Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา

พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา

Published by วัลลภา ผดุงเวช, 2022-06-10 03:40:57

Description: การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
ประวัติความเป็นมาของพระเจ้าอู่ทอง
ปัจจัยส้าคัญในการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
ปัจจัยที่มีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรอยุธยา
ลักษณะการเมืองการปกครองสมัยอยุธยา
รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น
รูปแบบการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านสังคม
ลักษณะโครงสร้างสังคมไทยสมัยอยุธยา
การเสื่อมอ้านาจของอาณาจักรอยุธยา
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา

Search

Read the Text Version

๘_เสริมสาระ ประวัตศิ าสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ กลุม่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ครูผู้สอน คุณครูอรดามาศ แสนสาคร

๑หนว่ ยการเรียนรู้ที่ พฒั นาการของอาณาจักรอยุธยา จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. วเิ คราะห์พฒั นาการของอาณาจกั รอยธุ ยาและธนบุรใี นด้านต่างๆ ได้ ๒. วิเคราะหป์ ัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ ความม่นั คงและความเจรญิ รงุ่ เรืองของอาณาจักรอยธุ ยาได้ ๓. ระบภุ มู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยา และอทิ ธพิ ลของภูมปิ ัญญาดงั กลา่ วตอ่ การพัฒนาชาตไิ ทยในยคุ ต่อมาได้

การสถาปนาอาณาจกั รอยุธยา ชุมชนไทยในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนลา่ งก่อนการสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา แควน้ สุพรรณภูมิ (สพุ รรณบรุ ี) • มอี าณาบรเิ วณต้งั อยทู่ างด้านตะวันตกของลุม่ แม่น้าเจา้ พระยา ตอนล่าง โดยมลี ุ่มแม่นา้ ท่าจนี ไหลลงสอู่ ่าวไทย • มพี ัฒนาการสืบเนอ่ื งมาเปน็ เวลาหลายร้อยปี และเคยเปน็ ทตี่ ้ังชุมชน โบราณหลายแหง่ เชน่ เมืองอทู่ อง • มหี ลักฐานทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ การนับถือพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาท ลัทธลิ ังกาวงศ์ และพระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน เช่น พระปรางค์ ทวี่ ดั มหาธาตุ

ชมุ ชนไทยในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนลา่ งก่อนการสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา (ตอ่ ) แคว้นละโว้ (ลพบุรี) • ไดร้ ับอิทธพิ ลของทวารวดี มคี วามเจริญร่งุ เรืองทางวฒั นธรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิงวฒั นธรรมการนบั ถือพระพทุ ธศาสนาท่ีรุ่งเรอื ง มากที่สุด • มกี ารรับวฒั นธรรมขอม ซงึ่ ในภายหลงั มีการยอมรบั นบั ถอื ศาสนา พราหมณ-์ ฮินดู และนบั ถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน • เม่อื อาณาจักรขอมเส่อื มลง ได้ตง้ั ตัวเปน็ อสิ ระ หลังจากขอมเสอื่ ม อิทธพิ ลลง และต่อมาได้ถูกลดความสา้ คัญลง ทา้ ใหอ้ โยธยาขึน้ มา มอี ้านาจแทน

การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา • อาณาจกั รอยุธยาเกดิ ข้ึนจากการรว่ มมือกันของแคว้นสุพรรณภูมิ (สพุ รรณบุร)ี และแควน้ ละโว้ (ลพบรุ ี) ซง่ึ ทงั้ สองแคว้นเป็นศูนยร์ วมอา้ นาจทางการเมืองในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย ในปจั จบุ นั • การสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาเปน็ ราชธานใี น พ.ศ. ๑๘๙๓ ของสมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ ๑ (อ่ทู อง) ปรากฏหลกั ฐานวา่ กรุงศรอี ยธุ ยาต้งั ข้นึ ในเมอื งเก่าเดมิ ที่มีช่ือว่า อโยธยา ซงึ่ มีมากอ่ น และเปน็ เมืองที่ตง้ั อยรู่ ะหวา่ งเมืองสุพรรณบุรกี ับเมืองลพบรุ ี

ประวตั ิความเปน็ มาของพระเจา้ อู่ทอง ข้อสนั นษิ ฐานจากการบอกท่มี าของพระเจา้ อูท่ องแตกตา่ งกัน สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด้ารงราชานุภาพ พระราชนพิ นธ์ใน พงศาวดารกรุงศรอี ยุธยา พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ฉบบั ฟาน ฟลีต หรอื วัน วลิต • พระเจา้ อู่ทองสืบเช้ือสายมาจากพระเจ้า • พระเจา้ อู่ทองเปน็ ราชบุตรเขยของพระ • พระเจ้าอทู่ องเป็นพระราชโอรสของพระ ชยั ศริ ทิ ่เี คยครองเมอื งฝาง (ปจั จบุ ันอยู่ เจ้าแผน่ ดนิ จนี แล้วถูกเนรเทศมาอยู่ที่ เจา้ ศริ ิชัยเชียงแสน ปตั ตานี และเดนิ ทางผา่ นมาทางเมือง ในเขต จ.เชยี งใหม)่ ละคร(นครศรธี รรมราช) กยุ บุรี (ใน จ. • ต่อมาไดร้ ับราชสมบตั คิ รองราชยอ์ ยู่ ๖ ปี ประจวบฯ) และมาสร้างเมืองพริบพรี • มีการเชือ้ สายสบื ราชสมบัตติ ่อมาหลาย (เพชรบรุ )ี ภายหลังจงึ ไดม้ าสรา้ งเมือง ไดเ้ กิดโรคห่า (อหิวาตกโรค) จงึ ทรงยา้ ย อยธุ ยา รนุ่ จงึ ได้เกิดพระเจ้าอ่ทู อง ราชธานมี าต้ังที่เมอื งศรีอยธุ ยา

ปจั จยั สา้ คัญในการสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานี ๑ ความสัมพนั ธ์ฉันเครือญาติระหว่างแคว้นสพุ รรณภมู ิกบั แควน้ ละโว้ ๒ ทา้ เลทต่ี ้งั ของกรงุ ศรีอยธุ ยาเปน็ ทที่ เ่ี หมาะสม ๓ กรงุ ศรอี ยธุ ยาอยใู่ กล้ปากแม่น้า ตดิ ทะเล มีความสะดวกในการคา้ ขายกับชาวต่างชาติ ๔ การเส่อื มอา้ นาจลงของอาณาจักรเขมร จงึ ไดส้ ถาปนากรุงศรอี ยุธยาเปน็ ศนู ยก์ ลางอาณาจักรใหม่

ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ ความเจริญรงุ่ เรอื งของอาณาจกั รอยธุ ยา ปัจจัยส้าคญั ทเ่ี อ้อื อา้ นวยตอ่ พฒั นาการตา่ งๆ ของอาณาจักรอยธุ ยา มีดังนี้ แหล่งอารยธรรมด้ังเดมิ ไดร้ ับอารยธรรมเดมิ ก่อนมกี ารตง้ั อาณาจกั ร มาปรบั ใชเ้ ข้ากับอารยธรรมใหมท่ ่ีอยธุ ยา สภาพภมู ิประเทศ สร้างขนึ้ มา สภาพภมู อิ ากาศ กรุงศรอี ยธุ ยาตัง้ อยู่บริเวณทร่ี าบลุ่ม มีแม่น้าไหลผา่ น จึงเหมาะแกก่ ารเพาะปลกู และการ คา้ ขาย อาณาจกั รอยุธยาตง้ั อยู่ในเขตรอ้ นชื้น มีลมมรสมุ พดั ผ่าน ท้าใหม้ ีฝนตกชกุ สง่ ผลให้มแี หลง่ น้าอุดมสมบูรณ์ การตั้งอยู่ก่ึงกลางเสน้ ทางเดินเรือ อาณาจักรอยธุ ยาไดป้ ระโยชน์ จากการคา้ ขายและรับอารยธรรมจากจนี และอินเดยี ระหว่างอนิ เดียกบั จนี ทรพั ยากรธรรมชาติ อยุธยามีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบรู ณ์ เช่น ผักผลไม้ ปลาน้าจืดและปลาทะเล แร่ธาตุ ไมห้ ายาก ซงึ่ เปน็ ทต่ี อ้ งการของพ่อคา้ ตา่ งชาติ พระปรชี าสามารถของพระมหากษตั ริย์ เพราะพระปรชี าสามารถของพระมหากษตั รยิ ห์ ลายพระองค์ ทท่ี า้ ใหอ้ ยุธยารอดพน้ จาก ภยั คกุ คามจากภายนอกได้

พฒั นาการทางประวัติศาสตรข์ องอาณาจักรอยธุ ยา พฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครอง พัฒนาการทางด้านการเมอื งการปกครองของไทยสมยั อยธุ ยา มพี ระมหากษตั ริยป์ กครองราชอาณาจกั รทั้งหมด ๓๓ พระองค์ ใน ๕ ราชวงศ์ รายพระนาม ราชวงศ์ ปที ่คี รองราชย์ รวมระยะเวลา (ปี) ๑.สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี ๑ (อู่ทอง) อ่ทู อง พ.ศ.๑๘๙๓ - ๑๙๑๒ ๑๙ ๒.สมเด็จพระราเมศวร อูท่ อง พ.ศ.๑๙๑๒ - ๑๙๑๓ ๑ ๓.สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี 1 (ขุนหลวงพงว่ั ) สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๑๙๑๓ - ๑๙๓๑ ๑๘ ๔.สมเดจ็ พระเจา้ ทองลนั สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๓๑ - ๑๙๓๑ ๗ วนั สมเด็จพระราเมศวร (ครง้ั ท่ี ๒) อู่ทอง พ.ศ. ๑๙๓๑ - ๑๙๓๘ ๘ ๕.สมเดจ็ พระรามราชาธริ าช อทู่ อง พ.ศ.๑๙๓๘ - ๑๙๕๒ ๑๕

รายพระนาม ราชวงศ์ ปีท่ีครองราชย์ รวมระยะเวลา (ป)ี ๖.สมเดจ็ พระอินทราชา (เจ้านครอินทร)์ สุพรรณภูมิ พ.ศ. ๑๙๕๒ - ๑๙๖๗ ๗.สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๒ (เจา้ สามพระยา) สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๖๗ - ๑๙๙๑ ๑๖ ๘.สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๐๓๑ ๒๔ ๙.สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๓ สุพรรณภูมิ พ.ศ.๒๐๓๑ - ๒๐๓๔ ๔๐ ๑๐.สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี ๒ สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๓๔ - ๒๐๗๒ ๓ ๑๑.สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๔ (หน่อพุทธางกูร) สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๗๒ - ๒๐๗๖ ๓๘ ๑๒.พระรษั ฎาธริ าช สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๗๖ - ๒๐๗๗ ๔ ๑๓.สมเดจ็ พระชัยราชาธิราช สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๗๗ - ๒๐๘๙ ๕ เดอื น ๑๔.พระยอดฟา้ (พระแกว้ ฟ้า) สุพรรณภมู ิ พ.ศ. ๒๐๘๙ - ๒๐๙๑ ๑๒ ขนุ วรวงศาธริ าช ๒ - - -

รายพระนาม ราชวงศ์ ปที คี่ รองราชย์ รวมระยะเวลา (ปี) ๑๕.สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ สุพรรณภูมิ พ.ศ. ๒๐๙๑ - ๒๑๑๑ ๑๖.สมเด็จพระมหินทราธิราช สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๒๑๑๑ - ๒๑๑๒ ๒๐ ๑๗.สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธริ าช พ.ศ.๒๑๑๒ - ๒๑๓๓ ๑ ๑๘.สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สุโขทัย พ.ศ.๒๑๓๓ - ๒๑๔๘ ๒๑ ๑๙.สมเด็จพระเอกาทศรถ สุโขทัย พ.ศ.๒๑๔๘ - ๒๑๕๓ ๑๕ ๒๐.พระศรีเสาวภาคย์ สุโขทัย พ.ศ.๒๑๕๓ - ๒๑๕๔ ๕ ๒๑.สมเด็จพระเจา้ ทรงธรรม สโุ ขทัย พ.ศ.๒๑๕๔ - ๒๑๗๑ ๑ ปเี ศษ ๒๒.สมเดจ็ พระเชษฐาธิราช สโุ ขทยั พ.ศ.๒๑๗๑ - ๒๑๗๒ ๑๘ ๒๓.พระอาทติ ยวงศ์ สโุ ขทยั พ.ศ.๒๑๗๒ - ๒๑๗๒ ๘ เดือน ๒๔.สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง สโุ ขทยั พ.ศ.๒๑๗๒ - ๒๑๙๙ ๓๘ วัน ปราสาททอง ๒๕

รายพระนาม ราชวงศ์ ปีที่ครองราชย์ รวมระยะเวลา (ป)ี ๒๕.สมเด็จเจ้าฟา้ ชัย ปราสาททอง พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๑๙๙ ๒๖.สมเด็จพระศรสี ธุ รรมราชา ปราสาททอง พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๑๙๙ ๓-๕ วัน ๒๗.สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ปราสาททอง พ.ศ.๒๑๙๙ - ๒๒๓๑ ๒ เดือน ๒๘.สมเดจ็ พระเพทราชา บ้านพลูหลวง พ.ศ.๒๒๓๑ - ๒๒๔๖ ๒๙.สมเดจ็ พระสรรเพ็ชญท์ ี่ ๘ (พระเจา้ เสอื ) บ้านพลูหลวง พ.ศ.๒๒๔๖ - ๒๒๕๑ ๓๒ ๓๐.สมเด็จพระสรรเพช็ ญ์ท่ี ๙ (พระเจ้าอยหู่ วั ทา้ ยสระ) บ้านพลหู ลวง พ.ศ.๒๒๕๑ - ๒๒๗๕ ๑๔ บา้ นพลหู ลวง พ.ศ.๒๒๗๕ - ๒๓๐๑ ๖ ๓๑.สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ (พระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศ) บ้านพลูหลวง พ.ศ.๒๓๐๑ - ๒๓๐๑ ๒๓ บ้านพลหู ลวง พ.ศ.๒๓๐๑ - ๒๓๑๐ ๒๖ ๓๒.สมเดจ็ พระเจา้ อทุ มุ พร (ขนุ หลวงหาวดั ) ๒ เดอื น ๙ ๓๓.สมเด็จพระท่นี ั่งสรุ ิยามรนิ ทร์ (พระเจ้าเอกทัศ)

ลักษณะการเมืองการปกครองสมยั อยุธยา ๑ พระมหากษตั รยิ ท์ รงมพี ระราชอา้ นาจสูงสดุ ในการปกครอง ทรงเปน็ พระประมขุ ของอาณาจกั ร ๒ ทรงเป็นสมมตเิ ทพตามความเชือ่ ในศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู และเป็นธรรมราชาตามคติความเช่ือใน พระพทุ ธศาสนาด้วย

รปู แบบการปกครองสมยั อยุธยาตอนต้น น การบรหิ ารราชการแผ่นดินสว่ นกลาง • กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานี และเป็นศนู ยก์ ลางของการการปกครอง • มีเมอื งหน้าดา่ น ๔ ทศิ เพอื่ ปอ้ งกันภยั ยามข้าศกึ รกุ ราน ลพบรุ ี สพุ รรณบรุ ี อยุธยา นครนายก พระประแดง

การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ส่วนกลาง • ในเขตราชธานที ี่กรุงศรอี ยธุ ยา มีเสนาบดี ๔ ต้าแหน่ง เรยี กว่า จตุสดมภ์ • จตสุ ดมภ์รบั ผดิ ชอบดแู ลการบรหิ ารราชการแผ่นดินตามพระบรมราชโองการของพระมหากษตั รยิ ์ • จตุสดมภ์ แบ่งออกเป็น ๔ หนว่ ยงาน ดังน้ี จตุสดมภ์ กรมเวียง (เมอื ง) กรมวงั กรมคลงั กรมนา

หวั เมอื งชัน้ ใน หวั เมอื งช้ันนอก การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ สว่ นหัวเมือง ราชธานี หัวเมอื งชั้นใน หวั เมอื งประเทศราช • อยไู่ มไ่ กลจากราชธานี • ทางราชธานีจะแตง่ ตงั้ “ผรู้ ั้ง” ไปปกครอง • เช่น เมอื งราชบุรี สงิ ห์บรุ ี ชัยนาท หัวเมอื งชั้นนอก (เมอื งพระยามหานคร) • อยหู่ า่ งไกลจากราชธานี • มเี จ้าเมืองที่สืบทอดทางสายเลือดเป็นผ้ปู กครอง หัวเมืองประเทศราช • มีการปกครองเป็นอิสระแก่ตนเอง • ตอ้ งส่งเครือ่ งราชบรรณาการไปถวายพระมหากษตั ริยอ์ ยธุ ยา • เมืองนครศรีธรรมราช เมอื งสุโขทัย

รปู แบบการปกครอง สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ การบริหารราชการแผน่ ดินส่วนกลาง พระมหากษตั ริย์ สมหุ พระกลาโหม ดแู ลกจิ การฝ่ายทหารทั่วราชอาณาจักร สมุหนายก ดูแลฝา่ ยพลเรอื นท่ัวราชอาณาจกั ร รวมทัง้ ดแู ลจตุสดมภ์

หวั เมอื งชัน้ ใน หวั เมอื งช้ันนอก การบริหารราชการแผ่นดนิ สว่ นหัวเมือง ราชธานี หวั เมืองชั้นใน หวั เมอื งประเทศราช • ยกเลกิ เมืองลกู หลวงทั้ง ๔ ทศิ • ขยายขอบเขตโดยให้เมอื งลกู หลวงเขา้ กับเมืองในวงราชธานี เป็นเมอื งช้นั จตั วา • มีผรู้ ้งั กบั กรมการเมอื งปกครอง หัวเมืองช้นั นอก (เมอื งพระยามหานคร) • มกี ารจัดเมืองเปน็ ช้นั เอก ช้ันโท ช้นั ตรี • มีขนุ นางชน้ั สูงเป็นผ้สู า้ เร็จราชการเมอื ง หัวเมอื งประเทศราช • ลกั ษณะการปกครองยงั คงเป็นแบบเดยี วกับสมยั อยุธยาตอนต้น • เช่น เมืองทวาย ตะนาวศรี เชียงกราน เขมร

รปู แบบการปกครองสมยั อยุธยาตอนปลาย พระมหากษตั รยิ ์ สมหุ นายก สมุหพระกลาโหม หัวเมืองฝ่ายเหนอื หวั เมืองฝา่ ยใต้ (ทหาร - พลเรอื น) (ทหาร - พลเรือน) กรมสังกดั ฝ่ายทหาร กรมนครบาล กรมวงั การคลัง กรมคลงั หัวเมืองชายทะเลตะวันออก (ทหาร - พลเรือน) กรมนา

พฒั นาการด้านเศรษฐกิจ ปจั จัยท่สี ง่ เสรมิ ความเจรญิ ทางเศรษฐกิจในสมัยอยธุ ยา ๑ ทา้ เลและทต่ี ้งั ของกรงุ ศรอี ยุธยาและหวั เมืองต่างๆ ใกลเ้ คยี ง ซ่งึ เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู โดยเฉพาะการ ปลูกขา้ ว ๒ การอย่ใู กลอ้ ่าวไทย ท้าใหพ้ ่อคา้ ตา่ งชาติติดตอ่ ค้าขายกบั อยุธยาไดส้ ะดวก ๓ พระบรมราโชบายของพระมหากษตั รยิ ์ ที่ช่วยดงึ ดดู ให้พอ่ ค้าชาวตา่ งชาติเขา้ มาค้าขายกับอยธุ ยา

ลกั ษณะทางเศรษฐกิจในสมยั อยธุ ยา เกษตรกรรม • ผลิตผลทางการเกษตรทส่ี ้าคัญ คอื ข้าว นอกจากนี้ยังมีผลติ ผลจาก ป่า เช่น ไม้ฝาง นอแรด งาช้าง ครง่ั หนงั สัตว์ ยางสน ไม้กฤษณา เปน็ ตน้ การค้าขาย • เป็นการค้าขายโดยการใช้เรอื ส้าเภา ซึง่ ด้าเนนิ การโดยพระมหากษตั รยิ ์ กบั ตา่ งประเทศ พระราชวงศ์ ขนุ นาง และพ่อค้าจนี นอกจากนีย้ ังตดิ ต่อคา้ ขายกบั ชาวตะวันตกอีกดว้ ย ได้แก่ โปรตเุ กส ฮอลันดา องั กฤษ และฝรั่งเศส

การแสวงหารายได้ของแผ่นดนิ ดว้ ยการเก็บภาษอี ากร ๑ จังกอบ • รายไดท้ เ่ี กบ็ ตามดา่ นขนอนทัง้ ทางบกและทางนา้ โดยเกบ็ ชักส่วนสินคา้ ๒ อากร • รายไดท้ ีเ่ กิดจากการเกบ็ สว่ นผลประโยชน์ในการประกอบอาชีพตา่ งๆ ของ ราษฎร เช่น การท้านา ทา้ ไร่ ท้าสวน เปน็ ตน้ ๓ สว่ ย • รายได้จากสง่ิ ของ ทร่ี าษฎรนา้ มาให้กบั ทางราชการแทนการถูกเกณฑ์ แรงงาน เช่น ส่วยดีบกุ ๔ ฤชา • รายได้ทไี่ ดจ้ ากค่าธรรมเนียมที่ทางราชการเก็บจากราษฎร

พฒั นาการดา้ นสงั คม ความเป็นมาของสงั คมศักดินาสมัยอยธุ ยา ความหมายของศกั ดนิ า • ศกั ดินา หมายถงึ เคร่อื งก้าหนดสทิ ธิและหนา้ ทีข่ องบคุ คลในสงั คม เพ่ือจา้ แนกใหเ้ ห็นถึงความแตกต่างในเร่อื งสทิ ธิและหน้าที่ ของบุคคลตามศกั ดินา เชน่ ผมู้ ศี ักดินา ๔๐๐ ขึน้ ไปมสี ทิ ธิเขา้ เฝ้าได้ แตต่ ่า้ กวา่ ๔๐๐ ไมม่ ีสทิ ธเิ ขา้ เฝ้า ประโยชน์ของศกั ดนิ า • กฎหมายศกั ดินา บงั คับใชเ้ มอื่ พ.ศ. ๑๙๙๗ โดยก้าหนดให้บุคคลทุกประเภทในสังคมไทย มีศกั ดินาด้วยกนั ทั้งส้ินแตกตา่ งกัน ไปตามฐานะอ้านาจและหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบ ยกเว้นพระมหากษัตริยซ์ ึ่งมิไดร้ ะบุศกั ดนิ าเพราะพระองค์ทรงเปน็ เจ้าของศักดิ นาทัง้ ปวง • ระบบศกั ดินามีประโยชนใ์ นการควบคุมบงั คับบญั ชาผู้คนตามล้าดบั ชนั้ และมอบหมายให้คนมหี น้าทีร่ ับผดิ ชอบตามท่กี ้าหนด เอาไว้ และเมอื่ บคุ คลทา้ ผดิ ตอ่ กันกส็ ามารถใช้เปน็ หลกั ในการปรับไหมได้ เช่น ถา้ ผู้มศี กั ดนิ าสงู ท้าความผิดตอ่ ผมู้ ีศักดินาต่้ากว่า กจ็ ะปรับไหมตามศักดนิ าของผมู้ ีศักดินาสูงกวา่ ถา้ ผู้มศี ักดินาต่้ากว่าท้าผิดตอ่ ผมู้ ศี กั ดินาสูงกว่าก็ปรับไหมผู้ทท่ี ้าผดิ ตามศกั ดนิ า ของผู้ท่มี ีศกั ดินาสูงกว่า

ลกั ษณะโครงสร้างสงั คมไทยสมยั อยุธยา พระมหากษตั ริย์ พระภิกษุสงฆ์ พระประมขุ ของราชอาณาจกั ร ทรงได้รบั การยกย่องใหเ้ ปน็ สมมตเิ ทพ และทรงเป็นธรรมราชา ท้าหนา้ ท่ีในการสืบทอดพระพุทธศาสนา ได้รับการยกย่อง และศรัทธาจากบคุ คลทุกชนช้ัน พระบรมวงศานวุ งศ์ เครือญาติของพระมหากษัตริย์ มีศักดนิ าแตกตา่ งกันไปตามฐานะ ขนุ นาง บุคคลทรี่ บั ราชการแผน่ ดนิ มที งั้ ศักดินา ยศ ราชทนิ นาม และต้าแหน่ง ไพร่ ราษฎรทถี่ ูกเกณฑแ์ รงงานใหก้ ับทางราชการ ตอ้ งสังกดั มูลนาย ทาส บุคคลที่ไม่มกี รรมสิทธใิ์ นแรงงาน และชีวติ ของตนเอง ต้องตกเปน็ ของนายจนกวา่ จะได้ไถ่ตวั

พัฒนาการด้านความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ ....กับรฐั ทอี่ ย่ใู กล้เคียง ความสมั พนั ธก์ บั สุโขทยั • มีทัง้ การใชน้ โยบายการสร้างไมตรี การเผชญิ หน้าทางทหาร และนโยบายการสร้างความสัมพนั ธท์ างเครือญาติ • อยุธยาใช้การเผชญิ หนา้ ทางทหารกับสโุ ขทยั มาตัง้ แตส่ มัยสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑ (อู่ทอง) และสมัยสมเดจ็ พระบรม ราชาธริ าชท่ี ๑ (ขนุ หลวงพงัว่ ) • สมัยสมเดจ็ พระอินทราชา (เจา้ นครอนิ ทร)์ ทรงแกไ้ ขปัญหาจลาจลทสี่ โุ ขทยั ทา้ ให้สุโขทยั กลบั มาอยู่ใต้อ้านาจของ อยธุ ยา และทรงสร้างความสัมพนั ธท์ างเครอื ญาติโดยใหพ้ ระราชโอรส คอื เจ้าสามพระยาอภิเษกกับเจา้ หญิงเชื้อสาย ราชวงศพ์ ระรว่ ง • สมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงผนวกรวมสโุ ขทยั เขา้ เปน็ ส่วนหน่ึงของอยุธยา

ความสัมพันธ์กับล้านนา • เป็นการเผชิญหน้าทางทหาร ในสมัยสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ (ขนุ หลวงพง่ัว) เปน็ ตน้ มา อยธุ ยาไดร้ บกบั ล้านนา แตไ่ ม่ประสบความสา้ เรจ็ • สมยั สมเดจ็ พระชัยราชาธริ าช อยธุ ยาได้ยดึ ลา้ นนาเปน็ เมืองประเทศราช แต่สุดท้ายกต็ อ้ งเปน็ เมอื งประเทศราชของพม่า • สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อยุธยาไดล้ า้ นนากลับมาเปน็ เมืองประเทศราช • หลงั จากสมัยสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชเปน็ ตน้ ไป ลา้ นนาก็เร่มิ แยกตวั เป็นอิสระบ้าง เปน็ ประเทศราชของพม่าบ้าง ของอยุธยาบ้าง ความสัมพนั ธ์กับพม่า • สว่ นใหญ่เป็นการเผชญิ หน้าทางทหาร โดยเริม่ ต้นในสมัยสมเด็จพระชัยราชาธริ าช อยธุ ยาไดช้ ่วยเมอื งเชยี งกรานของ มอญท่ขี น้ึ กบั อยุธยารบกับพมา่ • สมัยสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธิราช พระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพทเ่ี มืองแครง • สมยั สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงท้าสงครามยุทธหตั ถีกับพระมหาอปุ ราชาของพม่า หลงั สมัยนี้ไปอยธุ ยาวา่ งเวน้ สงครามกับพมา่ จนกระทัง่ เสยี กรุงศรอี ยุธยาใน พ.ศ. ๒๓๑๐

ความสมั พนั ธ์กบั หวั เมืองมอญ • มที ้งั การค้า การผูกสมั พนั ธไมตรี และการเมือง • เม่ืออยุธยามคี วามเจริญรุ่งเรอื งทางการค้า ผูน้ า้ อยธุ ยาได้ขยายอา้ นาจเข้าครอบครองเมอื งท่าของมอญแถบชายฝ่ังทะเล อนั ดามันเพ่อื ผลประโยชนท์ างการคา้ • นอกจากนี้ อยุธยายังให้ที่พ่ึงพงิ แก่ชาวมอญที่อพยพหนีภัยสงครามจากพม่าดว้ ยเพอ่ื อาศัยมอญเปน็ ดา่ นหน้าปะทะกบั พม่ากอ่ นจะยกทพั มาถงึ อยธุ ยา ความสัมพนั ธ์กบั หัวเมืองมลายู • ลกั ษณะความสัมพนั ธม์ ีทง้ั การคา้ การเผชิญหน้าทางทหาร และการผกู สมั พนั ธไมตรี • สมัยอยุธยาตอนตน้ อยุธยาสง่ กองทพั ไปรบกบั มะละกาซ่ึงเปน็ ศูนยก์ ลางการค้าส้าคญั บรเิ วณคาบสมุทรมลายู นอกจากได้ มะละกาเปน็ เมืองข้นึ แล้ว ยังได้หวั เมืองรายทางด้วย เชน่ ปตั ตานี ไทรบุรี ซึ่งอยุธยาควบคมุ หวั เมืองมลายูผ่านทางเมือง นครศรีธรรมราช นอกจากจะไดผ้ ลประโยชน์ทางเคร่อื งราชบรรณาการแลว้ ยังไดผ้ ลประโยชน์ทางการค้าขายอีกดว้ ย

ความสัมพันธ์กับลา้ นชา้ ง • สว่ นใหญ่เป็นการผกู สมั พันธไมตรี • สมยั สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (อู่ทอง) ไทยมคี วามสมั พนั ธ์อันดีกับพระเจ้าฟ้างุม้ แหง่ ล้านช้าง • สมัยสมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ ไทยกับลา้ นช้างมีความสนิทแนบแน่นมากข้นึ เมือ่ พระเจ้าไชยเชษฐาธริ าชแห่งลา้ นช้าง แตง่ ตงั้ ทูตมากราบทลู ขอพระเทพกษัตรีไปเป็นพระอัครมเหสี แตถ่ ูกพระเจ้าบุเรงนองส่งทหารมาชงิ ตัวไปเสียก่อน จนกระท่งั เสียกรงุ ศรีอยธุ ยาคร้งั ท่ี ๑ ท้าให้ความสมั พันธ์ลดน้อยลงไป ความสัมพันธ์กับญวน • ความสัมพนั ธส์ ่วนใหญเ่ กดิ ในสมยั อยุธยาตอนปลายโดยลกั ษณะความสมั พันธจ์ ะเปน็ การเผชญิ หนา้ ทางทหาร เพอ่ื แย่งชิง ความเปน็ ใหญเ่ หนือเขมร • สมัยสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ท้ายสระ เกดิ เหตุการณ์แตกแยกภายในราชวงศ์เขมรระหว่างพระธรรมราชากบั นักแก้วฟ้าจอก จนถงึ ขน้ั ทา้ สงครามกนั อยุธยาและญวนตา่ งสนับสนนุ แตล่ ะฝา่ ย ความขดั แย้งภายในท้าให้ไทยกับญวนต้องทา้ สงคราม กัน ในที่สดุ อยุธยาชนะและไดเ้ ขมรมาอยูใ่ ต้อา้ นาจ ไมน่ านญวนกเ็ ขา้ ไปมอี ทิ ธพิ ลเหนอื เขมรอกี อยุธยาจงึ ตอ้ งยกทพั ไปตี เขมรกลบั มา

ความสัมพนั ธก์ บั เขมร • มที ัง้ การเผชญิ หนา้ ทางทหาร การเมือง และวัฒนธรรม • สมัยสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (อู่ทอง) โปรดให้พระราเมศวรและขนุ หลวงพง่ัวยกทัพไปตีเขมร ท้าให้อยธุ ยาไดร้ บั อิทธพิ ลวฒั นธรรมเขมรด้วย • สมัยสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๑ (ขุนหลวงพง่ัว) ยกทพั ไปตีเขมร • สมยั สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา) ยดึ ราชธานเี ขมรที่นครธมและทรงแต่งต้งั พระนครอนิ ทร์ พระราช โอรสไปปกครองเขมร ต่อมาถูกเขมรลอบปลงพระชนม์ • สมยั สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ เขมรได้ถือโอกาสทไ่ี ทยตดิ พนั สงครามกับพมา่ ยกทัพมาตีไทย • สมัยสมเดจ็ พระนเรศมหาราชทรงยกทัพไปตีเมืองละแวก ราชธานีเขมรขณะน้นั ได้ และหลังจากสมยั นี้ เขมรเรมิ่ ตั้งตัว เปน็ อิสระ และในตอนปลายสมัยอยธุ ยา เขมรไดอ้ อ่ นนอ้ มตอ่ อยุธยาบา้ ง ญวนบ้าง จนกระท่ังเสียกรุงใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เขมรจึงเปน็ อสิ ระ

พัฒนาการดา้ นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ ....กับดนิ แดนอน่ื ๆ ในทวปี เอเชยี ความสัมพนั ธ์กับจนี • เป็นแบบรัฐบรรณาการ ซึ่งมีความเกีย่ วขอ้ งกบั การเมอื งและการคา้ • ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริยท์ ่ีทรงขนึ้ ครองราชย์มกั จะแตง่ ต้งั คณะทตู น้าเครื่องราชบรรณาการไปยังจีน เพ่อื ให้จนี รบั รองเพ่ือผลประโยชน์ทางการคา้ และเพื่อความชอบธรรมในการเสด็จขน้ึ ครองราชย์ • ในชว่ งที่อยุธยามีปญั หาการเมืองภายในหรอื ท้าสงครามกับภายนอก ความสมั พันธจ์ ะหยดุ ชะงักชว่ั คราว เมอื่ เหตุการณ์ สงบ การตดิ ตอ่ ก็เร่ิมต้นขนึ้ อกี

ความสัมพันธ์กบั ญ่ีปนุ่ • ส่วนใหญเ่ ปน็ การค้าและการเมอื ง • สมยั สมเด็จพระเอกาทศรถ อยธุ ยามกี ารตดิ ตอ่ กับญีป่ ่นุ อย่างเปน็ ทางการ • สมยั สมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง ไดม้ กี ารปราบปรามชาวญ่ีปุ่นบางคนทีค่ ดิ กอ่ การร้าย ทา้ ใหช้ าวญ่ปี นุ่ จา้ นวนมากพา กันอพยพออกจากอยธุ ยา • แม้วา่ ตอ่ มาอยุธยาจะส่งทตู ไปเจรจาสัมพนั ธไมตรีกับญ่ีปุ่นอีก แต่ญป่ี นุ่ ไม่ยอมรบั อาจเป็นเพราะเหตกุ ารณท์ ี่ทรง ปราบปรามญป่ี ุน่ และญ่ีปนุ่ ดา้ เนินนโยบายปิดประเทศ

ความสมั พนั ธ์กบั เปอร์เซีย • ความสมั พันธจ์ ะเป็นด้านการคา้ โดยสันนิษฐานว่าอยุธยาเริ่มมคี วามสัมพันธก์ บั เปอรเ์ ซยี (ปัจจุบันคืออิหร่าน) ในสมัย สมเด็จพระเอกาทศรถ • สมยั สมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม พอ่ คา้ เปอร์เซยี ชอื่ เฉกอะหมัด ได้รบั ราชการจนมีความดีความชอบไดเ้ ป็นเจ้ากรมท่าขวา • สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช เปอรเ์ ซียส่งทตู มาเข้าเฝา้ แตห่ ลงั จากนไ้ี ปแลว้ ไมป่ รากฏหลกั ฐานถงึ การเดนิ ทาง เชื่อมสัมพนั ธไมตรรี ะหว่างอยธุ ยาและเปอร์เซยี อกี

พฒั นาการดา้ นความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศ ....กับชาติตะวันตก ความสมั พนั ธ์กบั โปรตเุ กส • มที ั้งการค้า การเมือง และวฒั นธรรม • เริม่ ตน้ ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ เมือ่ โปรตุเกสยดึ มะละกา แตม่ ะละกาเป็นประเทศราชของอยธุ ยา โปรตเุ กสจงึ สง่ ทูตมาเจรจาและทา้ สนธสิ ัญญาระหว่างกนั • นอกจากนี้ อยธุ ยายังซือ้ ปืนจากโปรตุเกสและจ้างทหารโปรตเุ กสมาเป็นทหารอาสา รวมถงึ รับวฒั นธรรมการทา้ ขนม หวานจากโปรตเุ กส อนั เป็นทีม่ าของขนมหวานไทยในปจั จุบันด้วย เชน่ ทองหยบิ ทองหยอด ฝอยทอง เป็นต้น

ความสมั พันธ์กบั ฮอลนั ดา • ทง้ั การค้าและการเมอื ง • สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ฮอลันดาส่งคณะทูตมาเจรจาและขอตั้งสถานกี ารค้าทีป่ ตั ตานี • สมัยสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม อยุธยากบั ฮอลนั ดา ได้ท้าสนธสิ ญั ญาการคา้ ระหวา่ งกัน • สมยั สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ฮอลันดาส่งเรอื รบปิดท่าเรอื ตะนาวศรี อยุธยาจงึ ตัดสิทธพิ ิเศษทางการค้า • สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชได้เกดิ ความขดั แยง้ กับฮอลนั ดา จนต้องดงึ ฝรั่งเศสเข้ามาถว่ งดุลอา้ นาจ ทา้ ใหฮ้ อลันดา ค่อยๆ ลดปรมิ าณการค้าและถอนตัวออกจากอยุธยาในทส่ี ุด

ความสมั พันธ์กบั องั กฤษ • มที ัง้ การคา้ และการเมอื ง • สมัยสมเด็จพระเจา้ ทรงธรรมทรงอนญุ าตให้องั กฤษเข้ามาตั้งสถานกี ารค้าที่กรงุ ศรอี ยธุ ยาได้ แต่ถกู ฮอลันดาขดั ขวางจน ตอ้ งปิดกจิ การ • สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชได้เรม่ิ ฟ้ืนฟูความสมั พนั ธ์อีกครัง้ เพอ่ื ดึงอังกฤษมาถว่ งดลุ อา้ นาจกับฮอลนั ดา แต่องั กฤษ ไมป่ ระสบความสา้ เรจ็ ในการแขง่ ขนั กับฮอลันดา จนเม่ือเรอื คา้ ขายของอังกฤษถูกปลน้ สะดมในน่านนา้ เมืองมะรดิ จนต้อง สรู้ บกบั อยธุ ยาทีเ่ มอื งมะริด ท้าให้ความสัมพนั ธ์ห่างเหินกนั ไป

ความสัมพนั ธ์กบั ฝรง่ั เศส • ความสมั พันธ์มที ้งั เรอ่ื งของศาสนา การค้าและการเมอื ง • สมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงต้องการใหฝ้ รัง่ เศสมาถว่ งดลุ อ้านาจกับฮอลันดา จนกระทงั่ ฝรงั่ เศสเขา้ มาตั้งสถานี การคา้ และภายหลงั ส่งคณะทตู เดนิ ทางมาอยุธยาเป็นคร้งั แรกเพอื่ เจริญสัมพนั ธไมตรี และอยธุ ยาก็สง่ คณะทตู ไป ฝรงั่ เศส ซึ่งไดร้ ับการต้อนรับอย่างดี • ภายหลังฝร่ังเศสเข้ามามอี ทิ ธิพลทางการเมืองและการทหาร จนตอ้ งมกี ารขบั ไล่ฝรง่ั เศสออกไป

ความสมั พนั ธ์กับสเปน • คอ่ นขา้ งมีนอ้ ยส่วนใหญ่จะเปน็ เรือ่ งการค้า • สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ข้าหลวงใหญ่ของสเปนทีเ่ มืองมะนิลาไดส้ ง่ ทตู มาเชอ่ื มสัมพนั ธไมตรแี ละเจรจาทางการค้า กบั อยธุ ยา • สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช มเี รอื สินค้าสเปนเดินทางจากเมืองมะนลิ าเขา้ มาคา้ ขายที่กรุงศรีอยธุ ยา แต่ปรมิ าณ การค้าไมม่ ากนัก • สมยั พระเจ้าอยหู่ ัวท้ายสระ ผ้สู ้าเรจ็ ราชการสเปนทเ่ี มืองมะนิลาสง่ ทตู เขา้ มาเจรญิ สัมพนั ธไมตรีและขออนญุ าตตัง้ สถานี การคา้ ขึน้ ใหม่ แม้การเจรจาจะประสบความส้าเร็จ แตป่ รมิ าณการคา้ ก็มิได้ขยายตัวและได้ผลตอบแทนไม่คุม้ คา่ ในท่ีสุด ความสัมพันธร์ ะหว่างสองชาตกิ ็ห่างเหินกันไป

การเสือ่ มอา้ นาจของอาณาจกั รอยธุ ยา การเสยี กรุงศรีอยธุ ยาคร้ังท่ี ๑ และการกู้เอกราช สาเหตุของการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยา คร้งั ท่ี ๑ การกู้เอกราชของกรงุ ศรีอยธุ ยา พ.ศ. ๒๑๑๒ ใน พ.ศ. ๒๑๒๗ • เกดิ ข้นึ เพราะความแตกสามัคคีภายในกรุงศรีอยธุ ยา • เกดิ ขนึ้ ในสมยั สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธิราช เมอ่ื สมเดจ็ - • พระยาจักรเี ปน็ ไสศ้ ึก พระนเรศวรซง่ึ เป็นพระราชโอรสทรงประกาศอสิ รภาพ จากพมา่ ท่เี มืองแครง ใน พ.ศ. ๒๑๒๗ • สมเดจ็ พระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพจากพมา่ โดยทรง หลั่งทกั ษิโณทกให้ตกเหนือแผน่ ดนิ (ภาพจติ รกรรมฝา ผนงั วัดสวุ รรณดาราราม จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา)

การเสียกรงุ ศรีอยุธยาคร้งั ท่ี ๒ และการกเู้ อกราช สาเหตุของการเสียกรุงศรอี ยุธยา ครง้ั ท่ี ๒ การกเู้ อกราชของกรุงศรีอยธุ ยา พ.ศ. ๒๓๑๐ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ • การขาดประสบการณใ์ นการท้าสงครามขนาดใหญ่ของ • พระยาตาก (สนิ ) ไดน้ ้าไพร่พลฝ่าวงล้อมพม่า ไปตั้งม่นั ท่ี ฝ่ายอยธุ ยา เมืองจนั ทบุรี ได้น้าไพรพ่ ลตหี วั เมืองรายทางไลม่ าจนถึง เมอื งธนบุรที พ่ี ม่าคมุ อยู่ และตามตีไปถงึ ค่ายโพธ์สิ ามต้น • การปรบั เปล่ยี นกลยทุ ธ์การรบของพม่า ด้วยการยกมาตี ซึง่ เปน็ ทพั พมา่ ทร่ี กั ษาอยธุ ยาอยจู่ นแตก อยุธยาท้ังทางเหนือและทางใต้ โดยกวาดต้อนผคู้ น เสบยี ง อาหาร เข้าลอ้ มเมอื งทัง้ ฤดูแล้งและฤดูน้าหลาก

ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ความหมายของภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญา • ความรู้ ความสามารถที่ไดจ้ ากประสบการณ์ทสี่ ั่งสมไว้ในการปรบั ตวั และการดา้ รงชีวิตในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มทาง สังคมและวัฒนธรรมทไ่ี ด้มีการพัฒนาสืบสานกนั มา วัฒนธรรม • ระบบความเชือ่ ระบบคุณคา่ และวถิ ชี วี ติ ท้งั หมด ดังนน้ั ภูมิปญั ญา ทงั้ หลายจึงไดร้ บั การสง่ั สมอยใู่ นวฒั นธรรมนน่ั เอง

ปจั จยั ทม่ี อี ิทธิพลต่อการสรา้ งสรรค์ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยธุ ยา ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์ ลักษณะทางสงั คม การรบั อิทธิพลจากภายนอก และสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม • มสี ภาพดนิ ฟา้ อากาศท่ี • เป็นสงั คมศักดินามีการนบั • การติดต่อค้าขายกับตา่ งชาติ เหมาะต่อการเพาะปลกู และ ถือพระพุทธศาสนา และ ท้าใหเ้ กดิ การเรียนรู้จากชาติ คา้ ขายจึงส่งเสรมิ ใหม้ ีการ ใช้กุศโลบายทางศาสนา ตา่ งๆ แลว้ นา้ มาปรบั ใชใ้ ห้ คดิ ค้นภูมปิ ญั ญาส้าหรบั การ เป็นเคร่อื งมือในการอบรม เขา้ กับคนไทย ประกอบอาชพี ส่ังสอนผู้คน

ตัวอยา่ งการสรา้ งสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยธุ ยา ๑ ภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยในการสรา้ งรปู แบบการปกครองให้เหมาะสมกบั คนไทย สังคมไทยในสมยั อยธุ ยามีความเช่ือว่าการปกครองบ้านเมืองต้องมีพระมหากษตั ริย์เป็นผูม้ อี ้านาจสูงสุดในการปกครอง บ้านเมอื งนับตง้ั แตก่ ารสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยาเป็นราชธานเี ปน็ ต้นมา อันเป็นผลมาจากการรับเอาคติความเชื่อว่า พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นสมมติเทพ ระเบยี บกฎเกณฑต์ ่างๆ เก่ียวกับความสา้ คญั ของพระมหากษตั รยิ ์ มหี ลายประการ • จดั ใหพ้ ระมหากษตั ริย์ทรงมที ี่ประทับสูงกว่าคนอืน่ ๆ ใหส้ มกบั ที่พระองคท์ รงเป็นสมมติเทพ • ทป่ี ระทบั ขององค์พระมหากษตั ริย์จะไมต่ ั้งอยปู่ ะปนกบั บุคคลท่วั ไป • มกี ารสร้างพระราชวังส้าหรับพระมหากษัตรยิ ์ และภายในพระราชวงั จะต้องมกี ฎเกณฑ์และพธิ ีกรรม ต่างๆ ทีแ่ สดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นสมมติเทพ โดยมพี ราหมณเ์ ป็นผู้ประกอบพระราชพธิ ีถวาย • มกี ารใชร้ าชาศพั ทส์ ้าหรบั พระมหากษตั ริย์ให้แตกตา่ งไปจากบุคคลทัว่ ไป • การวางระเบยี บแบบแผน ส้าหรับบุคคลทวั่ ไปในการปฏิบัติตนตอ่ องคพ์ ระมหากษตั รยิ ์เป็นการเฉพาะ หรือทเี่ รียกว่า กฎมณเทยี รบาล ถ้าผู้ใดละเมดิ กจ็ ะมีโทษทางอาญา เปน็ ตน้

๒ ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในการวางระบบการควบคมุ ก้าลังคน • ระบบการควบคุมกา้ ลงั คนสมยั อยธุ ยาก้าหนดใหไ้ พร่ตอ้ งสังกัดมูลนาย โดยมูลนายจะตอ้ งดแู ลและใหค้ วามคมุ้ ครอง ไพรใ่ นแต่ละกรมกอง ส่วนไพร่กต็ ้องให้ความเคารพยา้ เกรงมูลนายของตน • การควบคมุ แรงงานไพรใ่ นแตล่ ะกรมจะมีการควบคมุ เป็นล้าดับชัน้ แตล่ ะกรมจะจดั ท้าบญั ชรี ายชอื่ และที่อยูข่ องไพรท่ ่ี สงั กดั กรมของตนนอกจากนี้ยังมพี ระสรุ ัสวดี ทา้ หนา้ ทเ่ี ปน็ ผู้ถอื บัญชไี พร่ของทุกกรมและขนึ้ ตรงตอ่ พระมหากษัตริย์ • ระบบการควบคมุ ก้าลงั คนในสมยั อยุธยาทา้ ใหก้ ลุ่มคนไทยสามารถอยู่รวมกนั ไดเ้ ป็นกลมุ่ ก้อน ไมก่ ระจดั กระจาย กันออกไป และสะดวกตอ่ การเกณฑ์ไพร่พลไปท้าสงคราม

๓ ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในการสร้างทอ่ี ย่อู าศัย เรอื นสามารถแบ่งออกตามลักษณะของผู้อยอู่ าศยั ได้ ๒ ลกั ษณะ เรือนขุนนาง (เรอื นเครื่องสบั ) • เปน็ เรือนชน้ั เดียว ใต้ถุนสงู สรา้ งด้วยวัสดุท่แี ขง็ แรงทนทาน เชน่ ไมส้ กั ไม้เนอื้ แขง็ ตัวเรอื นสามารถรอ้ื ถอนแลว้ นา้ ไปประกอบใหมไ่ ด้เหมือนเดมิ เรอื นไพร่ (เรือนเครอ่ื งผูก) • เป็นเรือนชัน้ เดียว ใตถ้ ุนเตี้ย สรา้ งด้วยวัสดุไมค่ งทนถาวร เชน่ ไมไ้ ผ่ มกั ปลกู เปน็ การช่วั คราว ถ้าไพร่มีฐานะสูงก็สามารถใช้เรือนแบบขนุ นางได้ เรือนขนุ นาง (เรือนเครอ่ื งสับ)

๔ ภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยในการบา้ บดั รกั ษาคนไข้ • การแพทยแ์ ผนไทยสมยั อยธุ ยามีพืน้ ฐานมาจากความเช่อื ความรู้ ความคดิ และการยอมรบั ร่วมกนั ของคนในสังคม จนสามารถแก้ไขปญั หาสขุ ภาพต้งั แตส่ มัยอยธุ ยาจนถงึ ปจั จบุ นั • ระบบการแพทยส์ มัยอยุธยามีการจัดตง้ั หน่วยงานรบั ผดิ ชอบเปน็ สัดสว่ น มีเจ้าหนา้ ที่ท่รี บั ผิดชอบเกี่ยวกับการบา้ บัด รักษาคนไข้แตกต่างกนั เช่น โรงพระโอสถ เป็นหนว่ ยงานดแู ลยาสมุนไพร จา้ แนกหมวดหมยู่ า ควบคุมมาตรฐานและ ผลิตยา ตา้ ราแพทยห์ ลวง

๕ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในการปลูกฝงั ศลี ธรรมใหก้ ับสังคม • มกี ารใชว้ รรณกรรมของพระพุทธศาสนามาสอนคนใหร้ ้จู ักบาปบญุ คุณโทษ เช่น หนังสอื พระมาลัยค้าหลวง ซ่ึงนพิ นธ์ โดยเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศ (เจา้ ฟา้ กงุ้ ) • ปจั จบุ นั ยงั มปี ระเพณสี วดพระมาลัยหนา้ ศพทีต่ งั้ บา้ เพ็ญกุศลท่วี ดั หรือที่บา้ น หรอื พระภกิ ษสุ งฆอ์ าจน้าสาระดๆี ใน หนังสอื พระมาลยั ค้าหลวงไปเทศนส์ ัง่ สอนผู้คน

๖ ภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยด้านศลิ ปกรรม ด้านศลิ ปกรรม • สว่ นใหญเ่ ป็นสิ่งก่อสร้างในพระพทุ ธศาสนา เชน่ เจดยี ์ พระปรางค์ โบสถ์ วหิ าร มณฑป รวมถึงสงิ่ กอ่ สรา้ งทเ่ี กีย่ วข้องกบั พระมหากษตั รยิ ์ เช่น พระราชวัง พระท่ีน่ังตา่ งๆ • ศิลปกรรมอยุธยาเกดิ จากการผสมผสานระหวา่ งศลิ ปวัฒนธรรมดง้ั เดิมของคนไทย และศลิ ปวฒั นธรรมที่รบั มาจาก ภายนอก โดยเฉพาะอินเดียและจีน รวมทั้งทางตะวนั ตก • วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นวดั สา้ คัญในเขตพระราชวงั หลวงเทยี บได้กับวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม กรุงเทพมหานคร โดย สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถโปรดให้สรา้ งขนึ้ เพ่อื เปน็ ทส่ี า้ หรบั ประกอบพธิ สี า้ คัญต่างๆ จงึ เปน็ วัดที่ไม่มพี ระสงฆจ์ า้ พรรษา

ดา้ นประติมากรรม • สว่ นใหญ่นิยมสรา้ งพระพทุ ธรูป พระพุทธรปู ยคุ แรกๆ เป็นแบบอทู่ อง เช่น พระพทุ ธรปู องค์ใหญท่ ว่ี ัดพนญั เชิง จนถึงสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ศลิ ปะแบบ สโุ ขทัยได้แพร่หลายเขา้ มา ครน้ั ถงึ สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเป็นตน้ มา พระพทุ ธรปู มกั ทา้ เป็นแบบทรงเคร่อื ง มีเคร่อื งประดบั สวยงาม เช่น พระประธานวัด หนา้ พระเมรุ ทพ่ี ระนครศรอี ยธุ ยา พระพุทธรปู ทรงเครื่อง ประดิษฐานภายในอุโบสถวดั หน้าพระเมรุ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา สันนษิ ฐานว่าสร้างขึน้ ในสมัยสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง

ด้านจติ รกรรม • ส่วนใหญ่จะเก่ยี วเนือ่ งกบั พระพทุ ธศาสนา เปน็ ภาพเขียนสี นิยมเขยี นเป็นพทุ ธบูชาตามผนงั โบสถ์ วหิ าร ศาลาการเปรยี ญ ในคหู าภายในองคพ์ ระปรางค์ สถปู เจดีย์ และในสมดุ ไทย เชน่ ภาพเขยี นบนผนงั ในกรพุ ระปรางค์วัดราชบูรณะ เปน็ ตน้ ภาพพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าทรงตรสั รู้ จากวกิ พิ เี ดีย

ดา้ นประณตี ศิลป์ • มีทงั้ ประเภทเครอื่ งใช้ เคร่ืองประดบั ตกแต่ง เครอ่ื งเงิน เครอ่ื งทอง เครือ่ งไมจ้ ้าหลัก ซ่งึ ล้วนมฝี ีมอื สวยงามและประณตี เช่น เครื่องทองในพระปรางค์วดั ราชบรู ณะ เปน็ ตน้ ภาพจากสารานุกรมไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook