Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู ม.2.1.1.1

ใบความรู ม.2.1.1.1

Published by nuttsead26, 2021-10-15 07:06:00

Description: ใบความรู ม.2.1.1.1

Search

Read the Text Version

วิทยาลยั นาฏศลิ ปน์ ครศรธี รรมราช ใบงานและเอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ รายวิชา ปพ่ี าทย์ 3 เครอื่ งหนงั รหสั วชิ า ศ 22209 ภาคเรียนท่ี 1 นายณัฐเศรษฐ ดาเนนิ ผล ผู้จดั ทา กลมุ่ สาระการเรียนรปู้ ่ีพาทย์ ภาควชิ าดรุ ิยางค์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลปน์ ครศรธี รรมราช สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ กระทรวงวัฒนธรรม

ใบความร้ทู ่ี 1 ตะโพน ตะโพนไทย เปน็ เครอ่ื งตีประเภทกำกับจงั หวะหนำ้ ทบั ซึง่ ขงึ หรอื ห้มุ ด้วยหนังทัง้ สองหน้ำ ตดี ว้ ยมอื ทั้ง สองข้ำง พบหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์บง่ บอกให้รวู้ ่ำ เกิดขึ้นในสมัยสุโขทัย บรรเลงผสมในวงปี่พำทย์เครอ่ื ง ห้ำ มีหน้ำท่ีตีกำกับจังหวะหน้ำทับ เพื่อบอกสัดส่วน ประโยค วรรคตอนและอัตรำของทำนองเพลง \" ๒ \" นอกจำกนั้นยังช่วยให้กำรบรรเลงร่วมวงแต่ละครั้งครึกคร้ืน สนุกสนำนเร้ำใจ มีวิธีตีอยู่ 2 แบบๆหน่ึง ตีเป็น อิสระ มีหน้ำทับท่ีตีคนเดียวอีกแบบหน่ึง ตีสอดสลับ หรือตีท้ำให้กลองทัดรับตำมแบบแผนของหน้ำทับที่มีมำแต่ โบรำณ ตะโพนมีส่วนประกอบดงั นี้ หุ่นตะโพน ทำด้วยไม้เป็นต้น เช่นไม้สัก ไม้มะริดหรือไม้ขนุน เป็นต้น ขุดแต่งภำยในให้เป็นโพรง ตรงกลำงป่อง เรียกว่ำ \" กระพุ้ง \" หน้ำใหญ่เรียกว่ำ \" หน้ำเท่ง \" หน้ำเล็ก เรียกว่ำ \" หน้ำมัด \" ท่ีตรงกลำง กระพุง้ ด้ำนหนงึ่ เจำะรูใส่ตะขอ 2 อันสำหรับผกู หนังเลียดยึดหุ่นติดกบั เท้ำตะโพน ทั้งหมดมีลกั ษณะนำมเรียกว่ำ \" หนุ่ กลอง \" หนังหน้ำตะโพน และหนังเลียด ทำด้วยหนังวัว หรือหนังควำย รีดให้บำงตัดเป็นวงกลม ใช้ \" ใส้ ละมำน \" ซึ่งทำดว้ ยหนงั เสน้ เลก็ ๆคว้ันเป็นเกลียวถกั เจำะผ่ำนหนงั หนำ้ ตะโพนเป็นวงรอบ และใช้หนังตดั เป็น แถบเสน้ เลก็ เรยี กวำ่ \" หนงั เลียด \" ร้อยผำ่ นใสล้ ะมำน เพ่ือโยงหรือขงึ เป็นสำยเร่งเสยี ง ระหว่ำงหนำ้ ตะโพนท้ัง สอง ตรงกลำงทีเ่ ป็นกระพุ้ง จะใชห้ นังเลยี ดอกี เสน้ หนง่ึ มำพนั โดยรอบ บำงครัง้ สอดสลบั เปน็ ลวดลำยเรียกวำ่ \" รัดอก \" เพ่อื ยดึ ไมใ่ ห้สำยโยงเรง่ เสียงหยอ่ นตัวลงเรว็ ตรงกลำงทีร่ ัดอกตอนบน ใช้สำยหนังเลียดเสน้ สน้ั ๆมำ ขมวดพนั รอบตวั เอง สำหรับ เป็น \" หูหิ้ว \" และดำ้ นลำ่ งจะใช้หนังเลียดเส้นส้ันๆ อกี เส้นหนง่ึ ผูกพันกับสำยโยง เร่ยงเสียงให้ยึดตดิ กับขำ หรือเท้ำตะโพน ทำรักสีดำเป็นวงกลมท่ีหน้ำหนังทงั้ สอง เพ่ือเป็นท่ีติดเข้ำสุกถ่วงเสียง และบริเวณขอบกลองทัง้ สองกท็ ำรักเพ่ือรกั ษำหนำ้ หนัง เท้ำตะโพน ทำด้วยไม้หนำ มีลักษณะคล้ำยพำน รองรับหน้ำตะโพนทั้งสอง ด้ำนบนคว้ำนโค้งเป็นรูป พระจันทรค์ รึ่งซกี โคง้ ตำมหน้ำของตะโพน ดำ้ นลำ่ งตัดตรง สำหรบั วำงลงกบั พ้นื ระหว่ำงไมร้ องรับหนำ้ ตะโพน ทั้งสอง จะยึดด้วยไม้ส่ีเหล่ียม โดยเจำะผ่ำนเท้ำกลอง มีลักษณะยำวตรง บำงเท้ำตรงกลำงโค้งขึ้นเล็กน้อย เพ่ือใส่ เหลก็ ห่วงกลม 2 อนั สำหรบั ร้อยเชือกยดึ กบั ห่นุ กลอง สำหรับวงปี่พำทยท์ ่ีประกอบงำ หรือแกะประดับมุข เท้ำตะโพนก็จะประกอบงำและประดับมุขไป ดว้ ย หลกั การตตี ะโพน ผู้ตีนั่งในท่ำขดั สมำธิ หรอื พับเพยี บ ลำตัวตรง ไมก่ ้มหนำ้ มำกเกินไป อยรู่ ะหว่ำงกลำงตะโพน ให้หวั เข่ำทั้งสองชิดเท้ำตะโพน(ด้ำนใน)หน้ำอกห่ำงประมำณ 1 คืบ มือขวำอยู่ทำงหน้ำรุ่ย ( หน้ำใหญ่ ) และมือซ้ำยอยู่ ทำงหน้ำมดั (หน้ำเลก็ ) โดยปรกติประเพณีนิยม จะใช้มือขวำตีหน้ำรุ่ย และมือซ้ำยตีหน้ำมัด ทั้งสองหน้ำมีลักษณะและ วธิ กี ำรตี ดงั นี้ หน้ำรุ่ย ตีดว้ ยฝำ่ มือ ให้น้วิ ท้ังส่ี ( ช้ี นำง กลำง กอ้ ย) เรยี งชิดติดกัน ตีลงบน หน้ำหนัง โดยใหก้ ลำงองุ้ มอื อยรู่ ะหว่ำงขอบตะโพน หรอื ระหว่ำงใสล้ ะมำน(ด้ำนชิดตวั ผู้ตี) และให้ปลำยนิว้ ที่เรียง ชดิ ติดกันอย่บู ริเวณใตข้ ้ำวสุกเล็กนอ้ ย

หน้ำมัด ตีด้วยมือซ้ำย ให้น้ิวทั้งส่ีท่ีเรียงชิดติดกัน ตีลงบนหน้ำหนัง โดยให้โคนนิ้วท้ังส่ีอยู่ระหว่ำงขอบ ของตะโพน หรือระหว่ำงใส้ละมำน (ด้ำนชดิ ตวั ผ้ตู ี) และใหป้ ลำยน้ิวท้ังส่ีช้ีตรงไปยงั จุดกึ่งกลำงของหน้ำหนัง ( หรือ ชี้เป็นมมุ ฉำกกับขอ้ ศอก ) ทั้งสองมือตีด้วยวิธีกำรท่ีเรียกว่ำ \" เปิดมือ \" คือตีแล้วยกมือขึ้นในทันที และตีด้วยกำร \"ปิดมือ) คือตี แลว้ กดหรือแนบมือชิดไว้กบั หนำ้ หนงั บำงครัง้ ตีทีละมือ ทีละ หนำ้ บำงครงั้ ตสี องมือและสองหน้ำพรอ้ มกัน วธิ ีตีตะโพนไทย จำกหลกั กำรดงั กล่ำวกอ่ ให้เกิดวิธีตี และเสียงทเี่ ป็นพ้ืนฐำนตำ่ งกัน 12 เสียง และพิเศษอกี 3 เสยี ง เสยี งมำตรฐำน 1. เสยี งเท่ง (หรือเทิง่ ) ใช้มอื ขวำท่ีน้วิ มอื ท้งั สี่เรยี งชิดติดกัน ตลี งบนหนำ้ รยุ่ ดว้ ยกำลงั พอประมำณ แลว้ เปิดมือออกทนั ที เพอื่ ให้เสียงกงั วำน 2. เสียงเทดิ ใช้มือขวำที่นิว้ มือทงั้ ส่ีเรียงชดิ ติดกันตีลงบนหน้ำรุ่ยดว้ ยกำลงั พอประมำณ แลว้ หำ้ มเสียง โดยยังคงยั้งมอื ปิดแนบไว้กับหนงั หนำ้ ตะโพน 3. เสียงถะ ใช้มือขวำที่น้ิวมือทั้งสี่เรียงชิดติดกัน ตีลงบนหนังหน้ำรุ่ย พร้อมท้ังกดมือห้ำมเสียงมิให้ กังวำน 4. เสียงป๊ะ ใช้มือขวำ (ท้ังฝ่ำมือ) ที่น้ิวมือแยกออกจำกกัน ตีลงบนหนังหน้ำรุ่ยที่บริเวณชิดใต้ข้ำวสุก ดว้ ยกำลังแรง แลว้ สะบดั ปลำยนวิ้ หำ้ มกำชับมิใหเ้ สียงกังวำน 5. เสียงติง ใช้มือซ้ำยที่น้ิวมือท้ังสี่เรียงชิดติดกัน ตีลงบนหนังหน้ำมัด ด้วยกำลังพอประมำณ ตีแล้วเปิด มือออกทนั ที เพื่อใหเ้ สียงดงั กังวำน 6. เสยี งตืด ใชม้ ือซ้ำยที่น้วิ มือท้ังส่เี รียงชิดตดิ กัน ตลี งบนหนงั หน้ำมัดด้วยกำลังพอประมำณ แตห่ ้ำม เสยี งโดยมิให้กังวำนมำก ทง้ั นีด้ ้วยกำรใชป้ ลำยน้วิ ทง้ั ส่แี นบหนำ้ หนงั ไวเ้ ลก็ นอ้ ย 7. เสียงตุ๊บ ใช้มือซ้ำยท่ีกระชับนิว้ มอื ทั้งส่ีท่ีเรียงชิดติดกัน ตีลงบนหน้ำมัด แล้วห้ำมเสียงทันทีโดยกดนวิ้ มอื ทั้งสไ่ี วก้ ับหนำ้ หนงั 8. เสียงพรึง ใช้มือท้ังสองตีลงบนหน้ำหนังทั้งสองด้ำนพร้อมกัน แล้วเปิดมือทันที ท้ังน้ีต้องให้เสียงท้ัง สองหนำ้ ดังกลมกลืนกัน 9. เสียงพริง ใช้มือท้ังสองตีลงบนหน้ำหนังพร้อมกัน เหมือนกับกำรตีเสียงพรึง แต่เปิดมือซ้ำยและใช้ มือขวำประคองเสยี งหนำ้ รยุ่ ไว้ เพ่อื ใหเ้ สียงจำกมอื ซำ้ ยตีหนำ้ มัดดงั กว่ำ 10. เสียงเพริ่ง ใช้มือทั้งสองตีลงบนหน้ำหนัง พร้อมกันด้วยกำลังแรง(โดยเฉพำะมือขวำที่หน้ำรุ่ย ) แล้ว เปิดมือออกทันทีเพื่อให้เสยี งดังกังวำน 11. เสียงเพริด ใช้มือท้ังสองตีลงบนหน้ำหนังกลองพร้อมกันด้วยกำลังแรง และห้ำมเสียงในทันทีโดย แนบมอื ชดิ ไว้กับหน้ำหนงั 12. เสียงพรดื ใชม้ ือท้ังสองตีลงบนหนงั หน้ำกลอง พร้อมกันด้วยกำลังแรงพอประมำณ โดยยง้ั มอื ขวำที่ตี หน้ำรยุ่ ใหเ้ บำกวำ่ แล้วห้ำมเสยี งโดยมใิ หก้ ังวำนมำก เสยี งพเิ ศษ 1. เสียงปลง๊ั ใช้มอื ทง้ั สองตลี งบนหน้ำหนังพร้อมกัน โดยอัดกำลงั อย่ำงแรงแลว้ เปดิ มือออก เปน็ เสยี งท่ี ผู้ตีสำมำรถตไี ด้ตำมใจชอบ แต่จะต้องใชใ้ ห้เหมำะสมกบั ทว่ งทำนองเพลง ส่วนใหญจ่ ะใช้ตีในคำพำกย์โขน 2. เสียงแดน้ ใช้มอื ทัง้ สองตีลงบนหน้ำหนัง พรอ้ มกันในลักษณะกดมือนำบลงไปบนหน้ำหนัง 3. เสียงจ้ำ ใช้มอื ทงั้ สองตลี งบนหน้ำหนงั พร้อมกนั ในลักษณะอดั กำลงั เข้ำหำกนั แล้วเปิดมือออก หน้ำทับทต่ี ะโพนไทยตเี ป็นพ้นื ฐำนคือ

1. หนำ้ ทบั ปรบไก่ 2. หน้ำทบั สองไม้ 3. หนำ้ ทับในชดุ โหมโรงเชำ้ และโหมโรงเยน็ อีกส่ิงหน่ึงของผู้ตตี ะโพนไทยตอ้ งรู้ และปฏิบตั ิได้ ด้วยตัวเองคอื วิธีกำรบดข้ำวสกุ ผสมกบั ขี้เถำ้ ปรกติ ใช้ขเ้ี ถำ้ ฝืน โดยเฉพำะขีเ้ ถ้ำทีเ่ ผำมำจำกหัวตะโหงกมะพร้ำว จะมอี ำยกุ ำรใชง้ ำนที่ยำวนำน ไม่บูดเร็ว วธิ ีบดข้ำว สกุ กค็ ือนำข้ำวสกุ กบั ขเี้ ถ้ำบดผสมกนั ใหเ้ มด็ ขำ้ วละเอยี ด ผสมให้ได้สว่ น เมื่อเวลำตไี มต่ ิดมือ ติดท่หี นำ้ หนัง บรเิ วณวงกลมท่ที ำรัก ตดิ ให้กลมสวยงำม และให้ได้เสียงท่ีไพเรำะพอดีกบั หนำ้ หนงั แบบฝึกทกั ษะการไลม่ ือ - - - พรงึ - - - เทง่ แบบที่ 1 ---- - - - ฉบั - - - - - - - ตบุ๊ - - - - - - - ฉิ่ง แบบท่ี 2 - ป๊ะ -ตบุ๊ - ตงิ -ตบุ๊ - ถะ - ตบุ๊ - ตงิ - ตบุ๊ - ป๊ะ - ตบุ๊ - ตงิ - ตบุ๊ - เทง่ - ตบุ๊ - ตงิ - ตบุ๊ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉ่งิ - - - ฉบั - - - ฉิ่ง - - - ฉบั - - - ฉง่ิ - - - ฉับ แบบท่ี 3 - ตบุ๊ -ป๊ะ - ตงิ - เถะ - ตบุ๊ - เทง่ - ตงิ - เถะ - - - ฉง่ิ - - - ฉบั - - - ฉ่ิง - - - ฉับ แบบที่ 4 - เท่งเทง่ ตงิ - ป๊ะ - ตบุ๊ - ป๊ะ - ตบุ๊ - ป๊ะ- ตงิ - - - ฉ่งิ - - - ฉับ - - - ฉ่ิง - - - ฉบั

ใบความรทู้ ี่ 2 กลองทัด กลอดทัด เป็นเคร่ืองตีประเภทกำกับจังหวะหน้ำทับ ที่ขึงหรือหุ้มด้วยหนังท้ัง 2 หน้ำ แต่ใช้ตีเพียง ข้ำงเดียวพบหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์บ่งบอกว่ำใช้ตีคู่กันมำกับตะโพนในวงปี่พำทย์เครื่องห้ำสมัยกรุงสุโขทัย มี หน้ำที่เป็นเครื่องกำกับจังหวะหน้ำทับเช่นเดียวกับตะโพน เดิมมีลูกเดียว ต่อมำในสมัยรัชกำลที่ 1 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์จึงเพิ่มข้ึนเป็น 2 ลูกเป็นคู่กัน ลูกหน่ึงมีมีเสียง ต่ำเรียกว่ำ \" ตัวเมีย \" อีกลูกหนึ่งมีเสียงสูงเรียกว่ำ \"ตัวผู้\" เพื่อให้เสียงดังไพเรำะ หนังหน้ำกลองด้ำนล่ำงจะติดข้ำวสุกผสมขี้เถ้ำ เป็นเคร่ืองถ่วงเสียง เวลำตีจะต้ังอยู่ บนหมอนกลอง และค้ำด้วยขำหยง่ั ตีด้วยไมก้ ลองด้วยมือข้ำงละอนั ขนำดของกลองทัดจะใหญห่ รอื เลก็ ขึ้นอยู่กับหุ่น ทผี่ ู้สร้ำงต้องกำร โดยเฉพำะลกู ใหญเ่ สียงก็จะดงั มำกกวำ่ ลูกเล็ก ส่วนประกอบดงั นี้ หุ่นกลอง ทำด้วยไม้ท่อนขนำดใหญ่ ทรงกลม กลึงให้ได้รูป และสัดส่วนที่ต้องกำร แล้วขุดแต่งให้ เป็นโพรงภำยใน ตรงกลำงหุ่นแต่งให้เป็นกระพุ้งเล็กน้อย และตรงกลำงของ กระพุ้งจะติด \" หูระวิน \" ซ่ึงทำ ดว้ ยโลหะเป็นรูปหว่ งกลม สำหรับคล้องกบั ขำหยง่ั ให้หนำ้ กลองท้ังสองเอียง เพือ่ ตีไดส้ ะดวก ขำหยั่งกลอง ทำด้วยไม้ไผ่หลวก 2 อัน เหลำให้กลมยำวเล็ก ตอนบนเจำะรูร้อยเชือกติดกัน ตอนล่ำงตอกตะปู ให้แหลมออกมำเล็กน้อย เพื่อตอกยึดติดกับพื้น เวลำตั้งตีจะไม่ล่ืน มีขำหย่ังบำงอันได้สร้ำงข้ึนอย่ำงปรำณีต สวยงำมคือ ทำด้วยไม้สัก ตอนล่ำงเป็นฐำนรองรับ ขอบและตัวกลอง โดยเว้ำเป็นรูปพระจันทร์ครึ่งซีก บำก ปลำยให้รับกับขอบกลอง ด้ำนหลังกลึงเป็นเสำสี่เหลี่ยมตั่ง ตรงปลำยกลึงเป็นลักษณะลูกแก้ว มีขอกลมตอกยึด เพอ่ื ผูกเชือกยึดกับหรู ะวิน ให้หน้ำกลองเอยี งได้ระดับที่ต้องกำร หมอนกลอง ทำดว้ ยทอ่ นไมเ้ ล็กๆ ยดึ ติดกนั หรือทำด้วยผำ้ พนั เป็นวงกลม 2 อนั เพ่อื รองรบั ขอบกลองให้ อยู่ในตำแหนง่ ทตี่ ไี ดส้ ะดวก ไมเ่ ลื่อนหรอื คลอนงำ่ ย หนังหนำ้ กลอง ทำด้วยหนงั วัว หรอื หนังควำย รีดบำงเปน็ แผน่ ผืนกลม เลก็ ใหญ่ตำมขนำดของหน้ำกลอง ตรึงด้วย หมุด เรียกว่ำ \" แส้ \" ซ่ึงทำด้วยไม้ กระดูก หรืองำ หัวกลมปลำยแหลม โดยรอบหนังหน้ำกลอง บำงลูกมี \" แหน \" ซึ่งทำด้วยหวำยถักพันรอบขอบกลอง ที่กลำงหน้ำหนังจะทำรักเป็นวงกลม เพ่ือเป็นจุดลงไม้กลอง ด้ำนล่ำงสำหรับติดข้ำวสุกผสมข้ีเถ้ำ ให้ได้เสียงกลองท่ีไพเรำะ และท่ีขอบกลองท้ังล่ำงและบนจะทำรักโดยรอบ เพอ่ื รักษำหนงั ไม้ตีกลอง ทำด้วยไม้ไผ่ลวก หรือไม้ชิงชัน 2 อัน เหลำให้กลมเล็กยำวขนำดพอเหมำะมือ มนปลำยให้ กลมเล็กนอ้ ย บำงอนั พันผำ้ ท่หี ัวไม้เพ่อื ใหเ้ สียงน่มุ นวล และรกั ษำหนำ้ กลอง ข้ำวสุกติดหนำ้ กลอง ทำด้วยขำ้ วสกุ บดผสมข้ีเถ้ำฝืน ข้เี ถำ้ ที่ดีท่ีสุดคือ ขเี้ ถ้ำทเ่ี ผำมำจำกตะโหงกมะพรำ้ ว เพรำะ ขเ้ี ถ้ำชนดิ นี้ มีอำยุใชง้ ำนยำวนำนได้นำนกว่ำข้เี ถำ้ ชนดิ อื่นๆ กลองทัดบำงคู่ได้ประดิษฐ์ขึ้นอย่ำงปรำณีตสวยงำม โดยเฉพำะวงปี่พำทย์ท่ีประกอบงำ ประดับมุข กลองทัดกจ็ ะประกอบงำและประดับมุขไปด้วย แม้แตห่ มอนก็ยงั ประกอบงำและฝังมุขตำมไปดว้ ย หลักกำรตกี ลองทัด ผู้ตีน่ังขัดสมำธิ ลำตวั ตรงไมก่ ้มหรือเงยหน้ำเกนิ ไป นง่ั ระหวำ่ งก่งึ กลำงกลองทดั ท้งั สองลูก ผู้ตหี ันหนำ้ เข้ำหำกลอง โดยกลองลูกท่มี ีเสียงสงู อยทู่ ำงขวำ และลูกท่มี เี สียงตำ่ อยูท่ ำงมือซำ้ ยของผ้ตู ี - จบั ไมต้ ดี ว้ ยมอื ทง้ั สองข้ำง โดยใช้นวิ้ ทั้งหำ้ กำบริเวณปลำยดำ้ มไม้ ในลักษณะท่หี ัวแม่มือเหยยี ดตรงอยู่ ที่ดำ้ นบนของดำ้ มทง้ั นใ้ี ห้ปลำยด้ำมโผล่เลก็ นอ้ ย และจบั ไม้ไม่แน่นเกินไป มีลักษณะกำรตีดังน้ี - ต้องตีให้ปลำยหัวไม้ลงบนหนังหน้ำกลอง ใกล้จุดกึ่งกลำงท่ีทำรัก หรือกลำงจุดก่ึงกลำง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ หนำ้ กลองแต่ละลกู

- ต้องตีด้วยกำรใช้น้ำหนักมือทีเ่ หมำะสมกบั หนำ้ กลองแตล่ ะลูก - ตีกลองด้วยมือขำ้ งละลูก ปรกติใช้มือซำ้ ยตตี วั เมียเสียงต่ำ และมอื ขวำตกี ลองตัวผเู้ สียงสงู - เวลำตียกด้ำมไมใ้ หม้ ืออยู่ท่ปี ระมำณระดบั หู - ตสี ลบั มือทกี่ ลองลกู เดยี ว หรือทัง้ สองลูก ท่ี เรยี กวำ่ \" เลน่ ไม้ \" - ตีได้เสียงดงั เสมอกนั ทง้ั สองลกู โดยกำรประคบมอื หรือทเี่ รยี กว่ำ \" สงมือ \" - ตพี รอ้ มกนั ท้ังสองลูก ดว้ ยน้ำหนักและเสยี งดังประมำณกนั จำกหลักกำรดงั กล่ำว กอ่ ให้เกิดวิธตี ีกลองทัดทเ่ี ปน็ พืน้ ฐำน ๒ อยำ่ งคือ 1. กำรตเี สียงต่ำงๆ 2. กำรดำเนนิ จงั หวะ กำรตเี สียงต่ำงได้แก่ - เสียงตูม คือตีด้วยมือขวำลงบนหน้ำหนัง กลองตัวผู้ (สูง)ด้วยกำลังท่ีพอเหมำะกับหน้ำกลองหรือ ขนำดของกลอง เมื่อตีลงแต่ละคร้ังจะยกมอื ขนึ้ ทนั ทีเพอื่ ใหเ้ สยี งกังวำน (กำรตีสงมือ) หมำยเหตุ กำรตีเสียงตูมเพียงเสียงเดียวตอ้ งใช้มอื ขวำ - เสยี งตอ่ ม คือตีดว้ ยมือซ้ำยลงบนหน้ำหนังกลองตัวเมีย (ตำ่ ) ด้วยกำลังทีพ่ อเหมำะกบั หนำ้ หนงั หรอื ขนำดของกลอง ตีลงแต่ละครง้ั แลว้ ยกข้นึ ทนั ที เพ่อื ใหเ้ สียงกังวำน หมำยเหตุ กำรตีเสียงตอ่ มเพยี งเสียงเดยี วต้องใช้มอื ซ้ำย - เสียงครึ่ม คือกำรตีพร้อมกันท้ัง 2 ลูกด้วย 2 มือข้ำงละลูก ในลักษณะกำรตีเสียงตูมและเสียงต่อม โดยให้เสยี งท้ัง 2 ลกู ดงั ประมำณกัน - เสียงดูด คือกำรตีสองมือลงที่ลูกเดียวกัน แต่มือซ้ำยห้ำมเสียงโดยกดไม้ตีลงกับหน้ำกลอง ส่วนมือ ขวำตีแบบเปิดมอื กำรดำเนนิ จังหวะ ตำมปรกติกลองทัดจะตีควบคู่ไปกับตะโพนไทย โดยท่ีตะโพนมีตีตำม \"หน้ำทับ\"ที่กำหนด ส่วนกลองทัด จะตตี ำม \"ไม้กลอง\" ทีก่ ำหนด ไดแ้ ก่ - ไมเ้ ดนิ คือกำรตกี ลองทดั ที่มจี งั หวะ ระยะห่ำงเทำ่ กันทกุ ไม้ จะช้ำหรือเร็วขึน้ อยกู่ ับทำนองเพลง - ไม้ลำ คอื กำรตกี ลองทัดท่ีมีพยำงค์ถี่ หรอื กระช้ันกวำ่ ไม้เดิน ไมส่ มำ่ เสมอ อำจลงตรงจงั หวะหรือลัก จังหวะก็ได้ ทัง้ นขี้ นึ้ อยู่กับหนำ้ ทับของตะโพนทใี่ ช้กบั บทเพลงน้นั ๆ - ไม้รัว คอื กำรตีสลบั มอื ดว้ ยพยำงค์ถแ่ี ละเรว็ ซ่งึ จะตีในลูกเดียว - เล่นไม้ คือกำรตีสลับมอื ทีย่ กั เย้ืองออกไปจำกหนำ้ ทบั ทกี่ ำลงั ตีอยู่ - ไม้กลองตำมหน้ำทบั คือกำรตีกลองทดั ตำมหน้ำทับตำ่ งๆตำมที่บัญญตั ิไว้ หน้ำทับทีใ่ ช้ตกี ับกลองทัด สว่ นมำกจะเปน็ หนำ้ ทับ พิเศษ โดยเฉพำะทต่ี กี ำกบั ในเพลงชุดโหมโรงเช้ำและ โหมโรงเย็น ซ่ึงมีตะโพนตีท้ำนำ และสอดสลบั กบั ไมก้ ลองโดยตลอด ผู้ตีนั่งท่ำขัดสมำธิ ลำตัวตรง อยู่กึ่งกลำงกลองทั้งสอง จับไม้ข้ำงละอัน โดยกำให้หลวม ปลำยโผล่ เล็กนอ้ ย โดยปกติใชม้ อื ซำ้ ยตเี สยี งตำ่ และมือขวำตเี สยี งสูง ใชก้ ำลังสว่ นทอ่ นแขนและข้อมือ ตีลงระหว่ำงจุดท่ีทำรัก เพ่ือให้ได้เสียงท่ีไพเรำะ ต้องใช้กำรตีที่ประคบมือ คือกำรใช้กำลังกล้ำมเน้ือ และน้ำหนักท่ีพอดีกับหน้ำกลองดังท่ี เรียกวำ่ \" ตีสงมือ \" และจำกหลักกำรตีกลองทดั ดงั กลำ่ ว ก่อให้เกดิ วิธีตีกลองทัดอีก 3 แบบดงั นี้ 1. ตีด้วยมือข้ำงละลูก คือกำรใช้มือซ้ำยตีลงที่ตัวเมียเป็นเสียง \" ต่อม \" และใช้มือขวำตีตัวผู้ เป็นเสยี ง \" ตมู \"

2. ตีสลบั มือลงทกี่ ลองลกู เดยี ว หรอื สองลูก คือ กำรสลับมอื ขวำไปตีเสยี งต่ำ หรือสลบั มือซ้ำยมำตเี สยี ง สงู ในลักษณะทเ่ี รียกว่ำ \" เล่นไม้ หรือ รวั \" 3. ตีพรอ้ มกันท้ังสองลกู คือกำรใช้มอื ซำ้ ยและมือขวำตีลงที่กลองทง้ั สองลูกพรอ้ มกัน ให้มนี ้ำหนกั ประมำณกัน โดยมำกจะใชต้ ีในเพลงกรำวรำ และเพลงนำงหงส์

ใบความรู้ท่ี 3 เพลงสรรเสริญพระบำรมี ประวัติควำมเปน็ มำของ เพลงสรรเสรญิ พระบำรมี จุดเร่ิมในสมัยกรุงศรีอยุธยำ ได้มีกำรบรรเลงเพลงที่มีลักษณะคล้ำยเพลงสรรเสริญใช้ในเวลำท่ี พระมหำกษัตริย์เสด็จออกท้องพระโรงและเสด็จข้ึน ซึ่งเพลงสรรเสริญในสมัยนั้นมีบทบำทเทียบเท่ำเพลงชำติไทย ในสมยั นน้ั เลยทีเดยี ว ตอ่ มำในสมัยรำชกำลท่ี 4 ได้นำทำนองเพลง God save the king ขององั กฤษมำบรรเลงเป็น เพลงสรรเสริญพระบำรมี เพ่ือถวำยควำมเคำรพต่อพระมหำกษัตริย์ ประพันธ์คำร้องโดย พระยำศรีสุนทรโวหำร (น้อย อำจำรยำงกรู ) มีชอ่ื ว่ำ “เพลงจอมรำชจงเจริญ” คร้ันในสมัยของพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั เสดจ็ เยือนประเทศสิงค์โปรและเกำะชวำ ทำง ทหำรอังกฤษได้บรรเลงเพลง God save the king เป็นเพลงเกียรติยศรับเสด็จ จึงทำให้ประเทศไทยและประเทศ องั กฤกใช้บทเพลงสรรเสรญิ พระบำรมีเดียวกัน ดว้ ยเหตุกำรณ์นเี้ องพระองคจ์ ึงโปรดให้คณะครูดนตรีไทยแต่งเพลง ขึ้นมำใหม่ ครูดนตรีไทยจึงนำเพลงบุหลันลอยเล่ือย เพลงในพระรำชนิพนธ์สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอเจ้ำฟ้ำพระ ยำนริศรำนุวัฒวงศ์ มำใช้ แต่ด้วยเพลงสรรเสริญพระบำรมีจ ะนำไปใช้ในพิธีกำรต่ำงๆทั้งในประเทศและ ต่ำงประเทศ พระองค์มีควำมประสงค์ให้บทเพลงนี้ดูทันสมัยตำมแบบชำวตะวันตกจึงได้ให้นำยเฮวุด เซน (Heutsen) เรียบเรียงทำนองขน้ึ มำใหม่และนำมำใช้บรรเลงต้งั ปี พ.ศ. 2414-2431 เพลงสรรเสริญพระบำรมีได้ถูกแต่ง เรียบเรียง และปรับเปลี่ยนเนื้อเพลงอยู่หลำยครั้งหลำยครำ และถูก แต่งให้มีหลำยเน้ือร้องเพ่ือใช้เฉพำะในกลุ่ม เช่น กลุ่มทหำรเรือ กลุ่มนักเรียนหญิง เป็นต้น จนในสมัยของ พระบำทสมเด็จพระมงกฏเกล้ำเจ้ำอยู่หัว รัชกำลท่ี 6 ได้นำผลงำนเพลงสรรเสริญพระบำรมีของปโยตร์ ชูรอฟสก้ี (Pyotr Schurovsky) ผ้ปู ระพันธ์ทำนอง และ สมเดจ็ พระเจำ้ บรมวงศ์เธอเจ้ำฟ้ำพระยำนริศรำนุวัตวงศ์ ผปู้ ระพันธ์ เน้ือร้อง มำปรับเปลี่ยนคำร้องเสียใหม่ โดยเปลี่ยน คำสุดท้ำยของเพลงจำกเดิมคือ “ฉะนี้” เป็น “ชโย” ทรง ประกำศใชใ้ น วนั ท่ี 1 มนี ำคม พ.ศ.2456 และใชเ้ ร่ือยมำจนถงึ ปจั จบุ นั เน้อื เพลงสรรเสรญิ พระบำรมี ข้ำวรพุทธเจ้ำ เอำมโนและศิระกรำน นบพระภมู ิบำล บุญดิเรก เอกบรมจักรนิ พระสยำมินทร์ พระยศย่งิ ยง เย็นศิระเพรำะพระบรบิ ำล ผลพระคุณ ธ รกั ษำ ปวงประชำเปน็ สขุ ศำนต์ ขอบนั ดำล ธ ประสงค์ใด จงสฤษด์ดิ งั หวังวรหฤทัย ดุจถวำยชัย ชโย ควำมหมำยของ เพลงสรรเสริญพระบำรมี ควำมหมำยโดยรวมของบทเพลงสรรเสริญพระบำรมีนั้นคือ “ข้ำพระพุทธเจ้ำทั้งหลำยขอกรำบไหว้พระองค์ผู้มีบุญญำธิกำรซึ่งพระองค์ท่ีปกครองปวงชนให้เป็นสุขด้วยใบบุญ ของพระองค์ ประชำชนจึงสำนึกในพระมหำกรุณำธิคุณ จึงของบันตำลให้พระองค์สมประสงค์ในทุกสิ่งเป็นกำร ถวำยพระพรชัยแด่พระองค์” เป็นบทเพลงที่แสดงถึงควำมรู้สึกที่ปวงชนชำวไทยรู้สึกว่ำพระมหำกษัตริย์เป็นท่ีมำ ของควำมสุขของแผ่นดินนี้ หำกเรำร้องเพลงโดยไม่เข้ำใจควำมหมำยของเนื้อเพลง ร้องไปเพรำะควำมเคยชินว่ำ

ต้องร้อง ผู้ร้องก็จะไม่เกิดควำมซำบซึ้งและไม่เกิดควำมจงรักภักดีต่อพระมหำกษัตริย์ไทยตำมท่ีบทเพลงต้องกำร เสนอ และหลังจำกกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครองเพลงสรรเสริญพระบำรมีได้ถูกลดควำมสำคัญลงไม่ได้ถูกใช้ใน ฐำนะเพลงชำตอิ ีกต่อไป แต่ยังคงใช้ในฐำนะเพลงถวำยควำมเคำรพพระมหำกษตั รยิ ์เช่นเดิม ทำไมต้องเปดิ เพลงสรรเสริญพระบำรมีในโรงภำพยนตร์ อีกหนึ่งคำถำมว่ำทำไมต้องเปิดเพลงสรรเสริญพระบำรมีในโรงภำพยนตร์ กำรเปิดเพลงเคำรพผู้เกิดข้ึน ในยุคสมัยจอมพล ป. พิบูลย์สงครำม เพ่ือต้องกำรปลูกฝังแนวคิดชำตินิยมและเทิดทูนผู้นำ จึงกำหนดให้เปิดเพลง ก่อนท่ีมหรสต่ำงๆจะแสดง หลังก่อรัฐประหำรของ จอมพลสฤษฏิ์ ต้องกำรส่งเสริมสถำบันพระมหำกษัตริย์ท่ี อ่อนแอมำนำน จึงเปลี่ยนจำกกำรเปิดเพลงเคำรพผู้นำมำเป็นเพลงสรรเสริญพระบำรมี เพ่ือถวำยควำมเคำรพต่อ องค์พระมหำกษัตริย์ไทยและเป็นกำรรับแนวควำมคิดจำกชำวตะวันตกท่ีว่ำ หำกประเทศใดสงบสุขจึงจะสำมำรถ จดั งำนรื่นเริงได้ จึงสมควรถวำยควำมเคำรพต่อกษตั รยิ ท์ ี่ปกครองประเทศใหร้ ่มเย็นเป็นสขุ นั้นเอง ทุกครั้งท่ีเรำฟังเพลงนี้ทำให้เรำรู้สึกถึงควำมเป็นชำติไทย ที่มีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุขปกครอง แผ่นดนิ ใหเ้ กดิ ควำมร่มเย็น ควำมอุดมสมบูรณ์ และควำมเจรญิ ของชำติไทย เป็นเพลงทีท่ ำให้เรำชำวไทยภมู ิใจเป็น ควำมเป็นเอกรำช ไม่ต้องตกเป็นเมืองข้ึนของชำติใดๆ เมื่อเพลงสรรเสริญพระบำรมีดังกึกก้องเรำจะร้องเพลงด้วย หวั ใจ ด้วยควำมซำบซง้ึ ด้วยควำมจงรกั ภักดี ตลอดไป ข้อมูลอำ้ งองิ เพลงสรรเสรญิ พระบำรมี : sahavicha.com ถอดรหัสควำมยงิ่ ใหญ่ เพลงสรรเสรญิ พระบำรมี เพลงพอ่ ของชนชำวไทย : thairath.co.th ทำไมตอ้ งยืนเคำรพสรรแสรญิ พระบำรมกี ่อนกำรดูหนงั : siamzone.com

ใบความรูท้ ่ี 4 เพลงชาติ ในสมัยสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ ได้มีกำรใช้เพลงสรรเสริญพระบำรมีเป็นเพลงถวำยควำมเคำรพองค์ พระมหำกษัตริย์ตำมธรรมเนียมสำกล แม้เพลงดังกล่ำวไม่ใช่เพลงชำติของประเทศสยำมอย่ำงเป็นทำงกำรก็ตำม แต่กถ็ อื อนโุ ลมวำ่ เปน็ เพลงชำติโดยพฤตินยั ตำมหลักดงั กล่ำว เมื่อเกิดกำรเปล่ียนแปลงกำรปกครอง ใน พ.ศ. 2475 คณะรำษฎรได้ประกำศใช้เพลงชำติมหำชัย ซ่ึง ประพนั ธเ์ นอ้ื ร้องโดย เจ้ำพระยำธรรมศักดิ์มนตรี (สนน่ั เทพหัสดิน ณ อยธุ ยำ) เปน็ เพลงชำติอยู่ 7 วัน (ใชช้ ว่ั ครำว ระหว่ำงรอพระเจนดรุ ิยำงคแ์ ต่งเพลงชำตใิ หม่) แตไ่ ม่ได้รับควำมนิยมจำกประชำชน ต่อมำจึงไดเ้ ปลี่ยนมำเป็นเพลง ชำติฉบับท่ีแต่งทำนองโดยพระเจนดุริยำงค์ (ปิติ วำทยะกร) เป็นเพลงชำติอย่ำงเป็นทำงกำรแทนเพลงสรรเสริญ พระบำรมี ที่มำของทำนองเพลงชำติปัจจุบันนั้น จำกบันทึกควำมทรงจำของพระเจนดุริยำงค์ ได้เล่ำไว้ว่ำ รำว ปลำยปี พ.ศ. 2474 เพอื่ นนำยทหำรเรือชั้นผู้ใหญ่คนหนง่ึ ของทำ่ น คอื หลวงนเิ ทศกลกจิ (กลำง โรจนเสนำ) [1] ได้ ขอใหท้ ำ่ นแตง่ เพลงสำหรับชำติข้ึนเพลงหนึ่ง ในลกั ษณะของเพลงลำมำร์แซแยส ซ่ึงพระเจนดุรยิ ำงค์ได้บอกปฏิเสธ เพรำะถือว่ำเพลงสรรเสริญพระบำรมีเป็นเพลงชำตอิ ยู่แล้ว ท้ังกำรจะให้แต่งเพลงนี้ก็ยังไม่ใช่คำสง่ั ของทำงรำชกำร ดว้ ย แม้ภำยหลังหลวงนเิ ทศกลกิจจะมำติดต่อให้แต่งเพลงนี้อีกหลำยครง้ั ก็ตำม พระเจนดุรยิ ำงค์กห็ ำทำงบำ่ ยเบี่ยง มำตลอด เพรำะท่ำนสงสยั ว่ำกำรขอร้องใหแ้ ตง่ เพลงน้ีเกยี่ วข้องกบั กำรเมือง ประกอบกบั ในเวลำน้ันก็มีขำ่ วลือเร่ือง กำรปฏวิ ตั อิ ย่ำงหนำหดู ว้ ย หลังกำรเปล่ียนแปลงกำรปกครอง ในวันที่ 24 มิถุนำยน พ.ศ. 2475 ผ่ำนไปได้ประมำณ 5 วันแล้ว หลวงนิเทศกลกิจ ซ่ึงพระเจนดุริยำงค์รู้ภำยหลงั ว่ำเป็น 1 ในสมำชิกคณะรำษฎรด้วย ได้กลับมำขอร้องให้ท่ำนช่วย แต่งเพลงชำติอีกคร้ัง โดยอ้ำงว่ำเป็นควำมต้องกำรของคณะผู้ก่อกำร ท่ำนเห็นว่ำครำวน้ีหมดทำงท่ีจะบ่ำยเบี่ยง เน่ืองจำกสถำนกำรณ์ทำงกำรเมืองในเวลำนั้นอยู่ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ จึงขอเวลำในกำรแต่งเพลงนี้ 7 วัน และ แต่งสำเร็จในวันจันทร์ที่ 6 กรกฎำคม พ.ศ. 2475 ซึ่งเป็นวันสุดท้ำยท่ีตนได้กำหนดนัดหมำยวันแต่งเพลงชำติไว้ ขณะที่นั่งบนรถรำงสำยบำงขุนพรหม-ท่ำเตียน เพื่อไปปฏิบัติรำชกำรท่ีสวนมิสกวัน จำกนั้นจึงได้เรียบเรียงเสียง ประสำนสำหรับให้วงดุริยำงค์ทหำรเรือบรรเลง โดยได้เลือกใช้ทำนองคล้ำยคลึงกับเพลงมำซูแร็กดอมบรอฟสกี แยกอและมอบโน้ตเพลงนี้ให้หลวงนิเทศกลกิจนำไปบรรเลง ในกำรบรรเลงตนตรีประจำสัปดำห์ที่พระที่น่ังอนันต สมำคมในวันพฤหสั บดีถดั มำ พรอ้ มทั้งกำชบั วำ่ ให้ปดิ บงั ชอื่ ผูแ้ ต่งเพลงเอำไวด้ ว้ ย อย่ำงไรก็ตำม หนังสือพิมพ์ศรีกรุงก็ได้ลงข่ำวเร่ืองกำรประพันธ์เพลงชำติใหม่โดยเปิดเผยว่ำ พระเจน ดุริยำงค์เป็นผู้แต่งทำนองเพลงน้ี ทำให้พระเจนดุริยำงค์ถูกเจ้ำพระยำวรพงศ์พิพัฒน์ เสนำบดีกระทรวงวัง ตำหนิ อย่ำงรุนแรงในเรื่องน้ี แม้ภำยหลังพระยำมโนปกรณ์นิติธำดำ นำยกรัฐมนตรี จะได้ช้ีแจงว่ำท่ำนและ สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรเป็นผู้คิดกำรแต่งเพลงน้ี และเพลงนี้ก็ยังไม่ได้รับรองว่ำเป็นเพลงชำติเน่ืองจำกยังอยู่ใน ระหว่ำงกำรทดลองก็ตำม แต่พระเจนดุริยำงค์ก็ได้รับคำส่ังปลดจำกทำงรำชกำรให้รับเบ้ียบำนำญ ฐำนรับรำชกำร ครบ 30 ปี และหักเงินเดือนคร่ึงหนึ่งเป็นบำนำญ อีกครึ่งที่เหลือเป็นเงินเดือน โดยให้รับรำชกำรต่อไปในอัตรำ เงนิ เดอื นใหม่น้ี ในเดอื นตุลำคมปเี ดยี วกันนนั้ เอง ส่วนเนื้อร้องของเพลงชำติน้ัน คณะผู้ก่อกำรได้ทำบทำมให้ขุนวิจิตรมำตรำ (สง่ำ กำญจนำคพันธ์) เป็น ผู้ประพันธ์ โดยคำร้องท่ีแต่ขึ้นนั้นมีควำมยำว 2 บท สันนิษฐำนว่ำเสร็จอย่ำงชำ้ ก่อนวันท่ี 29 สิงหำคม พ.ศ. 2475 เนอื่ งจำกมกี ำรคนั พบโน้ตเพลงพร้อมเนื้อร้องซ่ึงตพี ิมพโ์ ดยโรงพิมพ์ศรีกรงุ ซึ่งลงวันที่ตีพมิ พ์ในวันดงั กลำ่ วแมเ้ พลงนี้ จะเป็นเพลงที่ได้รับควำมนิยมจำกประชำชนทวั่ ไปก็ตำม แตเ่ พลงน้ีก็ยงั ไม่ได้มีกำรประกำศอย่ำงเปน็ ทำงกำรว่ำเป็น

เพลงชำติ และมกี ำรจดจำตอ่ ๆ กันไปเรอื่ ยๆ โดยไมม่ ใี ครรู้ท่มี ำชัดเจน ดังปรำกฏวำ่ มีกำรคัดลอกเนอื้ เพลงชำติของ ขุนวจิ ิตรมำตรำสง่ เขำ้ ประกวดเน้ือเพลงชำติฉบับรำชกำร เม่อื พ.ศ. 2476 โดยอ้ำงวำ่ ตนเองเป็นผู้แตง่ ดว้ ย เน้ือร้องท่ีขุนวิจิตรมำตรำประพันธ์เริ่มแรกสุดแต่ไม่เป็นทำงกำร และ เป็นฉบับต้องห้ำม ก่อนท่ีจะมีกำร แกไ้ ขเมอ่ื มีกำรประกวดเนอ้ื เพลงชำติฉบบั รำชกำร ใน พ.ศ. 2476 มีดังนี้ (โปรดเทียบกบั เนือ้ รอ้ งฉบบั รำชกำร พ.ศ. 2477 ในหวั ขอ้ เพลงชำติไทยฉบบั พ.ศ. 2475 และ พ.ศ. 2477) แผ่นดนิ สยำมนำมประเทืองว่ำเมอื งทอง ไทยเข้ำครองตงั้ ประเทศเขตต์แดนสงำ่ สบื ชำตไิ ทยดึกดำบรรพบ์ รุ ำณลงมำรว่ มรกั ษำเอกรำษฎรช์ นชำตไิ ทย บำงสมัยศัตรจู ูม่ ำรบ ไทยสมทบสวนทัพเขำ้ ขับไล่ ตะลุยเลือดหมำยมุง่ ผดุงผะไท สยำมสมยั บุรำณรอดตลอดมำ อันดินแดนสยำมคือว่ำเน้ือของเชอื้ ไทย น้ำรินไหลคอื ว่ำเลือดของเช้อื ข้ำ เอกรำษฎร์คือกระดูกทเี่ รำบูชำ เรำจะสำมคั ครี ่วมมีใจ ยึดอำนำจกุมสิทธ์อิ ิสสระเสรี ใครย่ำยเี รำจะไมล่ ะให้ เอำเลือดล้ำงใหส้ นิ้ แผน่ ดนิ ของไทย สถำปนำสยำมให้เทิดชัยไชโย เพลงชำติสยำมฉบับรำชกำร พ.ศ. 2477 ในปี พ.ศ. 2477 รัฐบำลได้จัดประกวดเนื้อร้องเพลงชำติใหม่ โดยมีคณะกรรมกำรพิจำรณำเพลงชำติ เป็นผู้ดำเนินกำร ประกอบดว้ ย พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จำ้ วรรณไวทยำกร กรมหมน่ื นรำธปิ พงศป์ ระพันธ์ ทรง เป็นประธำน มกี รรมกำรท่ำนอื่นๆ ดงั นีค้ ือ พระเรี่ยมวิรชั พำกย์, พระเจนดรุ ยิ ำงค,์ หลวงชำนำญนิตเิ กษตร, จำงวำง ท่ัว พำทยโกศล และนำยมนตรี ตรำโมท กำรประกวดเพลงชำติในคร้ังน้ันได้ดำเนินกำรประกวดเพลงชำติ 2 แบบ คอื เพลงชำตแิ บบไทย (ประพันธข์ ้ึนโดยดดั แปลงจำกดนตรีไทยเดิม) และเพลงชำติแบบสำกล ซ่ึงผลกำรประกวดมี ดงั น้ี 1. เพลงชำตแิ บบไทย คณะกรรมกำรพิจำรณำเพลงชำติได้ตัดสินให้ผลงำนเพลง \"มหำนิมิตร\" ซึ่งประพันธ์โดย จำงวำงทั่ว พำทยโกศล เปน็ ผลงำนชนะเลิศ เพลงมหำนิมิตรน้ีจำงวำงทั่วได้ประพันธด์ ัดแปลงมำจำกเพลงหน้ำพ-ำทยส์ ำคญั ของไทยที่มีช่ือ ว่ำ \"ตระนิมติ ร\" ใหส้ ำมำรถบรรเลงเปน็ ทำงสำกล ซงึ่ เพลงตระนมิ ติ รนี้ เปน็ เพลงที่ถอื วำ่ เปน็ เพลงครู นกั ดนตรจี ะใช้ บรรเลงในพธิ สี ำคญั ต่ำงๆ เช่น งำนไหว้ครู บรรเลงเป็นกำรอัญเชิญครูบำอำจำรย์ เทวดำทงั้ หลำยมำประชุมกันเพ่ือ ควำมเป็นสิริมงคล ดังน้ันจึงมีควำมหมำยอันควรแก่กำรเคำรพนับ-ถือเป็นสริ ิมงคล เหมำะสมท่ีจะใช้เป็นเพลงชำติ ไทยได้ รัฐบำลได้ทดลองบรรเลงออกอำกำศทำงวิทยุกระจำยเสียงอยู่ระยะหนึ่งแต่ต่อมำเม่ือคณะกรรมกำร พิจำรณำเพลงชำติจะเสนอผลกำรประกวดใหค้ ณะรัฐมนตรีประกำศรับรองน้ัน คณะกรรมกำรฯ ได้ประชุมกันและ มีควำมเห็นว่ำ เพลงชำติมีลักษณะท่ีบ่งบอกถึงควำม-ศักดิ์สิทธิ์ หำกมีกำรใช้อยู่ 2 เพลง จะทำให้คลำยควำม ศักดิ์สิทธิ์ลง จึงได้ตัดสินใจไม่เสนอเพลงชำติแบบไทยที่ได้คัดเลือกไว้ให้คณะรัฐมนตรีประกำศรับรองเป็นเพลงชำติ ในที่สดุ 2. เพลงชำติแบบสำกล คณะกรรมกำรพิจำรณำเพลงชำติมีควำมเห็นให้ใช้ทำนองเพลงซ่ึงประพันธ์โดยพระเจนดุริยำงค์เป็นทำนองเพลง ชำติแบบสำกล สำหรับบทร้องน้ันได้คัดเลือกบทร้องของขุนวิจิตรมำตรำซ่ึงได้แก้ไขเพิ่มเติมเป็นบทร้องชนะเลิศ

และได้เพ่ิมบทร้องของนำยฉันท์ ขำวิไล ซึ่งเป็นบทร้องท่ีได้รับรำงวัลรองชนะเลิศเข้ำอีกชุดหนึ่ง คณะรัฐมนตรีได้ ประกำศรับรองให้เป็นบทร้องเพลงชำตฉิ บบั รำชกำรเม่ือวนั ท่ี 20 สงิ หำคม พ.ศ. 2477 บทร้องทั้งของขุนวิจิตรมำตรำและนำยฉันท์ ประพันธ์ในรูปฉันทลักษณ์แบบกลอนสุภำพ (กลอนแปด) ควำมยำว 4 บท แต่ละบทมี 4 วรรค ผลงำนของแตล่ ะคนจึงมีควำมยำวของบทรอ้ งเป็น 16 วรรค เมอ่ื นำมำรวมกัน แล้วจึงทำให้บทร้องเพลงชำติท้ังหมดมีควำมยำวถึง 32 วรรค ซึ่งนับว่ำยำวมำก หำกจะร้องเพลงชำติให้ครบทั้ง สีบ่ ทจะต้องใช้เวลำร้องถึง 3 นำที 52 วินำที (เฉลยี่ แตล่ ะทอ่ นรวมดนตรนี ำดว้ ยทั้งเพลงตกที่ท่อนละ 35 วินำท)ี ใน สมัยนั้นคนไทยส่วนใหญ่จึงนิยมร้องแต่เฉพำะบทร้องของขุนวิจิตรมำตรำ และต่อมำภำยหลังจึงไม่มีกำรขับร้อง คงเหลอื แต่เพียงทำนองเพลงบรรเลงเทำ่ นนั้ เพลงชำติสยำมฉบบั สงั เขป พ.ศ. 2478 ในปี พ.ศ. 2478 รฐั บำลของพระยำพหลพลพยุหเสนำได้ออก ระเบยี บกำรบรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระบำรมแี ละเพลงชำติ ลงวนั ท่ี 4 กุมภำพนั ธ์ พ.ศ. 2478 (มผี ลบังคบั ใชใ้ นวนั ท่ี 15 กุมภำพนั ธ์ ปเี ดยี วกัน) ระเบียบดังกล่ำวน้ไี ด้มีกำรกำหนดให้แบ่งกำรบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบำรมแี ละเพลง ชำติออกเป็น 2 แบบ คือ กำรบรรเลงแบบพิสดำร (บรรเลงตำมควำมยำวปกติเต็มเพลง) และกำรบรรเลงแบบ สังเขป ในกรณีของเพลงชำติน้ัน ได้กำหนดให้บรรเลงเพลงชำติฉบับสังเขปในกำรพิธีท่ีเก่ียวข้องกับประชำชน สโมสรสนั นบิ ำต โดยเฉพำะอยำ่ งย่งิ ในพธิ ปี กติ ส่วนกำรบรรเลงแบบเต็มเพลงนั้นให้ใช้ในงำนพธิ ใี หญเ่ ท่ำนัน้ ท่อนของเพลงชำติท่ีตัดมำใช้บรรเลงแบบสังเขปน้ัน คือท่อนข้ึนต้น (Introduction) ของเพลงชำติ (เทียบกับเน้ือร้องเพลงชำติฉบับปัจจุบันก็คือตั้งแต่ท่อน สละเลือดทุกหยำดเป็นชำติพลี จนจบเพลง) ควำมยำว ประมำณ 10 วนิ ำที ไม่มีกำรขับรอ้ งใดๆ ประกอบ เพลงชาติไทย พ.ศ. 2482 – ปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2482 \"ประเทศสยำม\" ได้เปล่ยี นช่ือเปน็ \"ประเทศไทย\" รฐั บำล จึงได้จัดประกวดเน้ือร้องเพลงชำติไทยใหม่เพ่ือให้สอดคล้องกับกำรเปล่ียนแปลงช่ือประเทศ โดยกำหนดเง่ือนไข ยังคงใช้ทำนองของพระเจนดุรยิ ำงค์อยู่เชน่ เดิม แต่กำหนดให้มีเนื้อรอ้ งควำมยำวเพียง 8 วรรคเท่ำน้ัน และปรำกฏ คำวำ่ \"ไทย\" ซ่ึงเป็นช่ือประเทศอยู่ในเพลงดว้ ย ผลกำรประกวดปรำกฏว่ำเน้ือร้องของพันเอกหลวงสำรำนุประพันธ์ ซึ่งส่งประกวดในนำมกองทัพบกได้รับรำงวัลชนะเลิศ รัฐบำลไทยจึงได้ประกำศรับรองให้ใช้เป็นเน้ือร้องเพลงชำติ ไทย โดยแก้ไขคำร้องจำกต้นฉบับท่ีส่งประกวดเล็กน้อย เมื่อวันที่ 10 ธันวำคม พ.ศ. 2482 และใช้เรื่อยมำจนถึง ปัจจบุ นั เน้ือร้องของหลวงสำรำนุประพันธ์ ซึ่งส่งประกวดในนำมกองทัพบกไทยก่อนแก้ไขเป็นฉบับทำงกำรมี ดังน[้ี 10] (สำหรับเนอ้ื ร้องฉบบั ประกำศใชจ้ รงิ ดไู ด้ในหวั ข้อ เน้อื เพลง) ประเทศไทยรวมเลือดเน้ือชำตเิ ชอื้ ไทย เป็นประชำรฐั ไผทของไทยทุกส่วน อยู่ดำรงคงไว้ได้ทั้งมวล ด้วยไทยล้วนหมำยรกั สำมัคคี ไทยนีร้ กั สงบแตถ่ ึงรบไม่ขลำด เอกรำชจะไม่ใหใ้ ครขม่ ข่ี สละเลอื ดทุกหยำดเป็นชำติพลี เถลงิ ประเทศชำติไทยทวมี ีชัย ชโย กำรประกวดเพลงชำติคร้ังนี้ได้ปรำกฏหลักฐำนว่ำมีกวีและผู้มีชื่อเสียงในทำงกำรประพันธ์เพลงหลำย ท่ำน เช่น เจ้ำพระยำธรรมศักดิ์มนตรี แก้ว อัจฉริยะกุล ชิต บุรทัต เป็นต้น ซ่ึงรวมถึงผู้ประพันธ์เนื้อเพลงชำติสอง ฉบับแรก (ขุนวิจิตรมำตรำ และฉันท์ ขำวิไล) ได้ส่งเนื้อร้องของตนเองเข้ำประกวดด้วย แต่ปรำกฏว่ำไม่ผ่ำนกำร ตัดสินครงั้ นนั้ เฉพำะเนื้อร้องทีข่ ุนวจิ ิตรมำตรำแตง่ ใหม่นนั้ ปรำกฏว่ำมีกำรใช้คำวำ่ \"ไทย\" ถึง 12 คร้งั

ใบความรทู้ ่ี 5 โหมโรงเย็น เพลงหน้ำพำทย์ หำกจะจัดกลุ่ม ถือได้ว่ำเป็นเพลงอยู่ในกลุ่มเพลงไทยท่ีเป็นเอกลักษณ์เป็นเพลงท่ีใช้วง ดนตรีบรรเลง และถือว่ำเป็นเพลงศักด์ิสิทธิ์ เป็นเพลงครูในด้ำนวิชำดนตรีไทย มักใช้บรรเลงในพิธีไหว้ครู หำก บรรเลงในกำรแสดงโขน ละคร กม็ ักเกี่ยวข้องกบั เทวดำ ฤำษี ยกั ษ์ เป็นต้น เพลงหน้ำพำทย์ หมำยถึง เพลงประเภทหนึ่งท่ีใช้บรรเลงประกอบกิริยำ น่ัง กิน นอน เดิน หรือเหำะ ของเทพฯ คน สัตว์ สงิ่ ของ อำจำรยม์ นตรี ตรำโมท ได้จดั ลักษณะและควำมหมำยของเพลงหน้ำพำทยไ์ ว้ดังน้ี 1. เพลงหน้ำพำทย์ที่ไม่มีตัวตน อันจัดเป็นนำมสมมติในปัจจุบัน คือ เพลงหน้ำพำทย์ที่บรรเลง ประกอบในกำรบูชำ คำรวะ และอัญเชิญ เทพฯ เทวดำ ครู คนธรรพ์ ยักษ์ ลิง โดยไม่ปรำกฏตัวตนให้เห็น เป็น เพยี งสมมตวิ ำ่ ท่ำนเหล่ำน้ันได้มำตำมเพลงท่บี รรเลงนน้ั ๆ ซงึ่ เป็นกริ ิยำท่ีเกิดขน้ึ ในปัจจบุ นั ได้แก่ 1.1 กลุม่ เพลงทใ่ี ชบ้ รรเลงประกอบในพธิ ีไหวค้ รู ดนตรีไทย และโขนละคร เชน่ เพลงหน้ำพำทย์ประเภทน้ีเป็นเพลงท่ีมีกำเนิดมำแตโ่ บรำณ ไม่ทรำบนำมผูแ้ ต่ง ทรำบกันแต่ว่ำในสมยั รชั กำลที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ครูทองดี หรอื ปทู่ องดี ชสู ัตย์ บรมครูทำงดนตรีไทยของบ้ำนดนตรสี ำนักท่ำนครูจำงวำงทั่ว พำทยโกศล เป็นผู้มีเพลงหน้ำพำทย์มำกท่ีสุดท่ำนหน่ึง และได้ต่อเพลงหน้ำพำทย์ต่ำง ๆ ไว้ให้แก่ศิษย์ในสมัยนั้น มำกมำยหลำยท่ำน จำกคำบอกเล่ำของอำจำรย์ประสิทธ์ิ ถำวร แม้แต่ท่ำนครูหลวงประดิษฐ์ไพเรำะ (ศร ศิลป บรรเลง) ก็ได้เชิญปู่ทองดี ชูสัตย์ มำต่อเพลงหน้ำพำทย์ให้กับท่ำน และครูมนตรี ตรำโมท ก็ได้ต่อเพลงหน้ำพำทย์ องค์ พระพิรำพเต็มองค์จำกปู่ทองดี ชูสัตย์เหมือนกัน เพลงหน้ำพำทย์ในระยะแรก พบว่ำได้มีกำรบรรเลง ประกอบกำรแสดงโขนและละครมำแต่สมัยกรุงศรีอยุธยำ ต่อมำในสมัยรัชกำลท่ี 4 จึงพบหลักฐำนในตำรำพิธีไหว้ ครูของหลวง ว่ำมีเพลงหน้ำพำทย์เข้ำบรรเลงประกอบในพิธีไหว้ครูแล้ว แต่ ยังมีไม่มำกนัก มำพบว่ำมีเพลงหน้ำ พำทย์ประกอบในพิธีไหว้ครูมำกในสมัยรัชกำลที่ 6 ซ่ึงเขียนเป็นตำรำหลวงไว้ และใช้บรรเลงกันมำเป็นแบบแผน จนถงึ ปัจจบุ ันน้ี 1.2 กลุ่มเพลงหน้ำพำทย์ที่บรรเลงแสดงควำมคำรวะ และเป็นกำรอัญเชิญส่ิงศักด์ิสิทธิ์ เทพฯ เทวดำ คนธรรพ์ ยักษ์ ใหเ้ สด็จลงมำ ณ สถำนที่ทีจ่ ะกระทำพธิ ีอันเปน็ มงคล เพอ่ื มำอำนวยอวยชยั เพลงประเภทนี้ ได้แกเ่ พลงชุด - โหมโรงเย็น - โหมโรงเช้ำ - โหมโรงกลำงวนั - โหมโรงเทศน์ โหมโรงเย็น เป็นเพลงประเภทหนง่ึ ที่คณำจำรย์ได้นำเพลงหลำย ๆ เพลง มำบรรเลงติดต่อกันเป็นชดุ ใช้ บรรเลงเป็นอันดับแรกของงำน แต่ละเพลงเป็นเพลงหน้ำพำทย์ท่ีใช้ประกอบกิริยำอัญเชิญ และคำรวะ อันมี ควำมหมำยท้ังส้ิน แต่เดิมมีชุดโหมโรงเย็น และโหมโรงเช้ำ ใช้บรรเลงประกอบในงำนพิธีอันเป็นมงคล เช่น งำน ทำบญุ ข้นึ บ้ำนใหม่ งำนโกนจกุ งำนบวชนำค หรืองำนทีเ่ กี่ยวข้องกับศำสนำ เป็นตน้ ประเพณีไทยในอดีต เม่ือจะจัดงำนอันเป็นมงคลนิยมหำวงป่ีพำทย์มำบรรเลงประกอบงำนพิธี และเพลง ที่วงปี่พำทย์จะบรรเลงเป็นอนั ดับแรกก็คือ เพลงชดุ โหมโรง ถ้ำเป็นงำนเริ่มในตอนเยน็ วงป่ีพำทย์ก็จะบรรเลงเพลง ชุดโรงเย็น ถำ้ เร่ิมในตอนเชำ้ ก็จะเปน็ เพลงชดุ โหมโรงเชำ้ ซ่ึงมคี วำมหมำยสำคัญอยู่ 2 ประกำร คอื เปน็ กำรกรำบคำรวะส่งิ ศักด์สิ ิทธิ์ทั้งหลำยที่อยู่ ณ ท่ีน้ัน และเปน็ กำรอัญเชิญเทพยดำเสด็จลงมำประชุมสโมสร เพื่อ อำนวยชัยให้แก่งำน เพ่ือประกำศให้ผู้ที่ได้ยินได้ฟังรู้ว่ำ จะมีงำนอันเป็นมงคลเกิดข้ึน ณ บัดน้ี บรรดำญำติสนิท

มิตรสหำยจะได้มำร่วมงำนอย่ำงพร้อมเพรียงกัน อำจำรย์มนตรี ตรำโมท ได้ให้คำอธิบำยควำมหมำยของเพลงชุด โหมโรงเยน็ แต่ละเพลงไว้ ดงั นี้ ควำมหมำยของเพลงชดุ โหมโรงเย็น เพลงสำธุกำร หมำยถึงกำรน้อมกำยและใจอภิวันทนำกำร แด่พระรัตนตรัย ตลอดจนทวยเทพเ จ้ำอัน ศกั ด์ิสิทธดิ์ ้วยควำมเคำรพ เพลงตระ เพลงตระนี้ โบรำณใช้เพลง ตระสันนิบำติ อันเป็นเพลงท่ีมีควำมหมำย กล่ำวแทนคำชุมนุม เทวดำ เช่น พระภิกษุสงฆ์และอุบำสกอุบำสิกำ เม่ือจะเร่ิมพิธีงำนใดอย่ำงหนึ่ง ก็นิยมกล่ำวชุมนุมทำงวำจำด้วย คำถำที่ว่ำ สัคเค กำเม…..ซ่ึงนับเป็นกำรเหมำะสมที่สุด ต่อมำภำยหลังผู้บรรเลงเห็นว่ำยังมีเพลงตระอีกมำก จะใช้ เพลงตระสันนิบำติเพลงเดียวเป็นกำรซ้ำซ้อน จึงเปล่ียนมำใช้เพลงตระอ่ืน ๆ บรรเลงแทน และถือปฏิบัตินิยมกัน ต่อมำ โดยเริ่มต้นด้วยกำรนำเอำเพลงตระหญำ้ ปำกคอก ตระปลำยพระลักษณ์ ตระมำรละม่อมก่อน ต่อจำกน้ันจะ แยกไปใช้เพลงตระอ่ืน ๆ ได้อีกตำมควำมพอใจ แต่ควำมหมำยของเพลงก็คงเป็นดังที่ถือกันมำแต่เดิม คือเป็นกำร ชุมนมุ เทวดำ เพลงรัวสำมลำ คำว่ำ ลำ ในคำศัพท์สงั คีตหมำยถึงว่ำ จบหรอื ครง้ั ฉะน้นั 3 ลำ จงึ หมำยถึง 3 ครง้ั ซึ่งใช้ เปน็ เพลงประกอบกริ ิยำแสดงอิทธฤิ ทธ์ิ แตใ่ นที่นี้จะหมำยถงึ กำรกรำบ 3 ครั้ง หรอื แทนกำรกล่ำวคำถำ ธมั มัสสะวะ นะกำโล อะยัพภะทนั ตำ…ในทำ้ ยชุมนมุ เทวดำซ้ำเปน็ 3 คร้ัง เพลงต้นซุบ หรือเพลงต้นเข้ำม่ำน ตั้งแต่เพลงนี้เป็นต้นไปจะหมำยถึงเทพเจ้ำ เฉพำะเพลงน้ีจะหมำยถึง บริวำรท่ีมีหนำ้ ท่เี ข้ำไปกรำบทูลเทพเจ้ำผู้เป็นใหญใ่ ห้รู้วำ่ บัดนมี้ ผี เู้ ชญิ มำ เพลงเข้ำม่ำน เป็นเพลงประกอบกิริยำเทพเจ้ำผู้เป็นใหญ่เข้ำสู่ พระวิสูตร เพ่ือเตรียม องค์ไปสู่มณฑลพิธีตำมคำที่ เชญิ เพลงปฐม หมำยถงึ กำรจดั ขบวนเทพนกิ รท่ีจะโดยเสดจ็ ทำ้ ยปฐม เพลงลำ เป็นกำรแสดงว่ำกำรจดั ขบวนน้ันเรียบรอ้ ยแลว้ เพลงเสมอตดิ รวั ในทีน่ ี้เป็นเพลงประกอบกิริยำเทพเจ้ำเสดจ็ ออกจำกวิมำน เพลงเชิด 2 ชนั้ หมำยถงึ กำรมำของเทพเจ้ำและคนธรรพ์ เพลงเชิดช้ันเดียว หมำยถงึ กำรมำของเทพเจ้ำและคนธรรพ์ เพลงกลม หมำยถงึ กำรเสด็จมำของเทพเจ้ำผู้สูงศกั ด์ิ เชน่ พระอิศวร หรือ พระนำรำยณ์ ชำนำญ เพลงนี้เป็นเพลงหน้ำพำทย์ประกอบกิริยำนิมิตสิ่งต่ำง ๆ ให้มีข้ึน แต่ในที่นี้จะหมำยถึงกำร ประสำทพรของเทพเจ้ำ เพลงกรำวใน หมำยถงึ กำรเสด็จมำของเทพเจำ้ ฝำ่ ยอสูร เชน่ ท้ำวกุเวร ทำ้ วเวสสวุ รรณ เปน็ ต้น เพลงต้นชุบ (บำงแหง่ เรยี กว่ำปลำยเข้ำม่ำน) กำรบรรเลงเพลงนีซ้ ้ำอีก จะหมำยถงึ กำรประจคุ มของเทพ เจ้ำของพธิ ี เปน็ กำรแสดงวำ่ จบคำอัญเชิญเทพเจำ้ และเทพเจ้ำเสด็จมำพร้อมแลว้

ใบความรู้ท่ี 6 โนต้ เพลงโหมโรงเย็นภาคเรยี นท่ี 1 เพลงสาธกุ าร หน้าทบั เฉพาะ (อัตราจังหวะหนา้ ทบั 2 ชน้ั ) ผศ.สหวฒั น์ ปลื้มปรีชา บันทกึ โน้ต ตะโพนข้ึน - - ตฺ ต - - ตฺ พ ประโยคข้ึน (Intro) ทานอง - - - ร - - - ม - - - ม - ซ - ล - ร – ม - ร - ล ล ล - ซ ซ ซ - ร ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - - - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - - ถ - ตฺ - ต กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉ่งิ - - - ฉ่ิง - - - ฉ่ิง - - - ฉิง่ - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง ประโยคท่ี 1 ทานอง - - - ทฺ - ลฺ - ร ร ร - ม ม ม - ฟ - ล – ท - ล - ฟ ฟ ฟ - ม ม ม - ร ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ต กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง ทานอง - ฟ - ม - ร - ด ทฺ ลฺ - ทฺ - ด ร ม - ล ล ล - ท - ล - ซ - ม - ซ - ล ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - ต - - - - - - - ต - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉ่ิง - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง ทานอง -ร-ม -ร-ท ทท-ล ลล-ซ -ซลท -ร-ม -ร-ด -ท-ล ตะโพน ---- ---- ---- ---ถ ---- - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทัด ---- ---- ---- ---- ---- - - - ฉงิ่ - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง ---- ---- ---- ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ ทานอง - ร - ทฺ ม ร - ม - ล - ซ ซ ซ - ล - ท - ร - ท - ล ล ล - ซ ซ ซ - ม ตะโพน - - - - - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - ตฺ ต - - ตฺ ต - - - ถ - - - ตฺ กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ จบประโยคที่ 1 ประโยคท่ี 2 ทานอง - ฟ ม ร - ม - ร - ร - ร - ท ท ท - ซ – ซ ล ท - ร - ม - ร - ท - ล ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ตฺ กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ - - - ฉงิ่

ทานอง -ท-ร -ท-ล ลล-ซ ซซ-ม - ร - ทฺ มร-ม -ล-ซ ซซ-ล ตะโพน ---- ---- ---- - - - ตฺ ---- - - - ตฺ - - ตฺ ถ - ตฺ – ต กลองทัด ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - - - ฉิง่ - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง ฉ่ิง -ลลล -ร-ซ -ล-ท -ร-ม -ร-ท จบประโยคที่ 2 ---- ---- ---- ---- ---- ประโยคท่ี 3 ---- ---- ---- ---- ---- ทท-ล ลล-ซ ทานอง - ท ล ร - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง ---- ---ต ตะโพน - - - - ---- ---- กลองทัด - - - - - - - ฉ่ิง - - - ฉ่งิ ฉ่ิง - - - ฉิ่ง ทานอง - ฟ ม ร - ม - ร - ร - ร - ซ ซ ซ - ล ล ล - ท - ซ ซ ซ - ล ล ล - ท ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - ต - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - - ถ - - - ตฺ กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่งิ - - - ฉ่ิง - - - ฉ่งิ ทานอง - ท - ล ล ล - ท ท ท - ร ร ร - ม - ร ม ฟ - ล - ม - ซ - ฟ ม ร - ทฺ ตะโพน - - - ต - - - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - - - - - ถ - - - - - ตฺ - ต กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉ่งิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง ทานอง - ร - ม - ร - ท ท ท - ล ล ล - ซ - ซ ล ท - ร - ม - ร - ด - ท - ล ตะโพน - - - ตฺ - พ - ท - - - ถ - ตฺ - ต - - - ท - - ต ต - ต - ตฺ - พ - ท กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ จบประโยคที่ 3 ประโยคท่ี 4 ทานอง - ร - ทฺ ม ร - ม - ล - ซ ซ ซ - ล - ท - ร - ท - ล ล ล - ซ ซ ซ - ม ตะโพน - - - - - - - ถ - - - - - ตฺ - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - ถ - ตฺ - ต กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง ทานอง - ฟ - ม - ร - ด ทฺ ลฺ - ทฺ - ด ร ม - ล ล ล - ท - ล - ซ - ม - ซ - ล ตะโพน - - - ตฺ - พ - ท - - - ถ - ตฺ - ต - - - ท - - ต ต - ต – ตฺ - พ - ท กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง จบประโยคท่ี 4

ประโยคที่ 5 (สดุ ท้าย) ทานอง - ร - ม - ร - ท ท ท - ล ล ล - ซ - ซ ล ท - ร - ม - ร - ด - ท - ล ตะโพน - - - - - - - - - - - - - ท - ต - - ท ต ท ต ท ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ ทานอง - ร - ทฺ ม ร - ม - ล - ซ ซ ซ - ล - ท - ร - ท - ล ล ล - ซ ซ ซ - ม ตะโพน - - - - - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - - ถ - - - ตฺ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉ่งิ - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่งิ ทานอง - ล ล ล - ล ล ล - ล - ซ ซ ซ - ล - ท ท ท - ล - ฟ - ฟ - ม ม ม - ร ตะโพน - - - ต - - - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - ตฺ - พ - - - - - - - - - - กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉ่งิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง ทานอง - ล ล ล - ท - ซ - ล - ท - ด - ร - ม ม ม - ร - ท ท ท - ล ล ล - ซ ตะโพน - ตฺ - พ - ต - พ - ตฺ - พ - ต - พ - - ตฺ ต - - ต พ - ถ - - - ตฺ - ต กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่ิง - - - ฉ่ิง - - - ฉงิ่ จบประโยคที่ 5 (สดุ ท้าย) ข้ึนเท่ียวที่ 2 ประโยคท่ี 1 ทานอง - ล ซ ด - ซ - ซ - ร - ซ - ล - ท -ร - ม - ร - ท ท ท - ล ล ล - ซ ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ต กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉงิ่ - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ ทานอง - ร ม ฟ - ล - ม - ร - ฟ ม ร - ทฺ - ทฺ - ลฺ ลฺ ลฺ - ทฺ ทฺ ทฺ - ร ร ร - ม ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - ต - - - - - - - ต - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉิง่ - - - ฉ่ิง - - - ฉ่ิง - - - ฉงิ่ - - - ฉ่งิ - - - ฉ่งิ ทานอง - ซ ซ ซ - ล - ร - ท - ด ร ม - ซ - ล ล ล - ท - ซ ซ ซ - ล ล ล - ท ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - ถ - - - - - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉ่งิ - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉงิ่ - - - ฉ่งิ - - - ฉิง่

ทานอง -ซลท -ร- ม -ซ- ม -ร- ท -ร- ม -ร- ท ทท-ล ลล-ซ ตะโพน ---- - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - ตฺ ต - - ตฺ ต - - - ถ - - - ตฺ กลองทดั ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - - - ฉ่งิ - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉิง่ - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ ฉิง่ รร- ม มม- ซ ซซ- ล -ซ- ซ ลท-ร จบประโยคท่ี 1 ---- ---- ---- ---- ---- ประโยคที่ 2 ---- ---- ---- ---- ---- -ม- ร -ท- ล ทานอง - ม - ร - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ ---- - - - ตฺ ตะโพน - - - - ---- ---- กลองทัด - - - - - - - ฉ่ิง - - - ฉิง่ ฉ่ิง - - - ฉ่งิ ทานอง - ลฺ - ร -รมฟ -ล-ฟ -ฟมร - ด ทฺ ลฺ - ทฺ - ร - ทฺ - ด ร ม - ซ ตะโพน ---- ---- ---- - - - ตฺ ---- - - - ตฺ - - ตฺ ถ - ตฺ – ต กลองทดั ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉ่งิ - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง ฉิ่ง -ซ- ล -ท- ล -ซ- ม -ม- ร รร- ม จบประโยคที่ 2 ---- ---- ---- ---- ---- ประโยคท่ี 3 ---- ---- ---- ---- ---- มม -ซ ซซ-ล ทานอง - ด ร ม - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่งิ - - - ฉิง่ ---- ---ต ตะโพน - - - - ---- ---- กลองทัด - - - - - - - ฉ่งิ - - - ฉิง่ ฉ่งิ - - - ฉ่งิ ทานอง - ท - ล - ซ - ม - ด ร ม - ซ - ล - - - ร - ด ทฺ ลฺ - - - ทฺ - - ทฺ ทฺ ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - ต - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - - ถ - - - ตฺ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉ่งิ - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่ิง ทานอง - ทฺ - ลฺ ลฺ ลฺ - ทฺ ทฺ ทฺ - ร ร ร - ม - ร ม ฟ - ล - ม - ร - ฟ ม ร - ทฺ ตะโพน - - - ต - - - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - - - - - ถ - - - - - ตฺ - ต กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง ทานอง - ด ทฺ ลฺ - ฟ ม ร - ลฺ - ร - ร ม ฟ - ล - ท - ล - ฟ ฟ ฟ - ม ม ม - ร ตะโพน - - - ตฺ - พ - ท - - - ถ - ตฺ - ต - - - ท - - ต ต - ต - ตฺ - พ - ท กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉ่งิ - - - ฉ่ิง - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง จบประโยคท่ี 3 ประโยคท่ี 4

ทานอง - ล ล ล - ท - ซ - ล - ท - ด - ร - ด ทฺ ลฺ - ฟ ม ร - ลฺ - ร - ร ม ฟ ตะโพน - - - - - - - ถ - - - - - ตฺ - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - ถ - ตฺ - ต กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉงิ่ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง ทานอง -รมฟ -ล-ท -ร-ท -ล-ฟ -ล-ท -ล-ฟ ฟฟ-ม มม-ร ตะโพน - - - ตฺ -พ-ท ---ถ - ตฺ - ต ---ท - - ต ต - ต - ตฺ - พ - ท กลองทดั ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉ่ิง - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง ฉง่ิ ลฺ ลฺ - ทฺ ทฺ ทฺ - ร รร-ม -รมฟ จบประโยคท่ี 4 ประโยคท่ี 5 (สุดทา้ ย) ---- ---- -ท-ต --ทต ทานอง - ทฺ - ลฺ ---- ---- ---- ---- - ล - ม - ร - ฟ ม ร - ทฺ ตะโพน - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ ท ต ท ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทดั - - - - ---- ---- ---- ฉง่ิ - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ ทานอง - ร - ท - ล - ซ ซ ซ - ล ล ล - ท - ฟ - ม - ร - ด ทฺ ลฺ - ทฺ - ด ร ม ตะโพน - - - - - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - - ถ - - - ตฺ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ ทานอง - ร - ซ - ล - ท - ร - ท - ล - ซ - ซ ล ท - ร - ม - ร - ด - ท - ล ตะโพน - - - ต - - - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - ตฺ - พ - - - - - - - - - - กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ ทานอง - ร - ทฺ ม ร - ม - ล - ซ ซ ซ - ล - ร - ท - ล - ฟ ฟ ฟ - ม ม ม – ร ตะโพน - ตฺ - พ - ต - พ - ตฺ - พ - ต - พ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - ถ - - - ตฺ - ต กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง จบประโยคท่ี 5 (สุดท้าย) ขนึ้ เทย่ี วที่ 3 ประโยคท่ี 1 ทานอง - - - ทฺ - ลฺ - ร ร ร - ม ม ม - ฟ - ล - ท - ล - ฟ ฟ ฟ - ม ม ม - ร ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ต กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉิง่ - - - ฉิ่ง

ทานอง - ฟ - ม - ร - ด ทฺ ลฺ - ทฺ - ด ร ม - ล ล ล - ท - ล - ซ - ม - ซ - ล ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - ต - - - - - - - ต - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉ่งิ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉิ่ง ทานอง - ร - ม - ร - ท ท ท - ล ล ล - ซ - ซ ล ท - ร - ม - ร - ด - ท - ล ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - ถ - - - - - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่งิ ทานอง - ร - ทฺ ม ร- ม - ล - ซ ซ ซ - ล - ท - ร - ท - ล ล ล - ซ ซ ซ - ม ตะโพน - - - - - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - ตฺ ต - - ตฺ ต - - - ถ - - - ตฺ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ จบประโยคที่ 1 ประโยคท่ี 2 ทานอง - ฟ ม ร - ม - ร - ร - ร - ท ท ท - ซ - ซ ล ท - ร - ม - ร - ท - ล ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ตฺ กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉ่งิ - - - ฉงิ่ - - - ฉิง่ ทานอง -ท-ร -ท-ล ลล-ซ ซซ-ม - ร - ทฺ มร-ม -ล-ซ ซซ-ล ตะโพน ---- ---- ---- - - - ตฺ ---- - - - ตฺ - - ตฺ ถ - ตฺ – ต กลองทัด ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉ่ิง - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ ฉง่ิ -ลลล -ร-ซ -ล-ท -ร-ม -ร-ท จบประโยคที่ 2 ---- ---- ---- ---- ---- ประโยคที่ 3 ---- ---- ---- ---- ---- ทท-ล ลล-ซ ทานอง - ท ล ร - - - ฉง่ิ - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ ---- ---ต ตะโพน - - - - ---- ---- กลองทดั - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง ฉิ่ง - - - ฉิ่ง ทานอง -ฟมร -ม-ร -ร-ร -ซซซ -ลลล -ท-ซ ซซ-ล ลล-ท ตะโพน ---- ---- - - - - - - - ต - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - - ถ - - - ตฺ กลองทดั ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉงิ่ - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉงิ่ ฉิ่ง

ทานอง - ท - ล ล ล - ท ท ท - ร ร ร - ม - ร ม ฟ - ล - ม - ร - ฟ ม ร - ทฺ ตะโพน - - - ต - - - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - - - - - ถ - - - - - ตฺ - ต กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ ทานอง - ร - ม - ร - ท ท ท - ล ล ล - ซ - ซ ล ท - ร - ม - ร - ด - ท - ล ตะโพน - - - ตฺ - พ - ท - - - ถ - ตฺ - ต - - - ท - - ต ต - ต - ตฺ - พ - ท กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉ่ิง - - - ฉงิ่ - - - ฉงิ่ - - - ฉิง่ จบประโยคที่ 3 ประโยคที่ 4 ทานอง - ร - ทฺ ม ร - ม - ล - ซ ซ ซ - ล - ท - ร - ท - ล ล ล - ซ ซ ซ – ม ตะโพน - - - - - - - ถ - - - - - ตฺ - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - ถ - ตฺ - ต กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่ิง ทานอง -ฟ-ม -ร-ด ทฺ ลฺ - ทฺ -ดรม -ลลล -ท-ล -ซ-ม -ซ-ล ตะโพน - - - ตฺ -พ-ท ---ถ - ตฺ - ต ---ท --ตต - ต - ตฺ -พ - ท กลองทัด ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - - - ฉิ่ง - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ ฉิ่ง -ร-ท ทท-ล ลล-ซ -ซลท -ร-ม จบประโยคที่ 4 ประโยคท่ี 5 (สดุ ทา้ ย) ---- ---- -ท-ต --ทต ท ต ท ตฺ ทานอง - ร - ม ---- ---- ---- ---- ---- -ร-ด -ท-ล ตะโพน - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉิง่ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทดั - - - - ---- ---- ฉ่งิ - - - ฉิง่ - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ ทานอง - ร - ทฺ ม ร - ม - ล - ซ ซ ซ - ล - ท - ร - ท - ล ล ล - ซ ซ ซ - ม ตะโพน - - - - - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - - - ถ - - - ตฺ กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง ทานอง - ล ล ล - ล ล ล - ล - ซ ซ ซ - ล - ท ท ท - ล - ฟ ฟ ฟ - ม ม ม - ร ตะโพน - - - ต - - - ต - - - ตฺ - พ - ท - - - ตฺ - พ - - - - - - - - - - กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง

ทานอง - ล ล ล - ท - ซ - ล - ท - ด - ร - ม ม ม - ร - ท ท ท - ล ล ล - ซ ตะโพน - ตฺ - พ - ต - พ - ตฺ - พ - ต – พ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - ถ - - - ตฺ - ต กลองทดั - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉ่ิง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉง่ิ จบประโยคที่ 5 (สุดท้าย) ครึง่ เทย่ี วสดุ ทา้ ย (เปิดโลก) ทานอง - ล ซ ด - ซ - ซ - ร – ซ - ล - ท - ร - ม - ร - ท ท ท - ล ล ล - ซ ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ต กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉ่ิง - - - ฉิง่ - - - ฉ่ิง - - - ฉง่ิ - - - ฉง่ิ - - - ฉงิ่ - - - ฉงิ่ - - - ฉ่งิ - - - ฉง่ิ ทานอง - ร ม ฟ - ล - ม - ร - ฟ ม ร - ทฺ - ทฺ - ลฺ ลฺ ลฺ - ทฺ ทฺ ทฺ - ร ร ร - ม ตะโพน - - - - - - - - - - - - - - - ต - - - - - - - ต - - ตฺ ต - - ตฺ พ กลองทัด - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ - - - ฉิง่ - - - ฉงิ่ - - - ฉง่ิ - - - ฉ่งิ - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉงิ่ ทานอง -ท-ท ทท-ร -ม-ร -ท-ล -ท-ร -ท-ล ลล-ซ ซซ–ม ตะโพน ---- ---- ---- ---ถ ---- - - - ตฺ - - ตฺ ต - -ตฺ พ กลองทดั ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - ฉง่ิ - ฉิ่ง - ฉ่ิง- ฉิ่ง - ฉิ่ง- ฉิ่ง - ฉิ่ง- ฉง่ิ - ฉ่ิง- ฉิ่ง - ฉิง่ - ฉ่งิ - ฉง่ิ - ฉิ่ง - ฉง่ิ - ฉิ่ง ฉิ่ง ทานอง -ฟ-ม -ร-ด ทฺ ลฺ - ทฺ -ดรม -ลลล -ท-ล -ซ-ม -ซ-ล ตะโพน ---- - - - ตฺ - - ตฺ ต - - ตฺ พ - -ตฺ ต - - ตฺ พ ---ถ - - - ตฺ กลองทัด ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - ฉ่ิง- ฉิ่ง - ฉ่งิ - ฉง่ิ - ฉง่ิ - ฉิ่ง - ฉง่ิ - ฉ่ิง - ฉ่ิง- ฉง่ิ - ฉง่ิ - ฉิง่ - ฉง่ิ - ฉง่ิ - ฉง่ิ - ฉิ่ง ฉง่ิ ทานอง -ร-ม -ร-ท ทท–ล ลล-ซ -ซลท -ร-ม -ร-ด -ท-ล ตะโพน ---ต ---ต - - - ตฺ -พ-ท - - - ตฺ -พ-- ---- ---- กลองทัด ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - ฉ่งิ - ฉ่ิง - ฉง่ิ - ฉ่ิง - ฉง่ิ - ฉ่งิ - ฉิ่ง- ฉงิ่ - ฉง่ิ - ฉง่ิ - ฉ่ิง- ฉง่ิ - ฉง่ิ - ฉง่ิ - ฉิ่ง- ฉงิ่ ฉงิ่ ทานอง - ร - ทฺ มร-ม -ล-ซ ซซ-ล -ร-ท -ล-ฟ ---ม ---ร ตะโพน - ตฺ - พ -ต-พ - ตฺ - พ -ต-พ - - ตฺ ต - - ตฺ พ -ถ-- - ตฺ - ต กลองทัด ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- - ฉงิ่ - ฉิง่ - ฉิ่ง- ฉ่ิง - ฉงิ่ - ฉิ่ง - ฉิ่ง- ฉง่ิ - ฉ่ิง- ฉิ่ง - ฉิ่ง- ฉงิ่ - ฉิ่ง- ฉ่งิ - ฉิ่ง- ฉ่ิง ฉง่ิ

จดั ทาโดย นำยณฐั เศรษฐ ดำเนนิ ผล กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ปู พ่ี ำทย์ ภำควชิ ำดรุ ยิ ำงค์ไทย วิทยำลยั นำฏศลิ ป์นครศรีธรรมรำช สถำบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ กระทรวงวฒั นธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook