จดั การเรียนการสอนแบบ MAIP โดยมีขั้นตอนในการดำเนินกจิ กรรมการเรียน การสอน ดังนี้ กจิ กรรมการเรียนการสอน (สอนครั้งที่ 1) เวลา ...... ชวั่ โมง/สปั ดาห์ 1. ผู้สอนช้ีแจงรายละเอยี ดเก่ียวกับจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธบิ ายรายวิชา การวัด และประเมินผลการ เรียนรายวชิ าคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์องรายวชิ า และข้อตกลงในการจดั การ เรียนการสอนในรายวชิ า 2. ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 1 เร่อื ง เคร่ืองมือและอุปกรณ์ในงานเขยี นแบบ 3. ผสู้ อนถา่ ยทอดความรูใ้ นหนว่ ยท่ี 1 เรื่อง เคร่ืองมือและอปุ กรณใ์ นงานเขียนแบบ 4. ผู้สอนแสดงตัวอย่างเกี่ยวกับเครื่องมือและอปุ กรณ์ในงานเขียนแบบ 5. ผู้สอนแสดงใบงานเร่ืองเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ในงานเขียนแบบและอธิบายขน้ั ตอนวธิ กี ารในการ ปฏบิ ตั งิ านตามใบงาน 6. ผสู้ อนใหผู้เรยี นปฏบิ ตั งิ านตามใบงานเร่ืองเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ในงานเขียนแบบ 7. ผู้สอนประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของผเู้ รียนและให้ผู้เรียนสรุปสาระสำคัญของเร่ืองท่ีเรียนประจำสัปดาห์ 8. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 1 เร่ือง เครือ่ งมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ ส่อื การเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี นวิชาเขยี นแบบเทคนิคเบื้องตน้ 201001- 1001 2. Power Point เรอื่ ง เครือ่ งมือและอปุ กรณใ์ นงานเขยี นแบบ 3. สือ่ การสอนออนใลน์ Google Classroom งานท่มี อบหมาย/กจิ กรรม ให้ผเู้ รยี นทำใบงานประจำหน่วยที่ 1

3 การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์ วดั ผล/ประเมินผล - ทำแบบทดสอบก่อน - แบบทดสอบก่อนเรยี น – - ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 1. สมรรถนะท่ีพึง เรียน – หลงั เรียน ประสงค์ (ทฤษฎี) - ทำใบงานท้ายหนว่ ย หลังเรยี น 2. สมรรถนะท่ีพงึ ประสงค์ (ปฏิบตั )ิ - ใบงานท้ายหน่วย - ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 80 3. คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (Attitude) - ประเมินคณุ ลักษณะอนั - แบบประเมินคุณลักษณะ - ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80 พึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์

4 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ (ทฤษฎี) 1. ขอ้ ใดคอื ความหมายของเคร่อื งมอื และอุปกรณ์ในงานเขยี นแบบ ก. อปุ กรณ์ในงานเขยี นแบบที่ช่วยให้ชว่ ยให้งานเขียนแบบเป็นไปอยา่ งสะดวก รวดเรว็ และถูกตอ้ งตาม มาตรฐาน ข. อปุ กรณ์ทท่ี าใหเ้ ขยี นรปู สวย ค. อุปกรณ์ทท่ี าใหเ้ ขยี นรปู ต่างๆไดง้ า่ ยขน้ึ ง. อปุ กรณ์ทช่ี ่วยใหเ้ ขยี นรสู้ ามมติ ไิ ดส้ ะดวก 2. เครอ่ื งมอื เขยี นแบบชนดิ ใดทต่ี อ้ งใชร้ ่วมกนั ในการเขยี นเสน้ ตรงในแนวดง่ิ ก. ไมท้ กี บั ฉากสามเหลย่ี ม ข. บรรทดั เลอ่ื นกบั เทมเพลต ค. ไมท้ กี บั วงเวยี น ง. ไมท้ กี บั บรรทดั เล่อื น 3.ตวั อกั ษร HB ทด่ี นิ สอเปลอื กไมห้ มายถงึ อะไร ข. ขนาดไสด้ นิ สอ ง. กลมุ่ ของไสด้ นิ สอ ก. ความยาวของแทง่ ดนิ สอ ค. เกรดความแขง็ 4. การเขยี นเสน้ ในแนวระดบั ดว้ ยไมท้ มี วี ธิ กี ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ก. วางหวั ไมท้ ใี หแ้ นบสนิทกบั ขอบดา้ นซา้ ยของกระดานพรอ้ มใชม้ อื กดใบไมท้ ใี หแ้ น่น ข. วางหวั ไมท้ ใี หแ้ นบสนิทกบั ขอบดา้ นขวาของกระดานพรอ้ มใชม้ อื กดใบไมท้ ใี หแ้ น่น ค. วางหวั ไมท้ ใี หแ้ นบสนิทกบั ขอบดา้ นบนของกระดานพรอ้ มใชม้ อื กดใบไมท้ ใี หแ้ น่น ง. วางหวั ไมท้ ใี หแ้ นบสนิทกบั ขอบดา้ นล่างของกระดานพรอ้ มใชม้ อื กดใบไมท้ ใี หแ้ น่น 5. การเขียนเส้นตรงในขอ้ ใดที่ฉากสามเหลีย่ มไมส่ ามารถเขียนได้ ก. 30 องศา ข. 45 องศา ค. 60 องศา ง. 80 องศา 6. จากรปู มุม A ควรมขี นาดเทา่ ใด ก. 30 องศา ข. 45 องศา ค. 60 องศา ง. 75 องศา

5 7. จากรปู แสดงวธิ กี ารเขยี นเสน้ ตรงในลกั ษณะใด ก. การเขยี นเสน้ ตรงตงั้ ฉากกบั เสน้ ตรง CD ข. การเขยี นเสน้ ตรงทามุม 30 องศากบั เสน้ ตรง AB ค. การเขยี นเสน้ ตรงทามุม 75 องศากบั เสน้ ตรง AB ง. การเขยี นเสน้ ตรง CD ขนานกบั เสน้ ตรง AB 8. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ วธิ กี ารบารุงรกั ษาฉากสามเหลย่ี มทถ่ี ูกตอ้ ง ก. ควรใชน้ ้ายาทเ่ี ป็นสารละลายเชด็ ทาความสะอาด ข. ควรเกบ็ ฉากสามเหลย่ี มไวใ้ นซองใสเ่ สมอหลงั เลกิ ใชง้ าน ค. หา้ มนาฉากสามเหลย่ี มไปตากแดดและใกลค้ วามรอ้ น ง. กอ่ นใชง้ านทกุ ครงั้ ควรใชผ้ า้ ทน่ี ุ่มเชด็ ทาความสะอาดฉากสามเหลย่ี ม 9. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ วธิ กี ารบารงุ รกั ษาดนิ สอเขยี นแบบทถ่ี กู ตอ้ ง ก. ควรระวงั ไม่ใหด้ นิ สอรว่ งลงพน้ื ข. ขณะเขยี นควรกดดนิ สอในลกั ษณะเขยี นเอยี งมากๆ ค. ไม่ควรใชไ้ สห้ รอื ดา้ มของดนิ สอเขยี นแบบไปงดั กบั อุปกรณ์อ่นื ๆ ง. ควรเกบ็ รกั ษาดนิ สอเขยี นแบบไวใ้ นกล่องหรอื ตลบั สาหรบั ใสด่ นิ สอ 10. ขอ้ ใด ไม่ใช่ วธิ กี ารบารุงรกั ษาวงเวยี นทถ่ี กู ตอ้ ง ก. เมอ่ื เลกิ ใชง้ านควรเกบ็ วงเวยี นใสก่ ล่องใหเ้ รยี บรอ้ ย ข. ขณะใชง้ านควรออกแรงกดมากๆ เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ สน้ ทค่ี มชดั ค. ไมค่ วรใชป้ ลายแหลมของวงเวยี นไปงดั กบั สงิ่ ของ ง. กอ่ นใชง้ านทกุ ครงั้ ควรเชด็ ทาความสะอาดวงเวยี นเสมอ

6 ใบความรู้หนว่ ยที่ 1 รหัสวชิ า 20100-1001 ชื่อวชิ า เขียนแบบเทคนคิ เบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 1 ชอื่ หนว่ ย เคร่อื งมือและอุปกรณใ์ นงานเขียนแบบ หน่วยท่ี 1 เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ในงานเขยี นแบบ จำนวน 4 ช.ม. หนว่ ยท่ี 1 เคร่ืองมือและอุปกรณใ์ นงานเขยี นแบบ ความหมายของเคร่ืองมือในงานเขยี นแบบ เครอื่ งมือและอุปกรณเ์ ขยี นแบบมคี วามจำเป็นอยา่ งยงิ่ ตอ่ งานเขียนแบบ เพราะจะชว่ ยให้งาน เขียนแบบเปน็ ไปอยา่ งสะดวก รวดเรว็ และถกู ต้องตามมาตรฐาน ในบทเรยี นน้ีจะกลา่ วถึงเคร่ืองมือและ อุปกรณ์ทสี่ ำคัญในงานเขยี นแบบเบ้ืองต้นไดแ้ ก่ กระดานเขียนแบบ โต๊ะเขียนแบบ ไม้ที ฉากสามเหล่ียม ดนิ สอ บรรทดั สามเหล่ยี ม วงเวยี น อุปกรณ์ทาความสะอาด และเทมเพลตชว่ ยงานเขียนแบบ เปน็ ตน้ เคร่อื งมอื และอุปกรณใ์ นงานเขยี นแบบ 1. กระดานเขยี นแบบและโต๊ะเขยี นแบบ 1.1 กระดานเขยี นแบบ (Drawing Boards) กระดานเขียนแบบเป็นอุปกรณ์ที่ใช้รองแผ่นกระดาษเขยี นแบบ มีรปู รา่ งเลก็ กะทดั รัด น้าหนกั เบา สามารถยกเคลอื่ นย้ายและพกพาได้สะดวก แผ่นกระดานอาจทาจากไม้หรอื พลาสตกิ คุณภาพสูง กระดานเขียนแบบมีหลายชนดิ และหลายขนาดใหเ้ ลือกใชง้ านตามความต้องการ ดังรปู ท่ี 1.1 - 1.2 รปู ท่ี 1.1 แสดงลักษณะของกระดานเขยี นแบบ

7 (ก) กระดานเขียนแบบขนาด A3 (ข) บรรทดั ปรับมุม (2 ด้านๆ ละ 90 องศา) รปู ที่ 1.2 แสดงลักษณะของกระดานเขียนแบบ 1.2 โต๊ะเขียนแบบ (Drafting Table) โต๊ะเขยี นแบบเป็นอปุ กรณ์ทใ่ี ชร้ องกระดาษเชน่ เดยี วกบั กระดานเขยี นแบบ โต๊ะเขยี นแบบ มหี ลายขนาดใหเ้ ลอื กใช้ เช่น ขนาด A1 และ A0 เป็นตน้ โดยทแ่ี ผ่นกระดานของโต๊ะเขยี นแบบจะทา จากไมห้ รอื ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี คี ุณสมบตั ใิ กลเ้ คยี งกบั ไม้ ผวิ ดา้ นบนเรยี บ นอกจากน้ยี งั มกี ารตดิ ตงั้ ชุดเขยี นแบบ (Drafting Machine) ทส่ี ามารถเล่อื นไป-มา ขน้ึ -ลง ตามความยาวของโตะ๊ เขยี นแบบและหมุนปรบั มุมได้ ดงั นนั้ จงึ มคี วามสะดวกในการใชง้ าน รปู ท่ี 1.3 แสดงลักษณะของโต๊ะเขียนแบบพร้อมชุดเขียนแบบ

8 1.3 การใชบ้ ำรุงรกั ษากระดานเขียนแบบและโต๊ะเขยี นแบบ 1. กอ่ นและหลงั การใชง้ านควรใชผ้ า้ ที่สะอาดเชด็ ทาความสะอาดผิวหนา้ กระดานเขยี น แบบทกุ คร้ัง เพ่ือไม่ใหเ้ ศษฝนุ่ ของกระดาษเขยี นแบบ ฝุ่นยางลบและไสด้ นิ สอเขียนแบบติดอยบู่ นผิวหนา้ กระดานเขียนแบบ 2. ห้ามใชข้ องมคี มกรีดบนผิวหน้าและขอบของโตะ๊ เขยี นแบบ เพราะจะทาให้กระดาน เขียนแบบไมเ่ รียบและเกิดการสะดุดขณะเขียนแบบ 3. โตะ๊ เขยี นแบบทปี่ รับองศาได้ ควรมีการหยอดนา้ มันหลอ่ ล่นื ตรงจุดท่ปี รบั องศาไดเ้ พื่อ เปน็ การหล่อลื่นและปอ้ งกนั สนิม 2. ไมท้ ี ไม้ที (T-Square) มรี ปู ร่างลักษณะคลา้ ยกับตวั ที ประกอบด้วยหวั และใบไม้ที ไม้ทสี ่วนใหญท่ า จากไมห้ รือพลาสติก ใชส้ าหรับเขยี นเสน้ ในแนวระดบั และใช้ค่กู บั ฉากสามเหล่ียมสาหรบั เขียนเสน้ ตรง เอยี งทามุมต่างๆ กับแนวระดับ ไม้ทมี ีความยาวหลายขนาด เชน่ 60, 90 และ 120 เซนติเมตร เป็นต้น รปู ที่ 1.4 แสดงลักษณะของไมท้ สี าหรบั งานเขยี นแบบ 2.1 การใชแ้ ละบำรุงรักษาไม้ที 1. ห้ามงดั ไม้ทกี ับขอบของโต๊ะเขยี นแบบขณะที่ทาการเลื่อนใชง้ าน 2. ห้ามใช้ไม้ทีเคาะกบั โตะ๊ หรือเคร่ืองมืออน่ื เพราะจะทาให้ขอบไม้ทเี กดิ รอยเสยี หาย 3. หา้ มนาไม้ทีไปกดยันกับพนื้ ขณะพกพา เพราะอาจทาให้ส่วนใบเกิดการบดิ งอได้ 4. หมน่ั เช็ดทาความสะอาดไม้ทีทงั้ ก่อนและหลงั การใชง้ านเสมอ เพ่ือปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ กระดาษเขียนแบบสกปรกขณะเลื่อนไมท้ ี

9 3. ฉากสามเหล่ียม 3.1 ฉากสามเหลีย่ มแบบมมุ คงที่ (Set Square) ฉากสามเหลย่ี มชนดิ แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คือฉากสามเหล่ยี มมมุ 45° x 45° x 90° และฉากสามเหลยี่ มมุม 30° x 60° x 90° ใช้สาหรบั เขยี นเส้นตรงในแนวระดบั แนวดิ่งและเสน้ ตรง เอียงทามุมตา่ งๆ ไดแ้ ก่ มมุ 15°, 30°, 45°, 60°, 75° ฯลฯ ฉากสามเหลย่ี มส่วนใหญ่ทาจากพลาสติกใส ท่สี ามารถทาให้มองเหน็ สว่ นอื่นๆ ของแบบงานไดช้ ัดเจนขณะใช้งาน (ก) ฉากสามเหลีย่ มมุม 45° x 45° x 90° (ข) ฉากสามเหลยี่ มมุม 30° x 60° x 90° รปู ท่ี 1.5 แสดงลักษณะของฉากสามเหลี่ยมแบบมุมคงท่ี 3.2 ฉากสามเหล่ยี มแบบปรบั มุม (Adjustable Triangle) ฉากสามเหลย่ี มแบบปรับมุม เปน็ การรวมเอาหลักการทางานของฉากสามเหลีย่ มและบรรทัดวดั มุมเข้าด้วยกนั ทาใหส้ ามารถใชง้ านไดอ้ ย่างหลากหลายในการเขยี นเส้นเอยี งตามมุมตา่ งๆ ทตี่ อ้ งการ รปู ท่ี 1.6 แสดงลกั ษณะของฉากสามเหลย่ี มแบบปรบั มมุ

10 3.3 การใช้และบำรุงรักษาฉากสามเหลยี่ ม 1. ก่อนใชง้ านทุกครั้งควรเช็ดทาความสะอาดฉากสามเหลยี่ มด้วยผ้านุ่มทีส่ ะอาด อย่าใช้ ผา้ แข็งหรอื กระดาษในการเช็ดเพราะอาจทาใหเ้ กิดรอยขีดขว่ นได้ 2. ห้ามใชน้ ้ายาที่เปน็ สารละลายเชน่ ทินเนอร์ เพราะอาจทาให้ผวิ บรรทดั มวั หมองทาให้ มองเหน็ ตวั เลขไมช่ ัดเจนขณะใช้งาน 3. หลงั เลกิ ใช้งานควรเก็บฉากสามเหลีย่ มไว้ในซองโดยเฉพาะ 3.4 การใช้ไม้ทีกับฉากสามเหลยี่ ม การใช้งานของฉากสามเหลีย่ มสว่ นใหญ่จะใชค้ ู่กันกับไมท้ ีเพ่ือเขียนเส้นเอยี งทามุม ในลักษณะต่างๆ หรอื การเขยี นเสน้ ตรงใหต้ ั้งฉากกนั และการเขยี นเสน้ ตรงใหข้ นานกนั เป็นตน้ 3.4.1 การเขียนเส้นตรงในระดับ มขี ั้นตอนดงั นี้ 1. วางหัวไม้ทีแนบชดิ กับขอบด้านซา้ ยของกระดานเขียนแบบ 2. ใช้มอื ซา้ ยกดท่ีใบของไม้ทีโดยวางตำแหนง่ ของมือซ้าย (รูปที่ 1.7 ก) 3. จับดนิ สอโดยใหป้ ลายดนิ สอทามุมกับกระดาษประมาณ 60° (รปู ที่ 1.7 ข) ซง่ึ ถ้ามอง ด้านขา้ งตำแหนง่ ของปลายดินสอมีออกเป็น 2 ลักษณะคอื 3.1 วางต้งั ฉากกับกระดาษเขียนแบบ (รูปที่ 1.7 ค) ซ่ึงในกรณนี ีจ้ ะทาใหเ้ กิด ช่องว่างขนาดเลก็ ระหว่างปลายดนิ สอกับขอบของไม้ทที าให้ขาดความเทยี่ งตรงในการเขียนเสน้ ตรง 3.2 เอยี งปลายดินสอชิดกับขอบของไมท้ ีไม่ให้มีช่องว่าง (รูปท่ี 1.7 ง) แล้ว เขยี นเสน้ ตรงโดยเขยี นตรงเส้นจากซ้ายไปขวา ในขณะทีเ่ ขียนเสน้ ตรงใหห้ มุนดนิ สอชา้ ๆ เพื่อให้ปลาย ดนิ สอสึกหรอเท่ากนั (ก) การวางไมท้ ี (ข) แสดงมุมในการจบั ดนิ สอ รปู ท่ี 1.7 แสดงลักษณะการเขียนเสน้ ตรงในแนวนอนด้วยไมท้ ี

11 (ค) ปลายดนิ สอตง้ั ฉากกบั กระดาษ (ง) ปลายดนิ สอเอียงชิดขอบไมท้ ี รปู ท่ี 1.7 แสดงลักษณะการเขยี นเสน้ ตรงดว้ ยไม้ที (ต่อ) 3.3.2 การเขียนเส้นตรงในแนวดิง่ มีขน้ั ตอนดังนี้ (ก) การวางตำแหน่งของไม้ทีกับฉากสามเหล่ยี ม (ข) การวางตำแหน่งของดินสอ รปู ท่ี 1.8 แสดงลกั ษณะการเขยี นเส้นตรงในแนวดง่ิ ด้วยไม้ทแี ละฉากสามเหล่ียม 1. วางหวั ไมท้ แี นบชดิ กบั ขอบดา้ นซ้ายของกระดานเขยี นแบบ 2. วางฉากสามเหลย่ี มทบั ลงบนกระดาษเขยี นแบบ โดยใหฐ้ านของฉากสามเหลย่ี มชดิ กบั ขอบของไมท้ ี 3. เล่อื นฉากสามเหลย่ี มไปยงั ตาแหน่งทต่ี อ้ งการ โดยใชม้ อื ซา้ ยกดไมท้ แี ละฉาก สามเหลย่ี มพรอ้ มกนั (รปู ท่ี 1.8 ก) 4. วางตาแหน่งของปลายดนิ สอทามมุ 90 และมุม 60 กบั กระดาษ (รปู ท่ี 1.8 ข) 5. เขยี นเสน้ ตรงจากดา้ นล่างขน้ึ บน ขณะเขยี นเสน้ ตรงใหบ้ ดิ ลาตวั ตามไปดว้ ยพรอ้ มกบั หมุนดนิ สออยา่ งชา้ ๆ และสม่าเสมอ

12 3.3.3 การใช้ไม้ทีและฉากสามเหลี่ยมเขียนเส้นตรงเอียงทามุมต่างๆ กบั แนวระดบั 4. ดนิ สอเขียนแบบ ดินสอเขียนแบบ (Drawing Pencils) ทน่ี ยิ มใชก้ นั อยูใ่ นปัจจบุ ันแบง่ ออกเปน็ 2 ชนิดดงั นี้ 4.1 ดนิ สอเปลอื กไม้ ดนิ สอชนิดน้ีมเี ปลือกไมห้ มุ้ ไส้ดนิ สอ เมือ่ ตอ้ งการใช้งานก็จะตอ้ งเหลาเปลอื กไม้ออก เพ่ือใหไ้ ส้ดินสอยนื่ ยาวออกมาจากเปลือกไมแ้ ล้วจึงเหลาไสใ้ ห้แหลมต่อไป รูปที่ 1.10 แสดงลักษณะของดนิ สอเปลือกไม้

13 ดินสอเปลือกไม้แบง่ ออกเป็น 3 กลมุ่ ใหญๆ่ คือกลุม่ ดนิ สอเกรดไสแ้ ขง็ (Hard) กลุ่มดนิ สอเกรด ไสแ้ ขง็ ปานกลาง (Medium) และกลุ่มดินสอเกรดไสอ้ ่อน (Soft) โดยเรยี งลาดับจากดนิ สอเกรดไสแ้ ขง็ ทสี่ ุด (9H) ถึงดนิ สอเกรดไสอ้ ่อนทส่ี ดุ (7B) ดงั ตัวอย่างในรูปท่ี 1.11 รปู ท่ี 1.11 แสดงลักษณะของการแบ่งกลมุ่ ของไสด้ ินสอเปลือกไม้ จากรูปที่ 1.11 หากสังเกตที่ภาคตดั ของดนิ สอจะเห็นว่าดนิ สอเกรดไส้ท่แี ข็งทีส่ ดุ (9H) มีขนาด เล็กทสี่ ดุ ส่วนดินสอเกรดไสอ้ ่อนทสี่ ดุ (7B) มีขนาดโตทส่ี ดุ ในการเลือกใชด้ ินสอเปลือกไม้ควรใหเ้ หมาสม กบั ลักษณะของงาน เชน่ กลุ่มดินสอเกรดไส้แข็งเหมาะสาหรบั งานร่างแบบ กลมุ่ ดินสอเกรดไสแ้ ข็ง ปานกลางใช้ในงานเขยี นแบบท่วั ไป และกลุ่มดนิ สอเกรดไส้อ่อนใช้กับงานวาดเขยี น เป็นต้น 4.2 ดินสอเปลี่ยนไส้ ดนิ สอชนิดน้เี ปน็ ดินสอที่มแี ต่ไส้ เมื่อตอ้ งการใช้งานกจ็ ะตอ้ งมโี ครงดนิ สอเพอ่ื ใสไ่ ส้ ดนิ สอ เขา้ ไปด้านใน ดนิ สอเปลยี่ นไส้แบง่ ออกเปน็ 2 ชนิดดังนี้ 4.2.1 ดินสอเขยี นแบบเครื่องกล (Mechanical Pencil) ดินสอชนดิ นท้ี าจากพลาสตกิ ภายในจะมีระบบกลไกในการจบั ยึดและเลอื่ นไส้ดนิ สอ โดยเมอ่ื กดปลายดินสออีกด้านกจ็ ะทาให้ไสด้ ินสอ เลอื่ นออกมาได้ รปู ท่ี 1.12 แสดงลักษณะของดินสอเขยี นแบบเครอ่ื งกล

14 4.2.2 ดินสอแบบไส้กด ดนิ สอชนดิ น้ีมหี ลกั การทางานคลา้ ยกนั กบั ดนิ สอเขยี นแบบ เครอ่ื งกล แต่ไสด้ นิ สอมขี นาดเลก็ และมหี ลายขนาดใหเ้ ลอื กใช้ เชน่ 0.25, 0.35, 0.50 และ 0.70 มลิ ลเิ มตร การใชง้ านดนิ สอชนดิ น้ใี หก้ ดทป่ี ลายดนิ สอเพอ่ื ใหไ้ สด้ นิ สอเลอ่ื นออกมาจากดา้ มดนิ สอเลก็ น้อย ใชส้ าหรบั เขยี นเสน้ ตามขนาดของไสด้ นิ สอ (ก) ดินสอเขียนแบบไส้กด (ข) ไสด้ ินสอเขยี นแบบไส้กด รปู ที่ 1.13 แสดงลักษณะของดนิ สอแบบไส้กด 4.3 การใชแ้ ละบารุงรักษาดินสอเขยี นแบบ 1. ขณะใช้ดินสอไม่ควรกดดนิ สอในลกั ษณะเขยี นเอียงมากเกินไป เพราะอาจทาใหป้ ลาย แกนของดินสอคดงอได้ 2. ไม่ควรใช้ไสห้ รอื ด้ามของดินสองดั กบั อปุ กรณอ์ ่นื ๆ เพราะอาจทาให้ไส้ดินสอหกั หรือ ดา้ มดินสอคดงอได้ 3. ระมดั ระวงั ไมใ่ ห้ดนิ สอรว่ งลงพ้ืน เพราะอาจทาให้ไส้ดินสอหกั ได้ 4. หลังเลิกใชง้ านให้เก็บดินสอเขยี นแบบไวใ้ นกล่องหรือตลบั สาหรับใสด่ นิ สอโดยเฉพาะ

15 5. วงเวยี น วงเวยี น (Drafting compass) เปน็ เคร่อื งมือทม่ี ีความสำคัญอยา่ งหนง่ึ ในการเขยี นวงกลมและ ส่วนโค้ง รูปร่างของขาวงเวียนด้านหนึง่ ใช้จับยดึ เข็มปลายแหลมท่สี ามารถปรับเลื่อนขน้ึ -ลงได้ สว่ นปลาย ของขาวงเวยี นอีกดา้ นสามารถถอดเปลยี่ นเพื่อใช้กบั ไสด้ ินสอ ในการปรบั รัศมขี องขาวงเวยี นให้ใช้มือกด ขาทั้งสองใหม้ ีขนาดใกลเ้ คียงกับรัศมีทีต่ อ้ งการแล้วปรับนัต (Nut) เพอ่ื ให้ได้รัศมที ่ตี ้องการอีกครั้ง (ก) วงเวยี นแบบปรบั รัศมดี ว้ ยมือ (ข) วงเวียนแบบปรบั รศั มลี ะเอยี ดดว้ ยนัต รูปท่ี 1.14 แสดงลักษณะของวงเวยี น 5.1 การใชแ้ ละบารุงรักษาวงเวียน 1. ก่อนใช้งานทุกครัง้ ควรเชด็ ทาความสะอาดวงเวยี นเสมอ 2. หา้ มใชป้ ลายแหลมของวงเวียนไปงดั กับส่งิ ของหรือขดี เขียนวสั ดอุ ื่นๆ เพราะอาจทา ให้ปลายวงเวยี นคดงอหรือหกั ได้ 3. หลังเลกิ ใชง้ านให้เกบ็ วงเวียนไวก้ ลอ่ งหรือซองโดยเฉพาะ

16 6. ดไิ วเดอร์ ดิไวเดอร์ (Divider) มรี ูปร่างลักษณะคลา้ ยกบั วงเวยี นแตกต่างกันที่สว่ นปลายขาของดไิ วเดอร์ เป็นโลหะปลายแหลมคล้ายเข็มทั้งสองด้าน ใช้สาหรบั เทียบขนาดจากเคร่ืองมอื วดั หรือจากแบบงานเดิม เพือ่ นามาถ่ายขนาดลงบนกระดาษเขยี นแบบอีกคร้ัง รูปท่ี 1.15 แสดงลักษณะของดิไวเดอร์ 6.1 วิธีการบารงุ รกั ษาวงเวยี น 1. กอ่ นใชง้ านทุกคร้ังควรเชด็ ทาความสะอาดวงเวียนเสมอ 2. หา้ มใช้ปลายแหลมของดิไวเดอรง์ ดั กับส่ิงของหรือขดี เขยี นวสั ดอุ ่ืนๆ เพราะจะทาให้ ปลายดิไวเดอรค์ ดงอหรือหักได้ 3. หลงั เลกิ ใช้งานให้เกบ็ ดิไวเดอร์ไว้ในกล่องหรือซองเก็บโดยเฉพาะ 7. บรรทดั เขียนส่วนโคง้ บรรทดั เขยี นสว่ นโค้ง (French Curve) เปน็ เครื่องมือเขยี นแบบที่ใชเ้ ขียนส่วนโคง้ ลกั ษณะต่างๆ ทีว่ งเวียนไม่สามารถจะเขยี นได้ รปู รา่ งของบรรทัดเขียนสว่ นโค้งมีหลายแบบ ดังรูปท่ี 1.16 รปู ที่ 1.16 แสดงลักษณะของบรรทดั เขียนสว่ นโคง้

17 7.1 การใชแ้ ละบารุงรกั ษาบรรทัดเขยี นสว่ นโค้ง 1. ก่อนใช้งานทุกครัง้ ควรเช็ดทาความสะอาดบรรทดั เขียนส่วนโคง้ ดว้ ยผ้านุ่มที่สะอาด 2. อย่าใชผ้ า้ ทแี่ ข็งหรือกระดาษเช็ดเพราะอาจทาให้เกิดรอยขดี ข่วนทผี่ ิวของบรรทัด 3. ห้ามใชน้ า้ ยาทเี่ ป็นสารละลาย เช่น ทนิ เนอร์ เชด็ ทาความสะอาดโดยเด็ดขาดเพราะ อาจทาใหผ้ ิวบรรทดั มวั หมองและใชง้ านไมส่ ะดวก4 4. หา้ มนาบรรทัดเขยี นส่วนโค้งไปใกล้ความร้อนเพราะจะทาให้บดิ งอได้ 5. หลังเลกิ ใชง้ านให้เกบ็ บรรทัดเขียนส่วนโคง้ ไว้ในซองโดยเฉพาะ เพื่อป้องกันไม่ใหเ้ กิด รอยขีดขว่ น 8. เทมเพลต เทมเพลต (Templates) เปน็ อปุ กรณ์ท่ใี ชส้ าหรับเขยี นรูปทรงทางเรขาคณติ แบบต่างๆ ตาม วัตถปุ ระสงค์ของการใช้งานได้แก่ เทมเพลตเขียนวงกลม และเทมเพลตเขียนวงรี เปน็ ต้น (ก) เทมเพลตเขียนวงกลม (ข) เทมเพลตเขยี นวงรี รปู ที่ 1.17 แสดงลักษณะของเทมเพลตในงานเขยี นแบบ

18 8.1 วธิ กี ารบารงุ รกั ษาเทมเพลต 1. กอ่ นใชง้ านทุกคร้ังควรเชด็ ทาความสะอาดเทมเพลตดว้ ยผา้ นุม่ ท่สี ะอาด 2. อยา่ ใช้ผา้ ที่แข็งหรือกระดาษเชด็ เพราะอาจทาให้เกิดรอยขดี ข่วน 3. ห้ามใช้นา้ ยาทเ่ี ปน็ สารละลาย เช่น ทินเนอร์ เชด็ ทาความสะอาดโดยเด็ดขาดเพราะ จะทาให้ผิวบรรทดั มัวหมองและใช้งานไม่สะดวก 4. ห้ามนาเทมเพลตไปใกลค้ วามรอ้ นเพราะจะทาให้บดิ งอได้ 5. หลังเลิกใช้งานใหเ้ กบ็ เทมเพลตไว้ในซองโดยเฉพาะเพ่ือป้องกนั ไม่ให้เกดิ รอยขดี ข่วน 9. อปุ กรณ์เบ็ดเตล็ด อุปกรณ์เบ็ดเตลด็ ท่ีจาเปน็ ในงานเขยี นแบบดว้ ยมือได้แก่ ยางลบ แผน่ กั้นลบ แปรงทาความ สะอาดสาหรับปัดเศษยางลบ เป็นต้น ก) ยางลบ (ข) แผ่นกั้นลบ (ค) แปรงทาความสะอาด รูปที่ 1.18 แสดงลักษณะของอปุ กรณ์ทาความสะอาด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook