Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 51034-Article Text-118255-1-10-20160309 (1)

51034-Article Text-118255-1-10-20160309 (1)

Published by ไลลา, 2020-08-23 22:32:08

Description: 51034-Article Text-118255-1-10-20160309 (1)

Search

Read the Text Version

วารสารศกึ ษาศาสตร ฉบับวิจัยบณั ฑติ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยขอนแกน 29 ปท ี่ 8 ฉบับท่ี 4 ประจาํ เดอื น ตลุ าคม - ธนั วาคม 2557 Journal of Education Graduate Studies Research http://ednet.kku.ac.th/edujournal ปจ จัยทีส่ ง ผลตอความเครยี ดของผบู ริหารสถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา มธั ยมศึกษาเขต 25 Factors Affecting the Stress of School Administrators under the Secondary Educational Service Area Office 25 ชานนทร มงุ เขตกลาง 1) และ อาคม อึ่งพวง 2) Chanon Moongkhetklang 1) and Arkom Eungpuang 2) 1) สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน Department of Educational Administration, Faculty of Education, Khon Kaen University 2) สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน Department of Educational Administration, Faculty of Education, Khon Kaen University บทคัดยอ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค คือ 1) เพื่อศึกษาระดับปจจัยที่สงผลตอความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 25 2) เพือ่ ศึกษาระดบั ความเครยี ดของผูบริหารสถานศกึ ษา สังกดั สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 25 3) เพื่อศกึ ษาความสัมพนั ธระหวาง ระดับปจ จยั ทส่ี ง ผล ตอความเครียดและระดับความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 4) เพ่ือศึกษาปจจัยที่สงผลตอความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 25 กลุมตวั อยางทีใ่ ชในการศึกษาครั้งน้ี คอื ผบู ริหารสถานศึกษา จํานวน 132 คน เคร่ืองมอื ท่ี ใชเปนแบบสอบถามมีคาสัมประสิทธ์ิความเที่ยง 0.96 วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป เพื่อหาคาเฉลี่ย (Mean) คารอ ยละ (Percentage) และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คา สัมประสิทธิ์สหสมั พนั ธ แบบ Pearson Product Moment Coefficient และสรางสมการถดถอย เพอื่ พยากรณต วั แปรตาม โดยใชการ วเิ คราะหก ารถดถอยพหคุ ณู แบบปกติ (Enter Multiple Regression Analysis) และการวเิ คราะหก ารถดถอยพหคุ ณู แบบมีขนั้ ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจยั พบวา 1. ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ความเครยี ดของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 25 โดยภาพรวมทง้ั 3 ดา น อยใู นระดบั “นอ ย” เมอ่ื พจิ ารณาคาเฉล่ียเปนรายดาน อยูในระดับ “ปานกลาง” และ “นอย” โดยเรียงจากคาเฉลี่ยสูงสุด ตามลําดับ ไดแก ปจจัยดานองคการ ปจจัยดานงาน และปจจัย ดานการสนบั สนนุ ทางสังคม Corresponding author. Tel: Mobile+66 (0)8-9861-1282 E-mail address: [email protected]

30 วารสารศกึ ษาศาสตร ฉบบั วจิ ัยบณั ฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยขอนแกน ปท่ี 8 ฉบับท่ี 4 ประจาํ เดือน ตลุ าคม - ธันวาคม 2557 2. ความสมั พนั ธร ะหวา งความเครยี ดของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 25 โดยภาพรวม อยใู นระดบั “พอประมาณ” เมือ่ พจิ ารณาคาเฉล่ียเปนรายดาน อยใู นระดบั “พอประมาณ” และ “ทําใหเกิดความทุกข” โดยเรียงจากคาเฉล่ียสูงสุดตามลําดับ ไดแก ความจําไมคอยจะดีอยางที่เคย ความทนทานตอโรคภัยตาง ๆ ของรางกายลดลง และรูสึกเหน่ือยแมจะไดนอนหลับอยางเพียงพอก็ตาม สําหรับ รสู ึกไมค อ ยจะดี ไมมีคณุ คา และหดหใู จตองานท่ีทําอยใู นเวลาน้ี มีคา เฉลย่ี เปนอนั ดับสดุ ทา ย 3. ปจจัยท่ีสงผลตอความเครียด และความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 มีความสัมพันธกันทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ดานท่ีมีความสัมพันธกันทั้งในเชิงบวก 3 อันดับแรกตามลําดับ ไดแก ปจจัยดานองคการ (r = 0.843) ปจจัยดานงาน (r = 0.710) และปจจัยดานบุคคล (ความเปนการศึกษาระดับปริญญาโท) (r = 0.363) สําหรับดานท่ีมีความสัมพันธกันท้ังในเชิงลบ 3 อันดับแรก ไดแก ปจจัยดานบุคคล (ความเปนการศึกษา ระดับปริญญาเอก) (r = –0.342) ปจจัยดานบุคคล (ความเปนโรงเรียนขนาดใหญ) (r = –0.209) และ ปจจัย ดานบุคคล (ความเปน โรงเรียนขนาดกลาง) (r = –0.133) 4. ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ความเครยี ดของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 25 ที่ผา นการทดสอบแลว วา มคี วามสมั พนั ธอ ยางมีนัยสาํ คัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 มจี ํานวน 2 ตัว คอื ปจ จัย ดา นองคการ .0(X514ม)คี แา ลสะัมปปรจ ะจสัยทิ ดธา ์ิกนางราทนาํ น(Xา1ย5)หรไดืออคําา นสาัมจปพรยะสากทิ รธณส์ิ ห รสอ มั ยพลันะธ7พ2ห.5คุ 0ูณ(เRท2า=กบั.72.855) 2โดมยนี สยัาสมําาครถัญสทราา งง สถิตทิ รี่ ะดับ สมการถดถอย จากคาสัมประสทิ ธิ์การถดถอยของตวั พยากรณ ท่ีอยูใ นรปู คะแนนดบิ (b) และท่ีอยูใ นรูปคะแนน มาตรฐาน ( b ) ไดดงั ตอไปน้ี สมการพยากรณในรูปคะแนนดิบ (Unstandardized Score) สมกาYร’ พ=ย–า0ก.8รณ00ใน+ร0ปู .ค61ะ0แ(นXน14ม) า+ต0ร.ฐ1า8น2((XS1t5a)ndardized Score) Zy = 0.185 ZX14 + 0.705 ZX15 คําสาํ คญั : ปจ จยั ที่สง ผลตอความเครียด, ความเครียดของผูบรหิ ารสถานศึกษา Abstract The objectives of this research were to 1) study stress factors’s level of school administrators under the secondary educational service area office 25 2) study the stress level of school administrators under the secondary educational service area office 25 3) study the relation between stress factors and stress level of school administrators under the secondary educational service area office 25 and 4). study stress factors that affecting the stress of school administrators under the secondary educational service area office 25. Sampling group consisted of 132 school administrators under the Secondary Educational Service Area office 25 during 2013 academic year. Research tool was a questionnaire with a reliability coefficient of 0.96. Data was analyzed by using computer program for calculating mean, percentage, standard deviation, and Pearson product moment coefficient. Regression equations were created for predicting dependent variables through Enter Multiple Regression Analysis and Stepwise Multiple Regression Analysis.

วารสารศึกษาศาสตร ฉบับวิจัยบัณฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน 31 ปท ่ี 8 ฉบับที่ 4 ประจําเดือน ตลุ าคม - ธันวาคม 2557 Research findings were as follows; 1. Overall image of the factors affecting the stress of school administrators under the Secondary Educational Service Area office 25 indicated a “less” level of mean score. 2. Overall image of the stress of school administrators under the Secondary Educational Service Area office 25 indicated a “adequately” level of mean score. 3. Overall image of the relation between the factors affecting the stress of school administrators under the Secondary Educational Service Area office 25 had the positive and negative relation between each other with a statistical significance at the .01 level. The first three positive relation were organization factor (r = 0.843), work factor (r = 0.710) and personal factor (the education in master degree) (r = 0.363). The first three negative relation were personal factor (the education in doctor degree) (r = –0.342), personal factor (the big size school) (r = –0.209) and personal factor (the middle size school) (r = –0.133) 4. Factors affecting the stress of school administrators under the Secondary Educational Service Area wofaficse.82552inwciltuhdaedstOatrigstaicnaizlastiiognniFficaacntocre(Xa1t4)thaend.05WloervkeFl.aTchtoer p(Xre15d).icTtihvee multiple correlation coefficient coefficient or predictive power was 72.50% (R2= .725). These could be expressed in equations of unstandard and standard score as follows: Unstandardized Score Predictive Equation StanYd’a=rd–iz0e.8d0S0c+or0e.6P1r0e(dXic14t)iv+e 0E.q1u8a2t(iXo1n5) Zy = 0.185 ZX14 + 0.705 ZX15 Keywords : Factors Affecting Stress, School Administrators บทนํา สถานศึกษาที่มีความแตกตางจากการบริหารงาน การบริหารงานใดใหประสบความสําเร็จ ดานอื่น ๆ จึงเปนสิ่งสําคัญที่ผลักดันใหผูบริหา รตองเผชิญกับบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบ จํ า เ ป  น ต  อ ง มี ผู  บ ริ ห า ร เ พ่ื อ ทํ า ห น  า ท่ี ว า ง แ ผ น มากยิ่งข้ึน และสงผลใหผูบริหารสถานศึกษา จัดองคก าร ควบคมุ ดูแล และจูงใจผใู ตบงั คบั บญั ชา เกิดความเครียดในท่ีสุด ซึ่งความเครียดท่ีเกิดข้ึนน้ี ใหทํางานลุลวงตามเปาหมาย [7] แตในการบริหาร ถือเปนโรคภัยรายแรงของผูบริหาร เปนท้ังพลังและ จัดการโรงเรียนน้ันเปนงานท่ีมีความแตกตาง แรงกดดนั อนั มผี ลกระทบตอ ชวี ติ ผบู รหิ ารอยเู สมอ [4] จากงานอ่ืน ๆ เพราะผูท่ีทําหนาท่ีบริหารโรงเรียน และจะสงผลกระทบไปถึงการพัฒนาผูเรียนอันเปน จะตองทําใหนักเรียนบรรลุตามเปาหมาย คือ หัวใจสําคญั ของการจัดการศึกษาในท่ีสดุ การพัฒนาคน ซ่ึงคอนขางยากและแตกตางจาก การบรหิ ารธรุ กจิ ทม่ี เี ปา หมายชดั เจน คอื กาํ ไร (Profit) จากการศึกษาบริบทผูบริหารสถานศึกษา อีกทั้งยังเปนงานที่ติดขัดไปกับสิ่งตาง ๆ หลายอยาง สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เชน ระบบการบริหาร อํานาจหนาท่ี ความคลองตัว เขต 25 พบวา สถานศกึ ษาในสงั กดั จะตอ งเรง พฒั นา ในการจัดการ เปน ตน [3] จากบริบทของการบริหาร ครูและผูเรียนใหสามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ทาง

32 วารสารศกึ ษาศาสตร ฉบบั วิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน การเรียนทุกลุมสาระ เพิ่มข้ึนไมนอยกวา 5 คะแนน ปท ี่ 8 ฉบับท่ี 4 ประจําเดอื น ตุลาคม - ธนั วาคม 2557 และเสรมิ สรา งใหผ เู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อีกท้ัง วตั ถปุ ระสงคข องการวิจัย ตองดําเนินการพัฒนาครู และผูเรียน ใหมีความรู 1. เพื่อศึกษาระดับปจจัยท่ีสงผลตอ เรื่องประชาคมอาเซียนตามยุทธศาสตร 2555 ของกระทรวงศึกษาธิการ [10] จากนโยบายขางตน ความเครยี ดของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สาํ นกั งาน เปนส่ิงที่ทําใหผูบริหารสถานศึกษาเกิดความกดดัน เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 25 หรือความเครียดในการปฏิบัติงานไดเปนอยางดี เพราะสถานศึกษาแตละแหงตองดําเนินการ 2. เพอ่ื ศกึ ษาระดบั ความเครยี ดของผบู รหิ าร ตามนโยบายเดยี วกัน ภายใตบ ริบททีแ่ ตกตา งกัน สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 25 จากความสําคัญของความเครียดในการ ปฏิบัติงานของผูบริหารสถานศึกษา และจากการ 3. เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางระดับ ศึกษางานวิจัย พบวา ยังไมมีการศึกษาเกี่ยวกับ ปจจัยที่สงผลตอความเครียดและระดับความเครียด ความเครียดของผูบริหารสถานศึกษาในบริบทของ ของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 25 จงึ เปน แรงกระตนุ ใหผวู จิ ยั เกดิ ความสนใจทจ่ี ะศึกษา เก่ียวกับปจจัยท่ีสงผลตอความเครียดของผูบริหาร 4. เพ่ือศึกษาปจจัยที่สงผลตอความเครียด สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี มัธยมศึกษา เขต 25 เพื่อเปนสารสนเทศในการ การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 25 บริหารการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 25 ใหม คี ุณภาพตอ ไป วิธดี ําเนินการวิจยั 1. ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยคร้ังนี้เปน คาํ ถามการวิจยั 1. ปจ จยั ทสี่ ง ผลตอ ความเครยี ดของผบู รหิ าร ศึกษาเก่ียวกับปจจัยที่สงผลตอความเครียดของ ผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 โดยใชกระบวนการ มธั ยมศกึ ษา เขต 25 อยใู นระดบั ใด วจิ ัยเชิงสาํ รวจ 2. ความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา 2. ประชากรที่ใชในการวิจัย ผูบริหาร สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา สถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เขต 25 อยูในระดบั ใด มธั ยมศึกษา เขต 25 จํานวน 199 คน [10] 3. ระดับปจจัยท่ีสงผลตอความเครียด 3. กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กําหนด และระดับความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา ขนาดตัวอยา งดว ยตารางของ Krejcie และ Morgan สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา และทําการสุมตัวอยางแบบแบงชั้นตามขนาด เขต 25 มคี วามสมั พันธอยางไร ของโรงเรียน 4 ขนาด ไดแก 1) โรงเรียนขนาดเล็ก 2) โรงเรียนขนาดกลาง 3) โรงเรียนขนาดใหญ 4. มีปจจัยที่สงผลตอความเครียดของ และ 4) โรงเรียนขนาดใหญพิเศษ ไดกลุมตัวอยาง ผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ จาํ นวน 132 คน การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 25 หรอื ไม 4. ตั ว แ ป ร ท่ี ศึ ก ษ า ตัวแปรตนของ การวิจัย ไดมาจากการสังเคราะหวรรณกรรม และงานวิจัยที่เก่ียวของ จํานวน 24 เร่ือง ไดปจจัย ท่ีสงผลตอความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา ในคร้ังน้ี จํานวน 4 ปจจัย คือ 1) ปจจัยดานบุคคล

วารสารศึกษาศาสตร ฉบับวิจยั บัณฑติ ศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน 33 ปท ี่ 8 ฉบบั ที่ 4 ประจําเดือน ตลุ าคม - ธันวาคม 2557 มัธยมศึกษา เขต 25 โดยภาพรวม อยูในระดับ “พอประมาณ” เม่ือพิจารณาคาเฉล่ียเปนรายดาน 2) ปจจัยดานองคการ 3) ปจจัยดานงาน และ อยูในระดับ “พอประมาณ” และ “ทําใหเกิด 4) ปจ จยั ดา นการสนบั สนนุ ทางสงั คม สว นตวั แปรตาม ความทุกข” โดยเรียงจากคาเฉลี่ยสูงสุดตามลําดับ คอื ความเครียดของผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา ไดแ ก ความจาํ ไมคอยจะดีอยา งท่เี คย ความทนทาน ตอโรคภัยตาง ๆ ของรางกายลดลง และรูสึกเหน่ือย 5. เคร่ืองมือการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช แมจะไดนอนหลับอยางเพียงพอก็ตาม สําหรับ แบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในวิจัย ประกอบดวย รูสึกไมคอยจะดี ไมมีคุณคาและหดหูใจตองาน 2 ตอน ไดแก ตอนท่ี 1 คือ แบบสอบถามเก่ียวกับ ที่ทําอยใู นเวลาน้ี มีคา เฉลย่ี เปน อนั ดบั สดุ ทา ย ปจ จยั ทสี่ ง ผลตอ ความเครยี ดของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา และตอนที่ 2 คือ แบบวัดความเครียดของผูบริหาร 1.3 ความสัมพันธระหวางปจจัยท่ี สถานศึกษา ซ่ึงประยุกตมาจากแบบวัดความเครียด ของ Davis, Eshelman และ McKay [12] สงผลตอความเครียด กับความเครียดของ ผูบริหารสถานศึกษา พบวา ปจจัยที่สงผล 6. การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ผวู จิ ยั ขอหนงั สอื ตอความเครียด และความเครียดของผูบริหาร จากสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษา สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เพ่ือจัดสงไปยัง มธั ยมศกึ ษา เขต 25 มคี วามสมั พนั ธก นั ทงั้ ในเชงิ บวก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 และเชิงลบ เพ่ือขอความอนุเคราะหในการเก็บขอมูลจาก กลุมตัวอยาง หลังจากน้ันจึงดําเนินการสง 1.4 ปจจัยท่ีสงผลตอความเครียด แบบสอบถามผา นทางไปรษณีย และสง ดว ยตนเอง ของผูบริหารสถานศึกษา พบวา มีตัวแปรท่ี ทดสอบแลววามีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญ 7. การวิเคราะหขอมูล เครื่องมือการวิจัย ทางสถิติที่ระดับ .05 จํานวน 2 ตัว คือ ปจจัยดาน ตอนที่ 1 และ 2 ดําเนินการวิเคราะหขอมูลโดยใช องคการ และ ปจจัยดานงาน ซึ่งสามารถสราง สถิติเชิงบรรยาย ซ่ึงไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สมการถดถอย จากคาสัมประสิทธิ์การถดถอย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หลังจากน้ัน จึงทําการ ของตัวพยากรณไดด ังตอ ไปนี้ วิเคราะหหาความสัมพันธ ใชวิธีหาคาสัมประสิทธิ์ สมการพยากรณในรูปคะแนนดิบ สหสมั พนั ธแบบเพยี รสนั และสดุ ทาย คอื การศึกษา (Unstandardized Score) ปจจัยที่สงผลตอความเครียดโดยใชสถิติวิเคราะห Y’ = –0.800 + 0.610(X14) + การถดถอยพหุคูณแบบปกติ และสถิติวิเคราะห 0.182(X15) ส ม ก า ร พ ย า ก ร ณ  ใ น รู ป ค ะ แ น น การถดถอยพหคุ ูณแบบมขี นั้ ตอน มาตรฐาน (Standardized Score) สรุปผลและอภิปรายผลการวิจยั Zy = 0.185 ZX14 + 0.705 ZX15 1. สรปุ ผลวจิ ยั อภิปรายผล 1.1 ระดบั ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ความเครยี ด 2. ของผูบริหารสถานศึกษา พบวา ปจจัยท่ีสงผล 2.1 ระดบั ปจ จยั ทสี่ ง ผลตอ ความเครยี ด ตอความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา สังกัด ของผูบริหารสถานศึกษา พบวา ปจ จยั ทสี่ ง ผลตอ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ความเครยี ดของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สํานักงาน โดยภาพรวมทง้ั 3 ดา น อยใู นระดบั “นอ ย” เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 25 โดยภาพรวม ทง้ั 3 ดา น อยใู นระดบั “นอ ย” ทงั้ นเ้ี นอื่ งมาจากผบู รหิ าร 1.2 ระดับความเครียดของผูบริหาร สถานศึกษามีความสัมพันธท่ีดีตอองคกร มีการ สถานศึกษา พบวา ความเครียดของผูบริหาร สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

34 วารสารศกึ ษาศาสตร ฉบับวิจัยบัณฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน บริหารงานอยางเปนระบบ และไดรับการสนับสนุน จากผบู ังคบั บัญชาและบคุ คลคนรอบขางเปน อยา งดี ปท ่ี 8 ฉบับที่ 4 ประจําเดือน ตลุ าคม - ธนั วาคม 2557 ดานปจจัยบุคคล พบวา ตัวแปร มีภาระหนักมากเกินไปจนไมสามารถทําใหเสร็จ ทุกตัว ไมสงผลตอระดับความเครียดของผูบริหาร ในแตละวันได และเมื่อตองทําอะไรท่ีเปนเรื่องดวน สถานศึกษา เพราะตัวแปรดานปจจัยบุคคลเปน อยูตลอดเวลา เพียงความแตกตางระหวางบุคคลท่ีมี เพศ อายุ วฒุ ิการศึกษา ตาํ แหนง ประสบการณ ขนาดโรงเรียน ดานการสนับสนุนทางสังคม โดย แตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ ภาพรวมอยูในระดับ “นอย” ท่ีเปนเชนนี้ เพราะ ภารดี คํามา [5] ท่ีพบวา ปจจัยสภาพสวนตัว ผูบริหารสถานศึกษาไดรับการสนับสนุนทางสังคม ซงึ่ ไดแ ก ตวั แปรเพศ อายุ วฒุ กิ ารศกึ ษาประสบการณ อยางเพียงพอ สอดคลองกับการศึกษาของ ชาญชัย การทาํ งาน ไมถกู คัดเลือกเขาสมการพยากรณ เสียงสังข [2] ที่พบวา ถา ผบู รหิ ารไดรบั การสนับสนนุ ทางสังคมที่ดีจากผูบังคับบัญชา เพ่ือน ผูบริหาร ใ น ด  า น ป  จ จั ย ด  า น อ ง ค  ก า ร ผูใตบังคับบัญชาและครอบครัวจะทําให ผูบริหาร โดยภาพรวมอยูในระดับ “ปานกลาง” เมื่อพิจารณา มีกําลังใจ ที่จะเผชิญตอภาวะกดดันตาง ๆ ที่ทําให คา เฉลยี่ รายขอ อยใู นระดบั “ปานกลาง” และ “นอ ย” เกดิ ความเครยี ด จงึ ทาํ ใหล ดความเครยี ดของผบู รหิ าร โดยเรยี งจากคา เฉลี่ยสงู สดุ 3 ลาํ ดับแรก ไดแ ก ทา น ลงได ตอ งปฏบิ ัตงิ านหลายหนาทีใ่ นเวลาเดยี วกัน มีปญหา เก่ียวกับระเบียบของวินัยนักเรียนอยูเสมอ และ 2.2 ระดับความเครียดของผูบริหาร จํานวนครูไมสอดคลองกับภาระงานของโรงเรียน สถานศกึ ษา โดยภาพรวม อยใู นระดบั “พอประมาณ” ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ คูณศักด์ิ ศรีลําไพ ท้ังน้ีอาจเปน เพราะ ผูบริหารสถานศึกษาไดรับ [1] ทพี่ บวา ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาจะเกิดความเครยี ด การสนับสนุนทางสังคมที่ดี จากผูบังคับบัญชา เมื่อพบวาครูหยอนสมรรถภาพในการปกครองดูแล เพื่อนผูบริหาร ครู ครอบครัว และจากชุมชน นักเรียน สําหรับทานมักจะขัดแยงกับผูอื่น เพราะ ความเครียดระดับนี้ถือวาเปนความเครียดที่ดี มีความคิดเห็นไมตรงกันอยูเสมอ มีคาเฉล่ียเปน เ พ ร า ะ อ ยู  ใ น ร ะ ดั บ ที่ ช  ว ย ก ร ะ ตุ  น ก า ร ทํ า ง า น อันดับสุดทาย นอกจากนี้ยังสอดคลองกับ ชาญชัย ซ่ึงสอดคลองกับ Dubrin อางถึงใน เสริมศักด์ิ เสียงสังข [2] ที่พบวาผูบริหารจะเกิดความเครียด วิศาลาภรณ [9]) ท่ีกลาววา ผูบริหารควรจะมีระดับ เมื่อไมสามารถแกปญหาความขัดแยงได เม่ือรูวา ความเครียดที่เหมาะสม ซ่ึงเปนความเครียดท่ีดี ตนเองแกปญหาความขัดแยงในระดับท่ีไมนาพอใจ (Eustress) เพ่อื กระตนุ ใหอ ยากทํางาน และเมื่อตองจัดการแกปญหากรณีนักเรียนทําผิด ระเบยี บวินยั 2.3 ความสัมพันธระหวางปจจัยท่ี สงผลตอความเครียด กับความเครียดของ ปจจัยดานงาน โดยภาพรวมอยูใน ผูบริหารสถานศึกษา พบวา มีความสัมพันธกัน ระดับ “ปานกลาง” ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ ท้ังในเชิงบวกและเชิงลบ ดานที่มีความสัมพันธกัน ชาญชัย เสียงสังข [2] ที่พบวา ความเครียดจาก ท้ังในเชิงบวก 3 อันดับแรกตามลําดับ ไดแก ปจจัย ดานการทํางานของผูบริหารโรงเรียนโดยรวมอยูใน ดานองคการ ปจจัยดานงาน และปจจัยดานบุคคล ระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา (ความเปนการศึกษาระดับปริญญาโท) ที่เปนเชนนี้ ความเครียดในการปฏิบัติงานของผูบริหารโรงเรียน เพราะผบู ริหารมภี าระงานทต่ี อ งรบั ผิดชอบทอี่ งคการ เรียงลําดับคะแนนเฉล่ียจากมากไปหานอย คือ เปนจํานวนมาก และสวนใหญมีระดับการศึกษา เม่ือตองทําหนาท่ีดูแลประสานงานระหวางบุคคล ที่ระดับปริญญาโท และสอดคลองกับการศึกษา หลายกลุมที่มีความคิดเห็นไมตรงกัน เม่ือรูสึกวา ของ Kathy J. Carroll ที่พบวา ความเครียด จากงาน (Task Based Stress) เปนปจจัยหนึ่ง ที่มีความสัมพันธกับสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ของผูอํานวยการโรงเรียนรัฐบาลอยางมีนัยสําคัญ

วารสารศกึ ษาศาสตร ฉบบั วิจัยบณั ฑิตศึกษา มหาวทิ ยาลัยขอนแกน 35 ปที่ 8 ฉบับท่ี 4 ประจําเดอื น ตุลาคม - ธันวาคม 2557 มัธยมศึกษา เขต 25 โดยภาพรวม อยูในระดับ “พอประมาณ” ดังนั้นผูบริหารสถานศึกษา ทางสถติ ิ สาํ หรบั ดา นทม่ี คี วามสมั พนั ธก นั ทงั้ ในเชงิ ลบ ควรใหความสําคัญและเอาใจใสการดูแลสุขภาพ 3 อันดับแรก ไดแก ปจจัยดานบุคคล (ความเปน จิตของตนเองอยางสมํ่าเสมอ และพึงระวังไมให การศึกษาระดับปริญญาเอก) ปจจัยดานบุคคล เกิดความเครียดในการบริหารงานจนมากเกินไป (ความเปน โรงเรยี นขนาดใหญ) และปจ จยั ดา นบคุ คล เพราะความเครียดในระดับท่ีสูง จะสงผลกระทบตอ (ความเปนโรงเรียนขนาดกลาง) ท่ีเปนเชนนี้ เพราะ ทัง้ สขุ ภาพจิตและสุขภาพกายของผบู ริหาร ระดับการศึกษาท่ีสูงขึ้นบวกกับความมีประสบการณ ในบริหารงานมาเปนระยะเวลายาวนาน ชวยให 1.2 สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ผบู รหิ ารมคี วามสามารถในการจดั การกบั ความเครยี ด มัธยมศึกษาเขต 25 ควรจัดทําโครงการที่เก่ียวของ ไดดี อีกท้ังการบริหารโรงเรียนขนาดใหญและ กับการผอนคลายความเครียด หรือวิธีการจัดการ ขนาดกลาง คอนขางมีความพรอมในดานบุคลากร ความเครียดใหกับผูบริหารสถานศึกษา เพ่ือให งบประมาณ และทรัพยากรอน่ื ๆ ดวยเหตุนจี้ ึงสงผล ผูบริหารสถานศึกษาสามารถรักษาความเครียด ใหค วามสมั พนั ธเปนไปใน เชิงลบ ของตนเองใหอยูในระดับที่เหมาะสม และสามารถ รับมือกับสุขภาพจิตของตนเองได ซึ่งจะชวยให 2.4 ปจ จยั ทสี่ ง ผลตอ ความเครยี ดของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25 ผูบริหารสถานศึกษา พบวา ปจจัยดานองคการ เปนองคการท่ีมีการดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ เปนตัวแปรแรกที่เขาสูสมการพยากรณ แสดงให บนพื้นฐานความสขุ ของคนในองคก าร เห็นวา ความคลุมเครือในบทบาท ความขัดแยง ในบทบาท และ ขนาดของโรงเรียน สงผลตอ 2. ขอ เสนอแนะสาํ หรบั การศกึ ษาครง้ั ตอ ไป ความเครียดของผูบริหารสถานศึกษา สวนตัวแปร 2.1 ควรมกี ารนาํ ตวั แปรที่มีความสัมพันธ ตัวท่ี 2 คือ ปจจัยดานงาน เปนตัวแปรท่ีสองที่เขาสู สมการพยากรณ แสดงใหเห็นถึงความสําคัญงาน เชิงบวกตอความเครียดของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา เชน ที่สงผลตอความเครียดซ่ึงประกอบดวยภาระงาน ปจ จยั ดา นบคุ คล (ความเปน การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญา และเวลาในการทํางาน ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษา โท) ปจจัยดานบุคคล (ความเปนผูอํานวยการ) ของ สุดแสง หม่นื ราม [6] ที่พบวา ปจ จัยที่ทาํ ใหเกิด ปจ จยั ดา นบคุ คล (ความมปี ระสบการณน อ ยกวา 5 ป) ความเครียดดานลักษณะงาน สามารถพยากรณ ปจจัยดานบุคคล (ความมีประสบการณ 5-10 ป) ความเครียดของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานได และปจจัยดานการสนับสนุนทางสังคม ไปทํา อยางชดั เจน และสอดคลองกับ สุนีรตั น เอยี่ มประไพ การศึกษาเพิ่มเติมในเขตพ้ืนที่การศึกษาอ่ืน ๆ [8] ที่พบวา ประสบการณในการทํางาน และความ เพอ่ื ใหก ารวจิ ัยเกี่ยวกับปจจัยทสี่ งผลตอความเครียด ขดั แยง ในบทบาท เปน ตวั แปรหนงึ่ ทมี่ คี วามสามารถ มคี วามมคี วามหลากหลายมากยง่ิ ขนึ้ ในการพยากรณค วามเครียดของผบู รหิ ารได 2.2 ควรมศี กึ ษาวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพเกย่ี วกบั ขอ เสนอแนะ ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ความเครยี ดของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 1. ขอ เสนอแนะสาํ หรบั การนาํ ผลการวจิ ยั สังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 เพื่อใหทราบปจจัยอื่น ๆ เพ่ิมเติมนอกเหนือจาก ไปใช การวิจยั เชงิ ปริมาณ 1.1 จากการศึกษาพบวาความเครียด ของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา

36 วารสารศกึ ษาศาสตร ฉบับวิจยั บณั ฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยขอนแกน เอกสารอา งอิง ปท ี่ 8 ฉบบั ที่ 4 ประจาํ เดือน ตลุ าคม - ธนั วาคม 2557 [1] คูณศักด์ิ ศรีลําไพ. ความเครียดตอการ [7] สุนทร โคตรบรรเทา. หลักการและทฤษฎี ปฏบิ ตั งิ านของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั การบรหิ ารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ปญ ญาชน. สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสกลนคร 2551. เขต 3. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา [8] สุนีรัตน เอี่ยมประไพ. ปจจัยท่ีสงผลตอ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ ความเครยี ดของผบู รหิ าร สงั กดั สาํ นกั งาน มหาสารคาม. 2549. การประถมศึกษา จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต [2] ชาญชัย เสียงสังข. ปจจัยที่มีผลตอ สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย ความเครยี ดในการปฏบิ ตั งิ านของผบู รหิ าร ส ถ า บั น ร า ช ภั ฏ เ พ ช ร บุ รี วิ ท ย า ล ง ก ร ณ  โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดเทศบาล ในพระบรมราชปู ถัมภ. 2546. แ ล ะ เ มื อ ง พั ท ย า เ ข ต ก า ร ศึ ก ษ า 12. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต [9] เสริมศักด์ิ วิศาลาภรณ. ประมวลสาระ สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย ชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษา สถาบนั ราชภฏั ราํ ไพพรรณ.ี 2547. หนวยท่ี 8-9. พิมพครั้งที่ 5. นนทบุรี: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [3] ธร สุนทรายุทธ. การบริหารจัดการ 2545. เชิงปฏิรูป. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ. 2551. [10] สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. แผนปฏิบัติการสํานักงานเขต [4] พาไชย โชติพันธุโสภณ. ปจจัยที่ทําให พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 เ กิ ด ค ว า ม เ ค รี ย ด ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ปงบประมาณ พ.ศ. 2555. ขอนแกน: ของผูบริหารโรงเรียนในเขตพ้ืนที่การ กลมุ นโยบายและแผน. 2555. ศึกษาชลบุรี เขต 1. วิทยานิพนธปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร [11] Kathy J. Carroll. CONSEQUENCES การศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัย OF STRESS FOR PUBLIC SCHOOL บรู พา. 2548. SUPERINTENDENTS. Degree of Doctor of Education, Faculty of the Graduate [5] ภารดี คาํ มา. ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ความเครยี ด College, the Oklahoma State University. ของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา Martha Davis, Elizabeth Robbins สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดเลย. Eshelman 2010 วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สํานักงาน [12] Matthew Mcky. TheRelacation& Stress บัณฑิตศึกษา สถาบนั ราชภัฏเลย. 2548. Reduction Workbook. Oakland: New Harbinger. 2000. [6] สุดแสง หม่ืนราม. ปจจัยท่ีทําใหเกิด ความเครียดของผูบริหารการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาชลบรุ ี เขต 2.วทิ ยานพิ นธป รญิ ญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยราภัฏราชนครินทร. 2554.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook