Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเขียนโครงการ

การเขียนโครงการ

Published by yahoo2018, 2018-01-30 23:45:20

Description: การเขียนโครงการ

Search

Read the Text Version

บทท่ี 3 การเขยี นโครงการลกั ษณะของโครงการที่ดี โครงการเปนการจัดกิจกรรมท่ีเปนระบบ เพ่ือการปฏิบัติหนาท่ีองคการใหบรรลุถึงเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งโครงการท่ีดียอมทําใหประสิทธิภาพของการดําเนินงาน และผลตอบแทนที่องคการหรือหนวยงานจะไดรับอยางคุมคา อันจะนํามาซึ่งการพัฒนาของหนวยงานนั้นๆ ซึ่ง ประชุม (2535) ไดสรุปลักษณะท่ดี ขี องโครงการดังตอไปนี้ 1. สามารถตอบสนองความตองการหรือแกปญ หาขององคการหรือหนวยงานได 2. มีวตั ถุประสงคแ ละเปา หมายทช่ี ดั เจน สามารถดําเนนิ งานและปฏิบตั ิได 3. รายละเอียดของโครงการตองสอดคลองและสัมพันธกัน กลาวคือ วัตถุประสงคของ โครงการตองสอดคลองกับหลักการและเหตุผล วิธีการดําเนินงานตองสอดคลองกับ วัตถุประสงคเ ปน ตน 4. รายละเอียดของโครงการสามารถเขาใจไดงาย สะดวกตอการดําเนนิ งานตาม โครงการ 5. เปนโครงการที่สามารถนําไปปฏิบัติได สอดคลองกับแผนงานหลักขององคการและ สามารถตดิ ตามประเมนิ ผลได 6. โครงการตองกําหนดขึ้นจากขอมูลท่ีมีความเปนจริง และเปนขอมูลท่ีไดรับการ วิเคราะหอยา งรอบคอบ 7. โครงการตอ งไดรบั การสนบั สนนุ ในดานทรัพยากร และการบรหิ ารอยางเหมาะสม 8. โครงการตองมีระยะเวลาในการดําเนินงาน กลาวคือตองระบุถึงวันเวลาที่เร่ิมตน และ ส้ินสุดโครงการ ขอสังเกต โครงการทีก่ าํ หนดข้นึ แมเ ปนโครงการที่มีลกั ษณะดเี พียงใด แตตัวโครงการก็ไมอาจแกไขปญหาตางๆ ขององคการ หนวยงาน หรือ สังคมของชนกลุมใหญ ตามที่ไดเขียนไวในโครงการไดท้ังหมด เพราะการดําเนินโครงการเพื่อแกไขปญหาตางๆ ในโครงการยังมีสวนประกอบL:\book181441\Book181441-3.doc 07/01/50

การเขยี นโครงการหรือปจจัยอ่ืนๆ อีกมากมายที่อาจทําใหการดําเนินงานของโครงการบรรลุถึงเปาหมายอยางดอยประสิทธภิ าพ นอกจากน้โี ครงการหน่ึงอาจเปนโครงการที่ดที ี่สดุ ในระยะหน่ึง แตอ าจเปนโครงการท่ีใชป ระโยชนไดนอ ยในอีกเวลาหนงึ่ กเ็ ปน ไปไดวธิ เี ขียนโครงการ ในการเขียนโครงการนั้น รูปแบบหรือแบบฟอรมในการเขียนโครงการมีอยูดวยกันหลายแบบ ซ่ึงสามารถจําแนกออกไดเปน 2 ลักษณะคือ การเขียนโครงการแบบดั้งเดิม หรือการเขียนโครงการแบบประเพณีนิยม (Conventional Method) และการเขียนโครงการเชิงเหตุผล หรือการจดั ทาํ โครงการแบบเหตผุ ลเชิงตรรกวทิ ยา (Logical Framework Method) ในการเขียนโครงการท้ังสองรปู แบบมแี นวคิดและวิธีการในการเขียน ซง่ึ จะขอแยกกลา วในแตละรปู แบบดงั นี้ 1. การเขยี นโครงการแบบประเพณีนยิ ม (Conventional Method) การเขียนโครงการในรูปแบบนี้เปนรูปแบบดั้งเดิมที่ทํากันมานานแลว ปจจุบันก็ยังเปนที่นิยมเขียนกันอยู แตการเขียนโครงการในรูปแบบนี้มีขอจํากัดที่สําคัญอยูหลายประการอันไดแกลักษณะของโครงการมีความยาวเกินความจําเปนมุงเนนปริมาณมากกวาคุณภาพ ทําใหผูเขียนโครงการพยายามอธิบายถึงหลักการและเหตุผลในการเขียนโครงการอยางมากมาย พรอมทั้งตั้งวัตถุประสงคไวอยางเลิศเลอ จนกระท่ังไมสามารถจะดําเนินงานบรรลุถึงวัตถุประสงคไดท้ังหมดผลที่ตามมาคือไมกอใหเกิดประโยชนอยางแทจริง ผลของงานมักขาดประสิทธิภาพและการพจิ ารณาเหน็ ชอบโครงการมักพิจารณาแบบแยกสวนเปนลักษณะรายการ (Item analysis) โดยไมคํานึงถึงการวิเคราะหแบบองครวม การวางโครงการในลักษณะนี้มีตัวอยางใหเห็นมากมาย เชนขณะทข่ี าดครูในสาขาทีข่ าดแคลน แตร ฐั บาลมีโครงการใหขาราชการครูเกษียณอายุกอน 60 ป ทําใหขาราชการครูในสาขาขาดแคลนลาออกเปนจาํ นวนมาก เปนตน ถึงแมวา การเขียนโครงการในรูปแบบประเพณีนิยม จะมีขอบกพรองดังที่ไดกลาวมาแลวแตการเขียนโครงการในรูปแบบน้ีก็ยังมีผูนิยมเขียนอยูเปนจํานวนมาก เนื่องจากความคุนเคยของทั้งผูเขียนและผูอานโครงการ และเมื่อมอบหมายใหเขียนโครงการจึงสามารถเขียนไดอยางรวดเรว็ ขณะเดยี วกนั ผูมอี าํ นาจในการอนุมัติโครงการกค็ ุน ชินกับโครงการในลักษณะนี้ จึงสามารถพิจารณาโครงการไดอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะโครงการขนาดเล็กท่ีไมมีความเก่ียวของ หรือสงผลกระทบตอดานอ่ืนๆ มากนัก การเขียนโครงการในลักษณะนี้ นับวาเปนรูปแบบที่เหมาะสมและL:\book181441\Book181441-3.doc 50

การเขียนโครงการยังคงมีประโยชนอยางมากเพียงปรับแกจุดออนและขอจํากัดที่มีของวิธีการเขียนโครงการในลักษณะนี้ เมื่อรูปแบบการเขียนโครงการแบบประเพณีนิยม ยังเปนรูปแบบท่ีสมาชิกในองคการสวนใหญเขาใจได ดังน้ันจึงยังมีความจําเปนที่จะตองศึกษาองคประกอบและวิธีการเขียนโครงการ ในการเขียนโครงการจําเปนที่จะตองมีผูรับผิดชอบโครงการ เพ่ือท่ีจะดําเนินโครงการท่ีเขียนใหไดสําเร็จตามความตองการ ดังนั้นในลักษณะของโครงการบางโครงการ ผูเขียนหรือกลุมผูเขียนโครงการอาจจะเปนคนละคนกบั ผูดาํ เนินงานตามโครงการหรอื อาจจะเปนคนๆ เดียวกันหรือกลุมๆเดียวกันก็ยอมได ท้ังนี้ข้ึนอยูกับลักษณะปจจัยหลายประการ เชน ขนาดและชนิดของโครงการลักษณะของโครงการและอ่ืนๆ เปนตน อยางไรก็ตาม ไมวาโครงการจะมีขนาดเชนใด ชนิดและประเภทใด ยอมตองมีรูปแบบ (Form) หรือโครงสราง (Structure) ในการเขียนที่เหมือนกันดังนี้(ประชุม, 2535) 1. ชื่อโครงการ 2. หนวยงานทรี่ บั ผดิ ชอบโครงการ 3. ผูรับผิดชอบโครงการ 4. หลักการและเหตุผล 5. วตั ถปุ ระสงคแ ละเปา หมาย 6. วธิ ีดําเนนิ การ 7. แผนปฏบิ ัตงิ าน 8. ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ 9. งบประมาณและทรัพยากรท่ตี องใช 10. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ รปู แบบหรอื หัวขอ ในการเขยี นโครงการขา งตน อาจจะมีหัวขอและรายละเอียดแตกตางกันไปตามลักษณะหรือประเภทของโครงการ บางโครงการมีรายละเอียดมาก บางโครงการมีรายละเอียดนอย บางโครงการอาจตองเพิม่ เติมหัวขอทีม่ คี วามสําคัญเขาไป เชน โครงการทางดานวิชาการ อาจตองมีการเพ่ิมหัวขอเอกสารอางอิง เปนตน ทั้งนี้แลวแตผูเขียนโครงการจะพยายามจัดทําข้ึนหรือยึดถือโดยมุงหวังใหผูอานโครงการหรือผูปฏิบัติตามโครงการมีความชัดเจนและเขาใจโดยงา ยทส่ี ุดL:\book181441\Book181441-3.doc 51

การเขียนโครงการ เพ่ือความเขาใจท่ีชัดเจนในเรื่องของรูปแบบ หรือโครงสรางในการเขียนโครงการโดยละเอยี ด จึงขออธบิ ายรายละเอยี ดในแตล ะขอ ของรูปแบบ ในการเขียนโครงการลกั ษณะน้ีL:\book181441\Book181441-3.doc 52

การเขียนโครงการ 1. ชือ่ โครงการ การต้ังชื่อโครงการตองมีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง เปนท่ีเขาใจไดโดยงา ยสําหรับผูนาํ โครงการไปใชหรอื ผูมสี ว นเกย่ี วของกบั โครงการ ช่ือโครงการจะบอกใหทราบวาจะทําส่งิ ใดบาง โครงการทีจ่ ดั ทําขึ้นนัน้ ทําเพือ่ อะไร ชื่อโครงการโดยท่ัวไปควรจะตองแสดงลักษณะงานที่ตองปฏิบัติ ลักษณะเฉพาะของโครงการ และจุดมุงหมายของโครงการ เชน โครงการผักศึกษา โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการวางแผนเขียนโครงการ โครงการขยายพันธุพืชเชิงธุรกิจเปนตน นอกจากนี้การเขียนโครงการบางโครงการ นอกจากจะมีชื่อโครงการแลว ผูเขียนโครงการอาจระบุช่ือแผนงานไวดวย ทั้งน้ีเพื่อใหเกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเปนการแสดงใหเห็นวาโครงการท่ีกําหนดขึ้นอยูในแผนงานอะไร สามารถสนับสนุนและสอดคลองกับแผนงานน้ันไดหรือไม มากนอยเพียงใด การระบุระดับแผนงานทําใหมองเห็นภาพในมุมกวางมากข้ึน และชวยปองกนั ปญ หาการทําโครงการทค่ี ดิ แบบแยกสว นไดใ นระดบั หน่ึง ท่ีกลาวมาขางตนเปนเพียงหลักการทั่วไปของการต้ังชื่อโครงการ แตสถานการณจริง บางกรณีการต้ังช่ือโครงการอาจตองนํากลุมเปาหมายเขามาพิจารณาประกอบดวย เชนกลุมเปา หมายทเี่ ปนวัยรุนอาจตองนําคําท่ีดลใจวัยรุน หรือเมื่อวัยรุนเห็นชื่อโครงการแลวเกิดความสนใจตองการเขารวมโครงการ ในบางกรณีอาจตองพิจารณาแหลงทุนประกอบดวย เชน แหลงทุนใหงบประมาณในโครงการที่เก่ียวกับการจัดทําแหลงการเรียนรู ดังน้ันการตั้งชื่อโครงการก็จําเปนตองมีคําสําคัญท่ีเก่ียวของกับการเรียนรูอยูในช่ือโครงการดวยจึงจะไดงบประมาณสนับสนนุ เชน โครงการเรยี นรูรว มกันสรรคส รา งชมุ ชน เปน ตน 2. หนว ยงานท่รี ับผิดชอบโครงการ การเขียนโครงการจะตองระบุหนวยงานท่ีรับผิดชอบในการจัดทําโครงการนั้นๆ โดยจะตองระบหุ นว ยงานตนสังกดั ทีจ่ ดั ทําโครงการ พรอ มทัง้ ระบุถึงหนวยงานท่ีมีอํานาจในการอนุมัติโครงการ เหตุที่ตองมีการระบุหนวยงานท่ีรับผิดชอบโครงการน้ันก็เพ่ือสะดวกตอการติดตามและประเมินผลโครงการ การระบุหนวยงานควรระบุหนวยท่ีเปนผูรับผิดชอบดําเนินโครงการโดยตรง และระบุหนวยงานที่มีอาํ นาจในการอนมุ ัติโครงการ เชน โครงการยุวเกษตรไทยใสใจสิ่งแวดลอม หนวยงานที่รับผิดชอบดําเนินโครงการ คือ ภาควิชาอาชีวศึกษา หนวยงานท่ีมีอํานาจในการอนุมัติโครงการคอื คณะศึกษาศาสตร กาํ แพงแสน ดังนัน้ ในการเขียนหนว ยงานที่รบั ผดิ ชอบจงึ ควรเขียนวาL:\book181441\Book181441-3.doc 53

การเขยี นโครงการ “หนว ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ ภาควิชาอาชวี ศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร กําแพงแสน” ในกรณีที่เปนโครงการความรวมมือระหวางหนวย การเขียนหนวยงานท่ีรับผิดชอบก็ตองระบุหนวยงานท่ีรับผิดชอบทั้งหมด เชน โครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการ ซ่ึงเปนความรวมมือระหวาง ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน รวมกับ กองบริการการศึกษา(กําแพงแสน) สํานักงานวิทยาเขตกําแพงแสน โดยมีภาควิชาอาชีวศึกษาเปนหนวยงานหลักในการดาํ เนนิ โครงการ การเขียนหนว ยงานรับผดิ ชอบกค็ วรเขยี นหนวยงานหลักขนึ้ กอนดังน้ี “หนวยงานรับผิดชอบ ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน รว มกบั กองบรกิ ารการศึกษา (กาํ แพงแสน) สํานกั งานวิทยาเขตกาํ แพงแสน”3. ผูร ับผดิ ชอบโครงการ โครงการทุกโครงการจะตองมีผูทําโครงการรับผิดชอบดําเนินงาน ตามโครงการท่ีเขียนไวไมว า ตนเองจะเปนผูเขียนโครงการน้ัน หรือผูอ่ืนเปนผูเขียนโครงการก็ตาม จะตองระบุผูรับผิดชอบโครงการนั้นๆ ใหชัดเจน วาเปนใคร มีตําแหนงใดในโครงการน้ัน เชน นายประสงค ตันพิชัย มีตาํ แหนง เปน หวั หนาโครงการขยายพันธุพืช ก็ตอ งระบตุ ําแหนงในโครงการน้ันไปดวย สว นตําแหนงอื่นๆ รองลงมาในโครงการอาจจะเขียนรวมๆ วาเปนผูรวมโครงการ หรือจะระบุตําแหนงหนาท่ีที่รับผิดชอบจริงในโครงการดวยก็จะมีความชัดเจนยิ่งข้ึน เชน นายนิรันดร ยิ่งยวด มีตําแหนงเปนเลขานกุ ารของโครงการขยายพันธุพชื เปนตน ลําดับการเรยี งชือ่ ผูรบั ผิดชอบใหเ รยี งลําดับจากหัวหนาโครงการเปนลําดับแรก และลําดับสุดทา ยควรเปน เลขานุการของโครงการตวั อยางเชน“ นายประสงค ตนั พิชัย หัวหนา โครงการ นายสนั ติ ศรสี วนแตง รองหัวหนาโครงการ นายอภิชาต ใจอารีย ผูรว มโครงการ นางสาวปย ะนารถ จันทรเ ล็ก ผรู วมโครงการ เลขานุการโครงการ…” นายนิรนั ดร ยงิ่ ยวดL:\book181441\Book181441-3.doc 54

การเขียนโครงการ 4. หลักการและเหตผุ ล หลักการและเหตุผล เปนสวนสําคัญที่แสดงถึงปญหาความจําเปนหรือความตองการที่ตองมีการจัดทําโครงการขน้ึ เพือ่ แกปญหา หรือสนองความตอ งการขององคการ ชมุ ชน หรอื ทองถ่ินนน้ั ๆ ดังน้นั ในการเขยี นหลักการและเหตผุ ลผูเขียนโครงการจําเปนตองเขียนแสดงใหเห็นถึงปญหาหรือความตองการ พรอมท้ังระบุเหตุผลและขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการเพ่ือสนับสนุนการจัดทําโครงการอยางชัดเจน นอกจากนี้อาจตองเชื่อมโยงใหเห็นวาโครงการที่เสนอนี้สอดคลองกับแผนกลยุทธ แผนยุทธศาสตร หรือนโยบายของชุมชน ทองถิ่น องคการ หรือหนวยงานเจาของโครงการและเปนการวางรากฐานไปสูสภาพที่พึงประสงคในอนาคตขององคการหรือหนวยงานท่ีเก่ียวของกบั โครงการท่ีไดจ ดั ทําขึน้ โดยสรุป ผูเขียนโครงการตองพยายามหาเหตุผล หลักการ และทฤษฎีตางๆ สนับสนุนโครงการที่จัดทําข้ึนอยางสมเหตุสมผล ทั้งน้ีโดยมีจุดมุงหมายเพ่ือใหผูบริหารหรือผูมีอํานาจหนาที่เห็นชอบและอนุมัติโครงการท่ีนําเสนอใหดําเนินการได พรอมท้ังใหการสนับสนุนในดานงบประมาณ บุคลากร และปจจัยสนับสนุนอ่ืนๆ เพ่ือใหเห็นแนวทางการเขียนหลักการและเหตุผลไดชดั เจนยง่ิ ขึน้ จึงขอนาํ เอาตัวอยางโครงการเล้ยี งไกไขม าเปน ตวั อยา งสาํ หรบั ศกึ ษา ดงั นี้ โครงการผลติ ไขไกอ นามัยหลักการและเหตผุ ล ภาควชิ าอาชวี ศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร กําแพงแสน มีหนาท่ใี นการผลติ บณั ฑติ เพ่ือเปนครเู กษตร หรือเปนผูนําในการประกอบอาชีพเกษตรที่มีคุณภาพและคํานึงถึงสิ่งแวดลอม ดังน้ันการเรียนการสอนจึงตองจัดท้ังในดานการถายทอดความรแู ละทักษะทางดานการเกษตรควบคูกันโดยบูรณาการเขากับดานสิ่งแวดลอม สําหรับทางดานการเกษตรนั้น นอกจากหลักสูตรจะกําหนดใหเรียนวิชาการเกษตรจากภาควิชาตางๆ ของคณะเกษตรแลวยังกําหนดใหตองมีการฝกงานทางดานการเกษตรอีกไมนอยกวา 3 หนวยกิตอีกดวย เพื่อเสริมและฝกฝนใหนิสิตมคี วามรู ทักษะ และประสบการณมากยิ่งๆขึน้ เพ่ือใหนิสิตสาขาวิชาเกษตรและส่ิงแวดลอมศึกษา ไดรับประสบการณทางดานการเกษตรในรูปแบบตางๆ ภายในฟารมของภาควิชาอาชีวศึกษาอยางหลากหลาย จึงเห็นสมควรจัดทําโครงการเลี้ยงไกไขเพื่อเปนโครงการทางเลือกหน่ึงของนิสิต ซ่ึงนิสิตท่ีฝกงานในโครงการน้ีจะไดรับความรูและประสบการณตางๆ ทราบปญหาและการแกไข นอกจากน้ันยังไดฝกความรับผิดชอบในการทํางานรวมกันเปนกลุม ซ่ึงจะเปนประโยชนในงานของครเู กษตรหรือผนู ําในการประกอบอาชพี เกษตรท่ีจะทําในโอกาสตอไปกรอบท่ี 3.1 ตัวอยา งการเขยี นหลกั การและเหตุผลของโครงการL:\book181441\Book181441-3.doc 55

การเขียนโครงการ 5. วัตถปุ ระสงคแ ละเปาหมาย โครงการทุกโครงการจําเปนตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายเปนเคร่ืองชี้แนวทางในการดําเนินงานของโครงการ โดยวัตถุประสงคจะเปนขอความที่แสดงถึงความตองการท่ีจะกระทําสิ่งตางๆ ภายในโครงการใหปรากฏผลเปนรูปธรรม ซึ่งขอความที่ใชเขียนวัตถุประสงคจะตองชัดเจนไมคลุมเครือ สามารถวัดและประเมินผลได โครงการแตละโครงการสามารถมีวัตถุประสงคไดมากกวา 1 ขอ ลักษณะของวัตถุประสงคข้ึนอยูกับระดับและขนาดของโครงการ เชน ถาเปนโครงการขนาดใหญ วัตถุประสงคก็จะมีลักษณะท่ีกวางเปนลักษณะวัตถุประสงคท่ัวไป หากเปนโครงการขนาดเลก็ สามารถลงปฏบิ ัตกิ ารในพืน้ ทเี่ ปา หมายหรือปฏบิ ัตงิ านในลักษณะท่ีแคบเฉพาะเร่ืองเฉพาะอยาง วัตถุประสงคก็จะมีลักษณะเฉพาะ หรือโดยทั่วไปจะเรียกวาวัตถุประสงคเฉพาะถึงอยางไรก็ตามการเขียนวัตถุประสงคในโครงการแตละระดับ แตละขนาดจะตองมีความสัมพันธสอดคลองกันวัตถุประสงคของโครงการยอย จะตองสัมพันธและสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการขนาดใหญ ในสวนน้ีหากนิสิตไดเรียนเกี่ยวกับเรื่องการสอนมาแลว คงจะมีความเขาใจมากขึ้นกลาวคือถาจะเปรียบเทียบใหเห็นภาพชัดเจน เม่ือนิสิตไดรับมอบหมายใหสอนวิชาเกษตรในรายวิชาใดวิชาหนึ่งในหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นิสิตก็จะตองมีการเตรียมโครงการสอนระยะยาว ซ่งึ ในโครงการสอนระยะยาว ก็จะมีสวนของวัตถุประสงคอยูดวย วัตถุประสงคตรงสวนนี้ จะมีลักษณะท่ีกวางหรือทั่วไปมากกวาเพ่ือเปนเคร่ืองชี้แนวทางวาในรายวิชาที่นิสิตรับผิดชอบสอนน้ันตองการใหผูเรียนไดรับความรูอะไรบาง จากนั้นในการสอนแตละคร้ังนิสิตก็จะตองเตรียมโครงการสอน ประจําวัน หรือท่ีเรียกกันท่ัวไปวา แผนการสอนประจําวัน (Lesson plan) ซ่ึงในแผนการสอนประจําวันก็จะมีวัตถุประสงคอยูในแผนการสอนประจําวันน้ันดวยแตลักษณะของ วัตถุประสงคจะแตกตางจากวัตถุประสงคของโครงการสอนระยะยาว วัตถุประสงคของแผนการสอน ประจําวันจะมุงเนนถึงการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรม หลังจากท่ีนิสิตไดทําการสอนเรียบรอยแลว วัตถุประสงคชนิดน้ีจึงเรียกวาวัตถุประสงคเฉพาะหรือวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในทํานองเดียวกัน ลักษณะของวตั ถปุ ระสงคใ นการเขียนโครงการกจ็ ะคลายคลึงกัน การเขยี นวตั ถปุ ระสงคค วรจะตอ งคํานงึ ถึงลักษณะท่ดี ี 5 ประการ หรือจะตอ งกาํ หนดข้นึดวยความฉลาด (SMART) ซึ่ง ประชุม (2535) ไดอธิบายความหมายไวดงั น้ี S = Sensible (เปนไปได) หมายถึง วัตถุประสงคจะตองมีความเปนไปได ในการดําเนนิ งานโครงการL:\book181441\Book181441-3.doc 56

การเขียนโครงการ M = Measurable (วัดได) หมายถงึ วัตถุประสงคทดี่ ีจะตอ งสามารถวัดและประเมินผลได A = Attainable (ระบุสิ่งท่ีตองการ) หมายถึง วัตถุประสงคท่ีดีตองระบุสิ่งท่ีตองการดําเนนิ งาน อยางชัดเจนและเฉพาะเจาะจงมากท่ีสุด R = Reasonable (เปนเหตเุ ปน ผล) หมายถึง วัตถุประสงคท ดี่ ตี องมีความเปน เหตุเปน ผลในการปฏิบตั ิ T = Time (เวลา) หมายถึง วัตถปุ ระสงคท ีด่ ีจะตองมขี อบเขตของเวลาทีแ่ นนอนในการปฏิบัตงิ าน การเขียนวัตถุประสงคของโครงการมีลักษณะเปนวัตถุประสงคเชิงปฏิบัติการ ท่ีสามารถแสดงใหเห็นถึงแนวทางในการปฏิบัติงานไดอยางชัดเจนและเขาใจงาย ดังนั้นการเขียนวัตถุประสงคจึงควรใชคํา ท่ีแสดงถึงความต้ังใจและเปนลักษณะเชิงพฤติกรรมเพื่อแสดงใหเห็นถึงการดําเนินงานโครงการ เชนคําวา อธิบาย พรรณนา เลือกสรร ระบุ สรางเสริม ประเมินผล ลําดับแยกแยะ แจกแจง กําหนดรูปแบบ และแกปญหา เปนตน ดังตัวอยางการเขียนวัตถุประสงคโครงการ เชน - เพ่อื ใหสามารถอธบิ ายถึงวธิ กี ารเขยี นโครงการได - เพ่อื ใหส ามารถเลอื กสรรวธิ ีการอนั เหมาะสมในการพฒั นาคณุ ภาพนสิ ิตฝกสอน - เพ่อื ใหส ามารถระบขุ ้นั ตอนในการเตรยี มโครงการสอนเกษตรได - เพ่อื ใหส ามารถจาํ แนกแยกแยะขอ ดแี ละขอเสียของการฝก งานเกษตรภายในฟารม นอกจากนี้ยังมีคําท่ีควรหลีกเล่ียง ในการใชเขียนวัตถุประสงคของโครงการ เพราะเปนคําท่ีมีความหมายกวาง ไมแสดงแนวทางการปฏิบัติใหบรรลุวัตถุประสงค ยากตอการวัดและประเมินผลการดําเนินงานได คําดังกลาวไดแกคําวา เขาใจ ทราบ คุนเคย ซาบซึ้ง รูซ้ึง เชื่อ สนใจเคยชนิ สํานกึ และยอมรับ เปน ตน ดังตวั อยา งประโยค ตอ ไปน้ี - เพือ่ ใหเ ขา ใจถึงการดําเนนิ งานโครงการ - เพ่อื ใหส ามารถทราบถงึ ความเปนมาของปญหาการปฏบิ ัตกิ าร - เพ่อื ใหเ กดิ ความซาบซง้ึ ในพระศาสนา ในการเขียนคําหนาประโยคของวตั ถุประสงคโครงการน้ัน ประชุม (2535) ไดแนะนําคําท่ีควรใชแ ละคําท่คี วรหลกี เลย่ี ง โดยแปลจากคาํ ในภาษาอังกฤษ ดงั นี้L:\book181441\Book181441-3.doc 57

การเขยี นโครงการคําทค่ี วรใช = เพอ่ื กลาวถึง = เพอื่ อธบิ ายถงึTo state = เพือ่ พรรณาถึงTo explain = เพื่อเลือกสรรTo describe = เพือ่ ระบุTo select = เพ่อื จาํ แนกแยกแยะTo identify = เพอ่ื ลําดับ หรือเพือ่ แจกแจงTo distinguish = เพ่ือประเมินTo list = เพื่อสรางเสริมTo evaluate = เพอื่ กําหนดรปู แบบTo construct = เพื่อแกป ญหาTo designTo solveคําท่ีควรหลกี เลย่ี งTo understand = เพอื่ เขา ใจถึงTo know = เพ่อื ทราบถึงTo be familiar with = เพ่อื คนุ เคยกับTo appreciate = เพ่ือซาบซง้ึ ในTo be aware of = เพ่อื รูซึง้ ถึงTo be interested in = เพ่อื สนใจในTo be acquainted with = เพื่อเคยชนิ กับTo be recognize = เพือ่ ยอมรับในTo believe = เพือ่ เชอื่ ถอื ในTo realize = เพอ่ื สํานกึ ใน สําหรับการเขียนเปาหมาย ตองเขียนใหชัดเจนเพื่อแสดงใหเห็นผลงานหรือผลลัพธที่ระบุคุณภาพ หรือปริมาณงานท่ีคาดวาจะทําใหบังเกิดขึ้นในระยะเวลาท่ีกําหนดไว ซ่ึงการกําหนดผลงานอาจกําหนดเปนรอยละ หรือจํานวนหนวยท่ีแสดงปริมาณหรือคุณภาพตางๆ เชน โครงการปลกู ขา วโพดฝก ออ น เปาหมาย คอื ไดผ ลผลติ ขาวโพดฝกออนคุณภาพชั้นที่ 1 จํานวน 10 ตัน หรือL:\book181441\Book181441-3.doc 58

การเขยี นโครงการโครงการอบรมการขยายพันธุพืช เปาหมาย คือ เม่ือส้ินสุดโครงการ ผูที่เขารับการอบรมรอยละ 80สามารถขยายพันธุพ ชื ไดอ ยา งถูกวธิ ี เปนตน 6. ระยะเวลาในการดาํ เนนิ โครงการ ระยะเวลาในการดําเนินงานโครงการ เปนการระบุระยะเวลาต้ังแตเริ่มตนโครงการจนกระทั่งถึงเวลาส้ินสุดโครงการวาใชเวลาท้ังหมดเทาใด โดยแสดงใหเห็นจุดเริ่มตนและส้ินสุดของโครงการโดยระบุ วันเดือน ป ท่ีเร่ิมทําและส้ินสุด ถาหากเปนโครงการระยะยาว และมีหลายระยะก็ตองแสดงชวงเวลาในแตละระยะของโครงการนั้นดวย เพื่อใชเปนรายละเอียดประกอบการพจิ ารณา อนมุ ัตโิ ครงการ 7. วิธีดาํ เนนิ การ วิธีดําเนินการเปนงานหรือกิจกรรมท่ีกําหนดข้ึน เปนขั้นตอนตามลําดับกอนหลังเพ่ือใชปฏิบัติใหบรรลุตามวัตถุประสงคของโครงการ วิธีการดําเนินการจึงนําวัตถุประสงคมาจําแนกแจกแจงเปนกิจกรรมยอยหลายกิจกรรม โดยจะแสดงใหเห็นอยางชัดเจนต้ังแตตนจนจบกระบวนการวามีกิจกรรมใดท่ีจะตองทําเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค ซึ่งกิจกรรมตางๆ เหลานี้จะนําไปอธิบายโดยละเอียดในสวนของแผนการปฏิบัติงานหรือปฏิทินปฏิบัติงานอีกคร้ังหนึ่ง ตัวอยางในการเขียนวิธีดําเนินการ ดังกรอบที่ 3.2 ตัวอยางนี้เปนเพียงตัวอยางหนึ่งในการเขียนวิธีดําเนินการ รายละเอียดในการเขียนแตละโครงการจะแตกตางกันไป แตจะตองยืดหลักวากิจกรรมตางๆ ท่ีกําหนดข้ึนจะตองเปนข้ันตอนเพอื่ ใหบ รรลุวตั ถปุ ระสงคของโครงการL:\book181441\Book181441-3.doc 59

การเขยี นโครงการ โครงการผลติ ไขไกอ นามยั วิธีดาํ เนนิ การ 1. การเตรยี มงาน 1.1 แจง ใหน สิ ติ และผูเกย่ี วของทราบ 1.2 ช้แี จงรายละเอียดตา งๆ และขอ ตกลงรวมกันใหนสิ ิตทราบ 1.3 ศึกษาวิธีการเลี้ยงไกไขจ ากผูร ู หองสมุด ฟารม เอกชนจนเปน ทเ่ี ขา ใจ 2. การเริ่มงาน 2.1 ปรบั ปรุงโรงเรือนท่ีใชเลีย้ งไกไขเ ดิมใหอ ยูในสภาพท่ีใชง านได 2.2 เตรียมกรงตับและอุปกรณตา งๆ สาํ หรับใชเ ล้ยี งไกไ ขใหเรยี บรอ ย 2.3 ทําความสะอาดพรอมฆา เชอ้ื ภายในและบรเิ วณโรงเรอื น 2.4 สง่ั ซอ้ื พนั ธุไกสาว อายุ 20 สปั ดาห จาํ นวน 150 ตัว 2.5 ส่งั ซือ้ อาหารและยาสําหรับไกไ ข 3. ปฏบิ ัติการเลย้ี งไกไ ข 3.1 นาํ พันธุไกสาวเขาเลย้ี งในกรงตับทีเ่ ตรียมไว 3.2 จัดการเลี้ยงไกไข ในเร่อื งการใหอาหาร การเก็บไข การบนั ทึกขอ มูล ฯลฯ 3.3 การจาํ หนา ยผลผลติ (ไขไ ก) 4. ประเมนิ ผลและจดั ทํารายงานกรอบท่ี 3.2 ตัวอยางการเขยี นวธิ กี ารดาํ เนนิ งาน 8. แผนการปฏบิ ัตงิ าน การเขียนแผนปฏิบัติงานเปนการนําเอาขั้นตอนตางๆ ในการดําเนินงานมาแจกแจงรายละเอียดใหผูทําโครงการสามารถลงมือปฏิบัติงานได โดยจะเขียนรายละเอียดแตละงานท่ีตองทํา มีใครเปนผูรับผิดชอบในงานน้ันบาง จะทําเมื่อใด และมีวิธีการในการทําอยางไร ซึ่งในการL:\book181441\Book181441-3.doc 60

การเขยี นโครงการเขียนแผนการปฏิบตั ิงาน เพ่ือใหสะดวกและเขา ใจไดง าย จงึ มีการนํามาทําเปนตารางการปฏิบัติดังตัวอยา งตอ ไปน้ี (ตารางที่ 3.1)ตารางที่ 3.1 ตัวอยา งแผนปฏิบัติงานในโครงการผลติ ไขไกอ นามยั งาน วิธีการและสถานที่ เวลา ผูรบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ1. แจง ใหนสิ ติ และ แจง ใหน ิสติ ทีจ่ ะเขารวมโครงการทราบโดยการ 15 ก.ค. 48 ประสงค ปด ประกาศไวท ่ฟี ารมและคณะศกึ ษาศาสตร สนั ติ ผูเกย่ี วขอ งทราบ พรอมนดั ประชุมในวันที่ 18 กรกฎาคม 2548 18 ก.ค. 48 สนั ติ2. ชีแ้ จงรายละเอียด นัดประชุมนิสติ ทีเ่ ขารว มโครงการท่ีฟารม คณะ ประสงค ศกึ ษาศาสตร เวลา 16:30 น. ตา งๆ ใหนิสิตทราบ สนั ติ3. ศึกษาถึงวิธี ศกึ ษาวธิ กี ารเลี้ยงไกไขจ ากเอกสารตา งๆ และ 18-22 ประสงค บรษิ ทั หรือฟารม ไกไ ขของเอกชนจนเขา ใจถึง ก.ค. 48 ประสงค การเลย้ี งไกไข กระบวนการตางๆ ในการเลยี้ งไกไข 25-27 ประสงค4. ปรับปรุงโรงเรือน ใชโรงเรอื นไกเ น้ือขางบอ ปลา โดย ก.ค. 48 สันติ ปรับปรงุ ซอมแซมสวนทีช่ ํารดุ ใหใ ชการไดดี5. จดั ทํากรงตับและ และสง่ั อุปกรณทีใ่ ชส รา งกรงตับสาํ หรบั 1 ส.ค. 48 สนั ติ อุปกรณต างๆ แมไก จํานวน 150 ตวั 2 ส.ค. 48 ประกอบกรงตับพรอมอปุ กรณต างๆ เชน6. สั่งพันธุไกอ าหาร รางอาหาร รางนาํ้ ใหพ รอมทใ่ี ชงานไดท นั ที 15 ส.ค. 48 และยา ส่ังแมไกท่ีมีอายปุ ระมาณ 4 เดอื นครึ่ง 15 ส.ค. 48 จาํ นวน 150 ตวั จากฟารม ของเอกชน7. นําแมไกไขม าเล้ยี ง และส่งั ซอื้ อาหารและยาสาํ หรับไกไข ถงึ8. ปฏบิ ัติการเล้ียงไก นําแมไ กไ ขล งเลี้ยงในกรงตบั จํานวน 150 ตวั 15 ก.ย. 489. การประเมนิ ผล งานทจ่ี ะตอ งทําในชวงทเี่ ลย้ี งไกไ ข 30 ก.ย. 48 1. ใหอ าหารและน้ํา 2. ใหยารักษาโรค 3. การเกบ็ ไขไ ก 4. จดบนั ทึกขอ มลู ตางๆ เชน จํานวนไข, อาหาร ฯลฯ (ตามแบบฟอรม การบันทกึ ) 5. คดั ขนาด คณุ ภาพ และการจัดจาํ หนา ย 6. คัดไกไขท ่ีไขนอ ยออกจําหนา ย ประเมินผลและจดั ทํารายงานL:\book181441\Book181441-3.doc 61

การเขียนโครงการ เพ่ือใหแผนปฏิบัติงานสามารถดูไดโดยงาย และใชเปนเคร่ืองมือในการควบคุมโครงการมักนิยมเขียนเปนแผนภูมิแทงหรือแผนภูมิของแกนท และเพื่อใหเห็นภาพของแผนภูมิไดชัดเจนย่ิงขน้ึ จึงขอนําเสนอตวั อยางการเขยี นแผนภมู ิ (ตารางที่ 3.2)ตารางที่ 3.2 ตัวอยา งการเขยี นแผนภมู ิแสดงระยะเวลาในการปฏิบตั งิ านในแตล ะกิจกรรมระยะเวลา ปการศึกษา2548 หมายเหตุกจิ กรรม มยิ กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. มค. กพ. มคี . เมย. พค.1. แจง ผเู ก่ยี วขอ งทราบ2. ซอมโรงเรือน3. สั่งซือ้พันธไุ กไข4. สัง่ ซอื้ สัง่ เปนงวดอาหาร ตงั้ แต เดือน ม.ิ ย.5. นาํ ไกไ ขเขามาเลย้ี ง6. ปฏิบัติการเลย้ี งไกไข7. จัดจําหนา ย8. ประเมินผลและจดัทาํ รายงานL:\book181441\Book181441-3.doc 62

การเขียนโครงการ 9. งบประมาณและทรพั ยากรทตี่ องใช งบประมาณและทรพั ยากรทีต่ อ งใชเปน การระบุถึงจํานวนเงนิ จํานวนบคุ คล จํานวนวัสดุครุภัณฑแ ละปจ จัยอื่น ๆ ท่ีจาํ เปน ตอการดําเนนิ โครงการนั้น ๆ หลักในการกําหนดงบประมาณและทรัพยากร ในการเสนองบประมาณเพื่อดําเนินงานโครงการนั้น ผูวางโครงการควรคํานึงถึงหลักสําคัญ 4 ประการในการจัดทําโครงการ โดยจะตองจัดเตรียมไวอยางเพียงพอและจะตองใชอยางประหยัด หลักการในการจัดทําโครงการดังกลาวไดแ ก (ประชมุ , 2535) 1. ความประหยัด (Economy) การเสนองบประมาณโครงการจะตองเปนไปโดยมีความ ประหยัด ใชท รัพยากรทุกอยา งใหค มุ คา ทสี่ ุด และไดคุณภาพของผลงานดีทสี่ ดุ 2. ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) โครงการทุกโครงการจะตองมีคุณคาเปนที่ยอมรับ และทุกคนมีความพึงพอใจในผลงานที่เกิดข้ึน โดยใชทรัพยากรนอยท่ีสุด ประหยัด ทีส่ ดุ และไดรบั ผลตอบแทนคมุ คา 3. ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) โครงการทุกโครงการจะตองดําเนินงานเปนไป ตามวตั ถุประสงคและเปาหมายท่ีกําหนดไว นําผลที่เกิดขึ้นเทียบกับวัตถุประสงคที่ต้ัง ไวหากไดต ามวตั ถุประสงคท ่ตี ัง้ ไวก็ถอื วา มีประสิทธผิ ล 4. ความยุติธรรม (Equity) การจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด หรือการใชจายทรัพยากร จะตองเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว ทั้งนี้เพื่อใหทุกฝายปฏิบัติงานไดอยางตอเน่ือง คลอ งตวั และมปี ระสิทธิภาพสูงสดุ หลักการในการจัดทํางบประมาณโครงการและจัดสรรทรัพยากร โครงการดังกลาวบางครั้ง เรียกวา 4E'S ซง่ึ เปนหลกั สาํ คัญของการบริหารงานโดยทวั่ ไปหลกั การหนึ่ง นอกจากน้ีควรท่ีจะระบุแหลงท่ีมาของงบประมาณและจํานวนทรัพยากรอ่ืนๆ ที่ตองใชควรระบุแหลงที่มาของงบประมาณและทรัพยากรดวย เชน จากงบประมาณแผนดิน งบประมาณเงินรายไดของหนวยงาน งบประมาณจากการชวยเหลือของตางประเทศ งบประมาณจากการบริจาคของหนวยงานหรือองคกรเอกชน นอกจากนี้อาจเปนงบประมาณที่ไดจากการเก็บคาลงทะเบียนของผูเขารวมโครงการ ซึ่งงบประมาณในลักษณะหลังน้ีมักนิยมใชกับโครงการL:\book181441\Book181441-3.doc 63

การเขยี นโครงการฝกอบรมเปนสวนใหญ และเปนโครงการท่ีสามารถดําเนินการไดโดยงาย เนื่องจากไมตองพ่ึงพางบประมาณจากภายนอก การเขียนแสดงรายการงบประมาณและทรัพยากรท่ีตองใชในโครงการควรแจกแจงรายละเอียดใหชัดเจน หากเปนหนวยงานของรัฐบาลท่ีใชงบประมาณแผนดิน ผูเขียนโครงการควรศึกษาระเบียบการเงินและพัสดุของสํานักนายกรัฐมนตรีใหเขาใจ หากเปนงบประมาณเงินรายไดของหนวยงานก็ตองศึกษาระเบียบการ ใชเงินรายไดของหนวยงานใหถองแท หรือหากใชงบประมาณจากแหลงอ่ืนก็ตองศึกษาระเบียบปฏิบัติในการใชงบประมาณ ทั้งน้ีเพ่ือลดปญหาในข้ันตอนของการเบิกจายงบประมาณในระหวางการดําเนินโครงการ นอกจากนี้ยังจะตองแจงออกเปนรายละเอียดในการใชอยางชัดเจนอีกดวย เพื่อท่ีจะชวยใหการพิจารณาสนับสนุน และอนมุ ัติโครงการเปนไปดว ยดี เพ่ือประโยชนของนิสิตในการใชความรูเรื่องการเสนองบประมาณในโครงการ ระหวางที่กําลังศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และเมื่อสําเร็จการศึกษาแลวทํางานในสวนของราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จึงไดสรุปหลักการจําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณที่เกี่ยวของและจาํ เปน ตองใช ซึ่งสํานกั กฎหมายและระเบียบสาํ นักงบประมาณไดจ ัดทาํ ขึ้นดังน้ีรายจายของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมายถึง รายจายซึ่งกําหนดไวสําหรับแตละสวนราชการและรฐั วสิ าหกจิ โดยเฉพาะ จําแนกออกเปน 5 ประเภทงบรายจา ย ไดแก 1.1 งบบคุ ลากร 1.2 งบดําเนนิ งาน 1.3 งบลงทนุ 1.4 งบเงนิ อดุ หนนุ 1.5 งบรายจา ยอืน่ 1.1 งบบุคลากร หมายถึง รายจายที่กําหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐไดแก รายจายท่ีจายในลักษณะเงินเดือน คาจางประจํา คาจางชั่วคราว และคาตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจายท่ีกําหนดใหจายจากงบรายจายอ่ืนใดในลักษณะรายจายดังกลาว 1.2 งบดําเนินงาน หมายถึง รายจายที่กําหนดใหจายเพื่อการบริหารงานประจํา ไดแกรายจายท่ีจายในลักษณะคาตอบแทน คาใชสอย คาวัสดุ และคาสาธารณูปโภค รวมถึงรายจายที่L:\book181441\Book181441-3.doc 64

การเขยี นโครงการกาํ หนดใหจ า ยจากงบรายจายอนื่ ใดในลกั ษณะรายจายดังกลา ว 1.2.1 คาตอบแทน หมายถึง เงินที่จายตอบแทนใหแกผูที่ปฏิบัติงานใหทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกําหนด เชน เงินคาเชาบานขาราชการ เงินตอบแทนตําแหนงเงินประจําตําแหนงผูบริหารในมหาวิทยาลัย เงินสมนาคุณอาจารยสาขาวิชาท่ีขาดแคลนในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ คาจางนอกเวลา คาอาหารทําการนอกเวลา คาพาหนะเหมาจาย และคาเบยี้ ประชมุ กรรมการ เปนตน 1.2.2 คาใชสอย หมายถึง รายจายเพ่ือใหไดมาซึ่งบริการ (ยกเวนบริการสาธารณูปโภค ส่ือสารและโทรคมนาคม) รายจายท่ีเก่ียวกับการรับรองและพิธีการ และรายจายท่ีเก่ียวเนือ่ งกบั การปฏิบตั ริ าชการทไ่ี มเ ขา ลักษณะรายจา ยอืน่ ๆ รายจายเพือ่ ใหไดมาซึง่ บรกิ าร เชน 1) คาปกเสาพาดสายภายนอกสถานท่ีราชการเพ่ือใหราชการไดใชบริการไฟฟา รวมถงึ คาตดิ ตั้งหมอ แปลง เครื่องวัด และอปุ กรณไ ฟฟาซง่ึ เปน กรรมสทิ ธิข์ องการไฟฟา 2) คาจางเหมาเดินสายไฟฟาและติดต้ังอุปกรณไฟฟาเพิ่มเติมรวมถึงการซอ มแซม บาํ รุงรกั ษาหรือปรับปรงุ ระบบไฟฟา การเพ่ิมกาํ ลงั ไฟฟา การขยายเขตไฟฟา 3) คาวางทอประปาภายนอกสถานท่ีราชการ เพื่อใหราชการไดใชบริการนํ้าประปา รวมถึงคา ตดิ ตั้งมาตรวดั น้ําและอปุ กรณป ระปา ซึ่งเปน กรรมสิทธ์ขิ องการประปา 4) คาจางเหมาเดินทอประปาและติดตั้งอุปกรณประปาเพิ่มเติม รวมถึงการซอ มแซม บํารงุ รักษาหรอื ปรับปรุงระบบประปา 5) คา ใชจ ายในการตดิ ตั้งโทรศัพทพ ้ืนฐาน 6) คาเชาทรัพยสิน รวมถึงเงินที่ตองจายพรอมกับการเชาทรัพยสิน เชน คาเชา รถยนต คา เชาอาคารส่ิงปลูกสราง คาเชาท่ีดิน คาเชารับลวงหนา ยกเวนคาเชาบานและคาเชาตไู ปรษณีย 7) คาภาษี เชน คาภาษีโรงเรือน เปนตน 8) คา ธรรมเนียม ยกเวน คาธรรมเนียมการโอนเงนิ ผา นธนาคาร 9) คาเบ้ยี ประกนั 10) คาจางเหมาบรกิ าร เพื่อใหผ รู ับจางทาํ การอยา งหน่งึ อยางใดซึ่งอยใู นความรับผดิ ชอบของผรู ับจา ง แตมใิ ชเปนการประกอบ ดัดแปลง ตอ เตมิ หรือปรบั ปรุงครุภณั ฑท่ดี นิ และส่งิ กอ สราง 11) คาซอ มแซมบํารงุ รกั ษาทรพั ยส นิ เพ่อื ใหส ามารถใชง านไดตามปกติL:\book181441\Book181441-3.doc 65

การเขยี นโครงการ กรณีเปนการจางเหมาท้ังคาส่ิงของและคาแรงงาน ใหจายจากคาใชสอยสว นกรณีที่สว นราชการเปน ผูด าํ เนนิ การซอ มแซมบํารุงรักษาทรพั ยส นิ เองใหป ฏิบัติ ดงั น้ี 1) คาจางเหมาแรงงานของบคุ คลภายนอกใหจ า ยจากคาใชส อย 2) คาส่ิงของท่ีสวนราชการซื้อมาใชในการซอมแซมบํารุงรักษาทรัพยสินใหจายจากคาวสั ดุ รายจายเกยี่ วกบั การรบั รองและพิธีการ เชน 1) คา รบั รอง หมายถงึ รายจายในการเลย้ี งรบั รองของทางราชการ 2) คารับรองประเภทเครอื่ งด่มื 3) คา ใชจ ายในพธิ ที างศาสนา รายจายเกี่ยวเนื่องกับการปฏบิ ตั ิราชการที่ไมเ ขาลักษณะรายจา ย อน่ื ๆ เชน 1) คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ในประเทศ) เชน คาเบ้ียเลี้ยง คาเชาท่ีพกั คา พาหนะ เปนตน 2) คา เบี้ยเล้ยี งทหาร หรือตาํ รวจ 3) คาเบีย้ เลี้ยงพยาน หรอื ผตู องหา 4) คา ของขวญั ของรางวลั หรือเงนิ รางวลั 5) คา พวงมาลัย ชอดอกไม กระเชา ดอกไม หรือพวงมาลา 6) คาชดใชคาเสียหาย คาสินไหมทดแทน กรณีเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากการปฏบิ ตั ิงานราชการ 7) เงนิ รางวลั ตํารวจคมุ กันทรัพยส นิ ของทางราชการ 8) เงินรางวลั เจาหนา ที่ 9) เงินประกันสงั คม (ในฐานะนายจา ง) 10) คา ตอบแทนผูเ สียหายในคดอี าญา 11) คาทดแทนและคา ใชจายแกจ ําเลยในคดีอาญา 12) คา ตอบแทนและคา ใชจ า ยแกพยาน 1.2.3 คา วัสดุ หมายถึง รายจายดังตอไปนี้ 1) รายจา ยเพอื่ จดั หาสิง่ ของซงึ่ โดยสภาพเมอ่ื ใชแลว ยอมส้นิ เปลือง หมดไป แปรสภาพ หรือไมคงสภาพเดิม หรือสิ่งของท่ีมีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาตอหนวยหรือตอชุดไมเกิน 5,000 บาท รวมถึงคาใชจายที่ตองชําระพรอมกัน เชน คาขนสง คาภาษี คาประกันภัยคา ตดิ ต้งั เปนตนL:\book181441\Book181441-3.doc 66

การเขียนโครงการ 2) รายจายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอรที่มีราคาตอหนวยหรือตอชุดไมเกิน 20,000 บาท 3) รายจายเพ่ือประกอบดัดแปลง ตอเติม หรือปรับปรุง ครุภัณฑที่มีวงเงินไมเกิน 5,000 บาท ทีด่ ินและหรือส่ิงกอ สรา ง ท่มี วี งเงนิ ไมเกนิ 50,000 บาท 4) รายจา ยเพ่ือประกอบ ดัดแปลง ตอเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑคอมพิวเตอรท่มี ีวงเงนิ ไมเ กิน 5,000 บาท 5) รายจายเพื่อซอมแซมบํารุงรักษาทรัพยสินเพ่ือใหสามารถใชงานไดตามปกติ 1.2.4 คาสาธารณูปโภค หมายถึง รายจายคาบริการสาธารณูปโภค ส่ือสารและโทรคมนาคม รวมถึงคาใชจายท่ีตองชําระพรอมกัน เชน คาบริการ คาภาษี เปนตนตามรายการ ดงั น้ี 1) คาไฟฟา 2) คา ประปา คา น้ําบาดาล 3) คาโทรศัพท เชน คาโทรศัพทพื้นฐาน คาโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมถึงบัตรโทรศัพท บตั รเติมเงนิ โทรศพั ท 4) คาบรกิ ารไปรษณยี โ ทรเลข เชน คาไปรษณีย คาโทรเลข คาธนาณตั ิคาดวงตราไปรษณยี ากร คา เชาตูไปรษณีย คา ธรรมเนยี มการโอนเงนิ ผา นธนาคาร เปนตน 5) คาบริการสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงคาใชจายเพ่ือใหไดมาซ่ึงบริการส่ือสารและโทรคมนาคม เชน คาโทรภาพ (โทรสาร) คาเทเลกซ คาวิทยุติดตามตัว คาวิทยุสื่อสารคาส่ือสารผานดาวเทียม คาใชจายเก่ียวกับการใชระบบอินเทอรเน็ต รวมถึงอินเทอรเน็ตการด และคา ส่ือสารอ่นื ๆ เชน คา เคเบล้ิ ทีวี คา เชา ชองสัญญาณดาวเทยี ม เปนตน 1.3 งบลงทุน หมายถึง รายจายท่ีกําหนดใหจายเพื่อการลงทุน ไดแก รายจายที่จายในลักษณะคาครุภัณฑ คาท่ีดินและสิ่งกอสราง รวมถึงรายจายท่ีกําหนดใหจายจากงบรายจายอ่ืนใดในลกั ษณะรายจายดังกลาว 1.3.1 คาครุภัณฑ หมายถึง รายจายดังตอ ไปน้ี 1) รายจายเพ่ือจัดหาส่ิงของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาตอหนวยหรือตอชุดเกินกวา 5,000 บาท รวมถึงคาใชจายที่ตองชําระพรอมกัน เชน คาขนสง คาภาษีคาประกนั ภยั คา ติดตง้ั เปนตน 2) รายจายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอรที่มีราคาตอหนวยหรือตอชุดL:\book181441\Book181441-3.doc 67

การเขยี นโครงการเกนิ กวา 20,000 บาท 3) รายจายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ตอเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ รวมทั้งครุภณั ฑค อมพวิ เตอรท ่มี วี งเงนิ เกินกวา 5,000 บาท 4) รายจายเพ่ือซอมแซมบํารุงรักษาโครงสรางของครุภัณฑขนาดใหญ เชนเคร่อื งบิน เคร่ืองจกั รกลยานพาหนะ เปน ตน 5) รายจา ยเพอื่ จา งทป่ี รกึ ษาเพอ่ื การจดั หาหรอื ปรับปรงุ ครภุ ณั ฑ 1.3.2. คาที่ดินและส่ิงกอสราง หมายถึง รายจายเพ่ือใหไดมาซ่ึงที่ดินและหรือส่ิงกอสราง รวมถึงสิ่งตางๆ ซึ่งติดตรึงกับท่ีดินและหรือส่ิงกอสราง เชน อาคาร บานพัก สนามเด็กเลนสนามกฬี า สนามบิน สระวา ยนาํ้ สะพาน ถนน รัว้ บอน้าํ อางเกบ็ น้าํ เขือ่ น เปนตนรวมถงึ รายจา ยดังตอไปน้ี 1) คาติดต้ังระบบไฟฟา หรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณตางๆ ซ่ึงเปนการติดตั้งครั้งแรกในอาคารหรือสถานที่ราชการ ท้ังท่ีเปนการดําเนินการพรอมการกอสรางอาคารหรือภายหลงั การกอสรา งอาคาร 2) รายจายเพ่ือประกอบ ดัดแปลง ตอเติม หรือปรับปรุงที่ดินและ หรือส่ิงกอสรา ง ทีม่ วี งเงินเกินกวา 50,000 บาท เชน คา จัดสวน คาถมดิน เปนตน 3) รายจายเพื่อจางออกแบบ จางควบคุมงานท่ีจายใหแกเอกชน หรือนิติบุคคล 4) รายจายเพ่ือจางที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดินและหรือสิง่ กอ สรา ง 5) รายจายที่เกี่ยวเนื่องกับท่ีดินและหรือสิ่งกอสราง เชน คาเวนคืนท่ีดินคาชดเชยกรรมสิทธิ์ท่ีดนิ เปนตน 1.4 งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจายท่ีกําหนดใหจายเปนคาบํารุงหรือเพื่อชวยเหลือสนับสนุนการดําเนินงานของหนวยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหนวยงานของรัฐ ซ่ึงมิใชราชการสวนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน หนวยงานในกํากับของรัฐ องคการมหาชน รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครองสวนทองถิ่น สภาตําบล องคการระหวางประเทศ นิติบุคคลเอกชนหรือกิจการอันเปนสาธารณประโยชน รวมถึงเงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย เงินอุดหนุนการศาสนา และรายจายทส่ี ํานกั งบประมาณกําหนดใหใ ชจ ายในงบรายจา ยนี้ 1.5 งบรายจายอ่นื หมายถงึ รายจา ยทไ่ี มเ ขาลักษณะประเภทงบรายจายใดงบรายจายหนึง่หรือรายจา ยท่สี ํานกั งบประมาณกําหนดใหใ ชจ า ยในงบรายจายน้ี เชน เงินราชการลบัท่ีมา: สํานกั กฎหมายและระเบียบ สํานกั งบประมาณL:\book181441\Book181441-3.doc 68

การเขยี นโครงการ 10. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ ในสวนน้ีจะแสดงถึงการติดตาม การควบคุม การกํากับ และการประเมินผลโครงการเพื่อใหโครงการบรรลุถึงวัตถุประสงคที่ไดกําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ ผูเสนอโครงการควรระบุวิธีการที่ใชในการควบคุม และประเมินผลโครงการไวใหชัดเจน ทั้งน้ีอาจจะตองระบุบุคคลหรือหนวยงานท่ีรับผิดชอบในการประเมินโครงการ พรอมท้ังบอกรูปแบบการประเมินผลโครงการ เชนประเมนิ กอนดําเนนิ การ ขณะดาํ เนนิ การ หลังการดําเนินการ หรือจะระบุเวลาชัดเจนวาจะประเมินทุกระยะ 3 เดือน เปนตน สําหรับรายละเอียดเก่ียวกับวิธีการประเมินผลวิธีตางๆ จะไดกลาวในบทท่ี 5 ตอ ไป 11. ประโยชนที่คาดวา จะไดร บั สวนน้ีจะเปนการบอกถึงวาเมื่อโครงการท่ีทําส้ินสุดลง จะมีผลกระทบในทางท่ีดีที่คาดวาจะเกิดขึ้นโดยตรงและโดยออม โดยระบุใหชัดเจนวาใครจะไดรับผลประโยชนและผลกระทบน้ันไดรบั ในลกั ษณะอยา งไร ทัง้ ในเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพ นอกจากสว นประกอบท้งั 11 รายการท่ไี ดกลาวแลว การเขยี นโครงการแบบประเพณนี ิยมยังอาจมีสว นประกอบอนื่ ๆ อกี เชน 1. หนวยงานท่ีใหการสนับสนุน หมายถึง หนวยงานท่ีใหความรวมมือ หรือใหงบประมาณสนบั สนนุ ในการดาํ เนินงานเพื่อใหโ ครงการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท่กี าํ หนดไว 2. ผูเสนอรางโครงการ หมายถึงผูเขียนและทําโครงการข้ึนเสนอใหผูมีอํานาจในการพิจารณาอนมุ ตั ิโครงการ ใชในกรณที ี่ผูท ําโครงการไมไ ดเปนผเู ขียนโครงการเอง 3. เอกสารอางอิง หมายถึง เอกสารที่เปนแหลงคนควาอางอิงในการทําโครงการในเรื่องนั้น และใชสาํ หรบั ศึกษาคนควา เพม่ิ เติมเมือ่ ผูปฏบิ ตั ิโครงการเกิดขอ สงสยั จากรูปแบบการเขียนโครงการท่ีกลาวมาทั้งหมด เปนเพียงรูปแบบท่ีใชกันโดยท่ัวไป จึงอาจจะมีลักษณะอยางอื่นท่ีแตกตางกันออกไปในสวนของรายละเอียด ขึ้นอยูกับแตละหนวยงานจะเปนผูกาํ หนดไวเ พอ่ื เปนแนวทางสําหรับผูเขียนโครงการL:\book181441\Book181441-3.doc 69

การเขียนโครงการ สรุปแลวการเขียนโครงการแบบประเพณีนิยมจะตองมีเนื้อหาสาระท่ีละเอียดชัดเจนเฉพาะเจาะจง โดยรูปแบบของโครงการจะสามารถตอบคาํ ถามดังตอไปน้ีได คือ (ประชุม, 2535) 1. โครงการอะไร หมายถึง ช่ือโครงการ 2. ทําไมตอ งทําโครงการนัน้ หมายถงึ หลักการและเหตผุ ล 3. ทาํ เพื่ออะไร หมายถงึ วตั ถปุ ระสงค 4. ทาํ ในปริมาณเทาใด หมายถึง เปาหมาย 5. ทาํ อยางไร หมายถงึ วธิ ีดาํ เนินการ 6. ทําเมือ่ ใดและนานแคไหน หมายถึง ระยะเวลาดําเนนิ การ 7. ใชทรัพยากรอะไร เทา ใด และไดจากไหน หมายถงึ งบประมาณและทรพั ยากรอ่ืนๆ 8. ใครทํา หมายถงึ ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ 9. ตองทํากับใคร หมายถึง หนวยงานหรอื บคุ คลทใ่ี หการสนับสนนุ 10. ทําไดบรรลุวัตถปุ ระสงคแ ละเปาหมายหรือไม หมายถึง การประเมินผล 11. เกิดอะไรขน้ึ เมื่อสิ้นสุดโครงการ หมายถงึ ผลทค่ี าดวาจะไดร บั 12. มปี ญหาอุปสรรคหรือไม หมายถึง ขอเสนอแนะ โครงการทุกโครงการ หากผูเขียนโครงการสามารถตอบคําถามทุกคําถามดังกลาวไดท้ังหมด อาจถือไดวาเปนการเขียนโครงการท่ีมีความสมบูรณในรูปแบบ และหากการตอบคําถามไดอยางมีเหตุผลและมีหลักการ ยอมถือไดวาโครงการที่เขียนข้ึนน้ันเปนโครงการที่ดี นอกจากจะไดรบั การพจิ ารณาอนมุ ตั ิโดยงา ยแลว ผลของการดําเนินงานมกั จะมีประสทิ ธิภาพดวยL:\book181441\Book181441-3.doc 70

การเขยี นโครงการ 2. การเขียนโครงการแบบตารางเหตุผลตอเน่ือง (Logical Framework Method) การเขียนโครงการแบบด้ังเดิมหรือแบบประเพณีนิยมน้ัน มีความบกพรองหลายประการเชน โครงการมีการเขียนหลักการและเหตุผลท่ีมีความยาวเกินไป โดยหวังเพื่อยกแมน้ําทั้งหา หรือเหตุผลนานาประการมาแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของโครงการท่ีนําเสนอ วัตถุประสงคของโครงการมีหลายขอและเปนวัตถุประสงคที่ขาดความแนนอนชัดเจน คาใชจายหรืองบประมาณของโครงการไดแยกออกเปนสวนๆ แบบเบ้ียหัวแตก เน่ืองจากมุงสนับสนุนวัตถุประสงคแตละขอเปน สําคญั จงึ ทําใหก ารใชง บประมาณและทรัพยากรในภาพรวมของโครงการไมประหยัดและขาดประสิทธิภาพ การเขียนโครงการไมพิจารณาเหตุผลเชิงตรรก เนื่องจากเปนการเขียนโดยพิจารณาจากงานทต่ี องการจะทาํ กอน แลว จึงกําหนดวัตถุประสงคข้ึนภายหลังใหสอดคลองกับงานท่ีจะตองทํา ซึ่งสรางปญหายุงยากแกการตัดสินใจของผูพิจารณาอนุมัติโครงการ และผูปฏิบัติโครงการไมอาจเขาใจไดอยางชัดเจน เมื่อเปนเชนนี้ การเขียนโครงการในลักษณะท่ีพิจารณาเหตุผลเชิงตรรกมีเหตุผลตอเนื่องกันตลอดไดรับพิจารณาใหนํามาใชเปนทางเลือกในการเขียนโครงการ ที่เรียกวาการเขยี นโครงการแบบตารางเหตผุ ลตอเนื่อง ขอดีของการเขียนโครงการแบบตารางเหตุผลตอเนื่อง 1. รวบรวมองคประกอบท่ีสําคัญของโครงการมาไวในแหลงเดียวกัน ซึ่งจะมีประโยชน มากหากตองมีการเปล่ียนแปลงผูรวมโครงการ จะไดเขาใจภาพรวมของโครงการได อยา งชัดเจน 2. มีการนําเสนออยางเปนระบบ รวบรัด และสอดคลองกัน ในการกําหนดกิจกรรมตางๆ ในโครงการ 3. แยกลําดับชั้นของวัตถุประสงค ชวยใหแนใจวาปจจัยนําเขาและผลผลิตไมขัดแยงกับ วตั ถปุ ระสงคในแตละระดับ 4. แสดงความชัดเจนของความสัมพันธของกิจกรรมในโครงการ เพื่อใชในการตัดสินใจ ทําโครงการทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล 5. กําหนดปจจยั หลกั ทส่ี งผลตอความสําเรจ็ ของโครงการ 6. กําหนดตัวชวี้ ัดพืน้ ฐานเพือ่ การติดตามและประเมินโครงการ 7. สนบั สนุนการใชสหวิทยาการในการเตรียมโครงการและนเิ ทศโครงการL:\book181441\Book181441-3.doc 71

การเขยี นโครงการ การจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลตอเน่ือง เปนการแสดงข้ันตอนการทํางานท่ีเปนเหตุเปนผลซ่ึงกันและกัน และสามารถตรวจสอบความสอดคลองภายในตัวเองได รายละเอียดของโครงการมีความกระชับชัดเจนงายตอความเขาใจ งายตอการวิเคราะหและงายตอการประเมินโดยจะสรุปรายละเอียดของโครงการลงในตาราง 16 ชอง (ตาราง 4x4) ในแตละชองจะแสดงใหเหน็ ถงึ ความสอดคลองกันทั้งในแนวตั้งและแนวนอน เพ่ือความเขาใจไดโดยงายจะไดแสดงสาระที่กําหนดไวใ นแตล ะชอ งดังน้ี สาระสาํ คญั การ ตวั บงชคี้ วามสําเร็จ แหลงตรวจสอบและ ขอ สมมติฐานท่ีดาํ เนนิ งานโดยสรปุ ของโครงการ วดั ความสําเรจ็ สําคญั (Important (Objectively (Means of Assumptions: IA.) (Narrative Verifiable Summary: NS.) Indication: OVI.) Verification: MOV.) 1-4 ปจ จัยภายนอกท่ี1-1 1-2 1-3 สําคญั สําหรับวัตถปุ ระสงคของ ส่ิงทแ่ี สดงถึง แหลงขอมลู อา งอิง วัตถปุ ระสงคใ นการแผนงาน ความสําเรจ็ ตาม ความสาํ เรจ็ ของ ดาํ เนนิ การระยะยาว วตั ถปุ ระสงคของแผน วตั ถุประสงคข องแผน อยางยั่งยนื2-1 ท้งั ในเชิงปริมาณและวตั ถุประสงคของ คุณภาพ 2-3 2-4โครงการ แหลงขอ มูลอา งอิง เงื่อนไขภายนอก 2-2 ความสาํ เรจ็ ตาม โครงการทสี่ ําคญั สิง่ ท่ีแสดงถึง วัตถปุ ระสงคของ เพอ่ื ใหบรรลุ ความสาํ เรจ็ ตาม โครงการ วัตถุประสงคข อง วัตถปุ ระสงคโครงการ โครงการและสนบั สนนุ ท่ีสามารถวัดในเชิง วตั ถปุ ระสงคข อง ปรมิ าณและหลกั ฐาน แผนงาน ในเชิงคุณภาพL:\book181441\Book181441-3.doc 72

การเขยี นโครงการ สาระสําคัญการ ตวั บงชค้ี วามสําเรจ็ แหลงตรวจสอบและ ขอสมมตฐิ านที่ดําเนนิ งานโดยสรปุ ของโครงการ วัดความสาํ เร็จ สําคญั (Important (Objectively (Means of Assumptions: IA.) (Narrative Verifiable Summary: NS.) Indication: OVI.) Verification: MOV.) 3-4 3-2 สมมตฐิ านที่กอใหเกดิ 3-1 3-3 ความสําเร็จของผลงาน ความสําเรจ็ จากการ แหลงขอ มูลอา งอิง วตั ถปุ ระสงคโครงการ ดาํ เนินการทแ่ี สดงใน ความสําเรจ็ ของงาน 4-1 รูปของประเภทเชิง 4-4กจิ กรรมหรอื ปจ จัย ปริมาณและคุณภาพ 4-3 สมมตฐิ านซงึ่ เปนนาํ เขา แหลงทีม่ าของ แหลง ท่ีมาของ 4-2 งบประมาณและ งบประมาณและ คา ใชจ า ยและ ทรัพยากรในแตล ะ ทรัพยากร ทรพั ยากรทจี่ ะตอ งใช กิจกรรม ในแตละ กิจกรรม จากตารางดังกลาวขางตนจะเห็นวามีสวนประกอบท่ีสําคัญตามแนวนอนในการเขียนโครงการอยู 4 สวน ซ่ึงในแตละสวนจะประกอบไปดวยตารางตามแนวตั้ง สวนละ 4 ตาราง รวมทั้งส้ิน 16 ตาราง มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. สาระสําคัญการดําเนินงานโดยสรุป (Narrative Summary: N.S.) เปนการแสดงลําดับองคประกอบท่ีสําคัญเพื่อใหโครงการสามารถดําเนินการไปไดตองมีรายละเอียดที่จะตองกระทาํ 4 ประการ คือ 1.1 วัตถุประสงคของแผนงาน หมายถึง วัตถุประสงคที่ระบุเปนขอความกวางๆ ซ่ึงหากไดดําเนินโครงการตางๆ ในแผนงานที่กําหนดไวท้ังหมดก็จะบรรลุ วตั ถปุ ระสงคข องแผนงานทต่ี ้งั ไว 1.2 วัตถุประสงคของโครงการ หมายถึง วัตถุประสงคเฉพาะของโครงการท่ี ตองการใหเกิดข้ึนจากการดําเนินงานตามโครงการท่ีไดกําหนดข้ึน และL:\book181441\Book181441-3.doc 73

การเขยี นโครงการ จะตองสอดคลองในเชิงเปนเหตุเปนผลซ่ึงกันและกันกับวัตถุประสงคของ แผนงานในขอ 1.1 1.3 ผลผลิตหรือผลงาน หมายถึง ผลงานท่ีเกิดจากการดําเนินงานตาม วัตถุประสงคของโครงการ ผลผลิตหรือผลงานอาจเปนรูปธรรม เชน ส่ิงกอสรางตางๆ หรือเปนนามธรรม เชน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เจตคติ คานยิ ม ก็ได 1.4 กจิ กรรมและปจ จัยนําเขา หมายถงึ กิจกรรมตา งๆ และประเภทของทรัพยากร ท่ีจะตองนํามาใชเพ่ือใหเกิดผลผลิตหรือผลงานของโครงการ โดยจะตองจัด ใหเอ้ือตอ การไดม าซึง่ ผลผลิตหรอื ผลงาน 2. ตัวบงชี้ความสําเร็จของโครงการ (Objective Verifiable Indicators: O.V.I) เปนขอความทแ่ี สดงใหเ หน็ ความสาํ เร็จของโครงการ โดยสามารถช้ีวัดความสําเร็จนั้นไดท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ 3. แหลงตรวจสอบและวัดความสําเร็จ (Means of Verification: M.O.V.) เปนขอความท่ีแสดงใหเห็นวาตัวบงช้ีความสําเร็จ ในการทําโครงการในแตละชองของตาราง สามารถตรวจสอบหรืออางอิงไดจากอะไร จะใชขอมูลใดในการอางอิง และสอดคลองกันกับขั้นตอนตางๆในการดาํ เนินงานของโครงการหรอื ไม 4. ขอสมมติฐานที่สําคัญ (Important Assumptions: I.A.) เปนปจจัยภายนอกหรือเงื่อนไขท่ีสําคัญตอการที่ดําเนินโครงการใหสําเร็จ กลาวโดยงายคือการที่จะดําเนินโครงการใหประสบความสําเร็จขึ้นอยูกับปจจัยหรือเงื่อนไขที่สําคัญอะไรบาง ถาไมมีปจจัยดังกลาวการดําเนินโครงการก็จะไมป ระสบความสําเรจ็ ความเปนเหตเุ ปนผลของตารางโครงการ 1. ความเปนเหตุเปนผลในแนวต้ัง สามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือความเปนเหตเุ ปน ผลจาก \"บน\" ลง \"ลาง\" และความเปนเหตเุ ปน ผลจาก \"ลาง\" ขึ้น \"บน\" 1.1 ความเปนเหตุเปนผลในลักษณะจาก \"บน\" ลง \"ลาง\" จะเปนความสัมพันธ ระหวาง วัตถุประสงคของแผนงานกับวัตถุประสงคของโครงการL:\book181441\Book181441-3.doc 74

การเขยี นโครงการความสมั พันธร ะหวา งวตั ถุประสงคของโครงการกบั ผลงาน และความสัมพันธระหวางผลงานกับทรัพยากรท่ีตองใช ลักษณะของความสัมพันธทั้ง 3 ระดับจะเปนในลกั ษณะวาถาตองการใหส ่ิงหนึง่ สิง่ ใดเกิดขึ้นแลว จะตองทําอยางไรบาง ตัวอยางเชน ตองการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ทําไดโดยพัฒนาการเรียนการสอนภายในคณะศึกษาศาสตร ซ่ึงการพัฒนาการเรียนการสอนภายในคณะศึกษาศาสตรสามารถทําไดโดยอาจารยตองมีความสามารถในการจัดการเรียนรู มีเคร่ืองมือทางการศึกษาท่ีเอ้ือตอการเรียนรู มีอาคารสถานท่ีพรอมสมบูรณเปนตน ซึ่งในการที่ไดอาจารยท่ีมีความรูในการจัดการเรียนรูไดดีน้ันมีแนวทางในการจัดการคือการจัดการฝกอบรม ศึกษาดูงาน หรือสนับสนุนใหศกึ ษาตอในระดับท่สี งู ข้นึ ตวั อยางความเปนเหตเุ ปนผลในลกั ษณะจาก \"บน\" ลง \"ลาง\"วัตถปุ ระสงคแ ผนงาน พัฒนาคณุ ภาพบณั ฑิตสาขาเกษตรและสิง่ แวดลอมศึกษา ทําอยา งไร?วัตถปุ ระสงคข องโครงการ ⇓ พฒั นาการเรียนการสอน ทาํ อยา งไร? ⇓ผลงาน อาจารยมคี ุณภาพในการจดั การเรยี นรู ทําอยา งไร?ทรัพยากรท่ตี องใช ⇓ ฝกอบรม ศึกษาดูงาน ศกึ ษาตอ1.2 ความเปนเหตุเปนผลจาก \"ลาง\"ข้ึน\"บน\" จะเปนความสัมพันธของความเปน เหตุเปนผลของขอความในแตละชองของตาราง ในทิศทางที่ตรงกันขามกับ ความเปนเหตุเปนผลจากบนลงลาง โดยจะเปนการตอบคําถามวา \"ทําไม (why) จึงตองทําในส่ิงนั้น\" ตัวอยางเชน ทําไมถึงตองใหบุคลากร ไปฝกอบรม ศึกษาดูงาน หรือศึกษาตอ ที่ตองทําเชนน้ีเพ่ือเปนการพัฒนาคุณภาพL:\book181441\Book181441-3.doc 75

การเขียนโครงการอาจารย ทําไมถึงตองพัฒนาคุณภาพบุคลากร ท่ีตองทําเชนนี้เพ่ือเปนการพัฒนาคุณภาพการเรียน ทําไมถึงตองพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ที่ตองทําเชนน้ีเพ่ือพัฒนาคุณภาพของบัณฑิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศกึ ษา เปนตน ตวั อยา งความเปนเหตุเปนผลในลักษณะจาก \"ลาง\" ขึ้น \"บน\"วตั ถุประสงคแ ผนงานพฒั นาคุณภาพบัณฑติ สาขาวิชาเกษตรและสงิ่ แวดลอมศกึ ษาวัตถปุ ระสงคของโครงการ ⇑ผลงาน ก็เพราะตองการ พฒั นาการเรียนการสอน ทําไมตอ งมกี าร ⇑ กเ็ พราะตองการ พฒั นาคณุ ภาพอาจารย ทําไมตองมกี าร ⇑ กเ็ พราะตอ งการทรพั ยากรที่ตอ งใช ฝก อบรม ศกึ ษาดงู าน ศกึ ษาตอ ทาํ ไมตองมีการ 2. ความเปนเหตุเปนผลในแนวนอน หมายถึง ความสัมพันธของขอความในแตละชองของตารางจาก \"ซาย\" ไป \"ขวา\" จะตองเปนเหตุเปนผลกันในลักษณะที่ “จะตองทําอยางไร” และในทํานองเดียวกันขอความในแตละชองของตารางจาก \"ขวา\" ไป \"ซาย\" ตองเปนเหตุเปนผลในลกั ษณะวา “ทําไมตอ งทาํ ส่งิ น้สี ิง่ นัน้ ”L:\book181441\Book181441-3.doc 76

การเขียนโครงการตัวอยา งการเขยี นโครงการแบบตารางเหตผุ ลตอเน่ือง(Logical Framework Matrix)ชอื่ โครงการ: โครงการฝก ประสบการณทางดา นพชื ใหก ับนิสิตสาขาวิชาเกษตรและ สิ่งแวดลอมศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสนโครงการลําดับที่1:ระยะเวลาดําเนนิ การ: โครงการ 1 ป (มถิ นุ ายน 2546-พฤษภาคม 2547) สาระสําคัญการ ตัวบง ช้ีงานสาํ เร็จของ แหลง ตรวจสอบและวดั ขอสมมุตฐิ านที่ดาํ เนินงานโดยสรุป โครงการ (O.V.I.) ความสาํ เรจ็ (M.O.V.) สําคัญ (I.A. ) (N.S.) ความสามารถในทกั ษะ จากผลการเรียนใน นสิ ิตจะมี เกษตรดา นพชื และดาน รายวิชา 181261 และ ความสามารถวัตถปุ ระสงคข อง สัตวเพ่ิมข้ึนจากเดิม 181361 ทางดา น การเกษตรแผนงาน (Program ดานสตั วเพมิ่ ขน้ึ จาก เพิม่ ขนึ้goal) เดิม ในระดบั มากเพอื่ ฝก ประสบการณทางดา นการเกษตรใหกับนิสติวัตถปุ ระสงคของโครงการ (Projcet goal)เพื่อฝก ทักษะทาง ดา น ความสามารถในการ ผลจากการวัดและ นสิ ติ มคี วามสามารถ ประเมินผลในวชิ า ในทกั ษะการการขยายพันธพุ ชื ขยายพนั ธพุ ืชโดยวิธี 181261 ขยายพันธพุ ชืใหแ กนสิ ติ 1.การตอน 2.การทาบกง่ิ 3.การตดิ ตา 4.การเสยี บยอด 5.การปกชํา 6.การเพาะเมล็ดL:\book181441\Book181441-3.doc 77

การเขียนโครงการสาระสาํ คญั การ ตวั บง ช้ีงานสาํ เร็จของ แหลง ตรวจสอบและวดั ขอสมมตุ ฐิ านที่ดําเนนิ งานโดยสรุป โครงการ (O.V.I.) ความสําเรจ็ (M.O.V.) สําคัญ (I.A. )(N.S.)ผลงาน (Outputs)1. การตอน 1. นิสติ สามารถตอนกิ่ง 1. ใหนสิ ติ นาํ กงิ่ ตอนท่ี 1. นิสติ ใหค วามรว มมอื พชื ไดถ กู ตอ งตาม ออกรากแขง็ แรงมาสง ในการปฏบิ ัติงาน ขนั้ ตอนจาํ นวน 10 กงิ่ 2. งบประมาณ2. การทาบก่ิง 2. นิสิตสามารถทาบกิง่ 2. ใหนิสติ นํากิง่ มะมวงท่ี สนบั สนนุ จาก มะมว งไดถ กู ตอ ง ทาบติดแลวมาสง ภาควชิ าอาชีวศึกษา3. การตดิ ตา 3. นสิ ติ สามารถตดิ ตา 3. ใหนสิ ิตนาํ ตนกหุ ลาบที่ 3. สภาพดินฟา อากาศ กหุ ลาบไดถ กู ตอง ตดิ ตาติดแลว มาสง เปน ไปตามปกติ จาํ นวน 10 กิ่ง 4. ไมม ีโรคและแมลง4. การเสยี บยอด 4. นสิ ติ สามารถเปลย่ี น 4. ใหน สิ ิตนาํ ตน เฟอ งฟา ที่ ระบาดอยา งรุนแรง ยอดเฟอ งฟาได เสียบยอดตดิ แลว มาสง ถกู ตอ งจํานวน 10 ตน5. การปกชํา 5. นสิ ติ สามารถปก ชํา 5. ใหนิสิตนําตน เทียนทอง เทยี นทองไดถ ูกตอ ง ทป่ี กชําตดิ แลว มาสง จาํ นวน 100 ก่ิง6. การเพาะเมล็ด 6. นสิ ติ สามารถเพาะ 6. ใหนสิ ติ นําตน ปาลม ท่ี เมลด็ ปาลม ไดถกู ตอ ง งอกแลวมาสง จํานวน ปาลม 50 ตนL:\book181441\Book181441-3.doc 78

การเขียนโครงการ สาระสําคญั การ ตวั บง ชง้ี านสาํ เรจ็ ของ แหลง ตรวจสอบและ ขอสมมุติฐานที่ ดาํ เนินงานโดยสรุป โครงการ (O.V.I.) วดั ความสําเร็จ สาํ คญั (I.A. ) (M.O.V.) (N.S.) 1. คา ปรับพ้นื ท่ี ไดรับการอนมุ ัติขอมลู นําเขา หรอื 10,000 บาท 1. จากงบประมาณ โครงการจากทรัพยากร (Inputs) ของ ภาควชิ า คณะศึกษาศาสตร1. ปรบั พื้นท่ี 2. คากอ สรา ง อาชีวศึกษา 20,000 บาท2. สรางเรอื นเพาะชาํ 2. จากชุมนมุ โครงการ 3. คา วัสดุ ทดลองฟารม แบบ3. จัดซือ้ วัสดุสําหรับใช 30,000 บาท ผสมผสาน ในการขยายพันธุพ ชื 4. คาสรางแปลงพืช4. สรา งแปลงพืชพนั ธดุ ี พันธุดี 20,000 บาท สําหรบั ขยายพนั ธุ 5. คา ใชจ า ยในการ5. ฝกอบรมทักษะการ อบรม 15,000 บาท ขยายพันธุพืชแกนสิ ติปญหาในการเขยี นโครงการ ในการเขียนโครงการนั้นเปนการกําหนดกิจกรรมตางๆ หรือกิจกรรมท่ีจะทําในอนาคตโดยอาศัยขอมูลตางๆ ท่ีมีอยูในปจจุบันเปนตัวกําหนดกิจกรรมในโครงการ เมื่อเปนเชนนี้หากเปนโครงการท่ดี ยี อ มนํามาซ่ึงคณุ ภาพและประสิทธภิ าพของหนวยงาน โครงการบางโครงการเม่ือเขียนข้ึนมาแลวไมสามารถนําไปใชปฏิบัติได เนื่องจากปญหาตางๆ ซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี้ (ประชุม,2535) 1. ขาดบุคลากรที่มคี วามรูความสามารถท่ีแทจริงในการเขียนโครงการ โครงการจํานวนไมนอยทเี่ ขยี นขนึ้ โดยบุคคลที่ไมม คี วามรูความสามารถในเรอ่ื งนัน้ ขาดขอมลู ที่มีความเปน จรงิ หรือขาดขอ มลู ที่จะตองใชจ รงิ ผเู ขยี นโครงการเขยี นโครงการโดยไดรับการมอบหมายจากผูบังคับบัญชาผลจากการเขียนโครงการในลักษณะนี้จะทําใหเกิดปญหาแกผูปฏิบัติโครงการในการจะนําเอาโครงการไปปฏบิ ัตใิ หเกดิ เปนผลไดอยา งมีคุณภาพและประสิทธภิ าพL:\book181441\Book181441-3.doc 79

การเขยี นโครงการ 2. ระยะเวลาที่ใชในการเขียนโครงการ หลายโครงการประสบปญหาเก่ียวกับการจัดทําโครงการในระยะอันสั้น ทําใหไมสามารถที่จะศึกษาขอมูลพ้ืนฐานตางๆ ท่ีเกี่ยวของไดอยางละเอียด ขอมูลบางชนิดขาดการวิเคราะหท่ีดีพอ เม่ือเขียนโครงการขึ้นมาแลวจึงขาดความชัดเจนของขอมลู จึงเปนปญ หายุง ยากในการนาํ เอาโครงการไปปฏิบตั ิ 3. ขาดวัตถุประสงคท่ีชัดเจน ในการเขียนโครงการบางโครงการขาดวัตถุประสงคที่ชัดเจนในการเขียนโครงการ เปนผลใหเกิดความยุงยากตอการตรวจสอบ ควบคุมและติดตามการดาํ เนินงาน และมผี ลสบื เน่อื งถงึ การประเมินผลโครงการดวย 4. การเขียนโครงการเปนเรื่องของอนาคต ที่อาจมีความไมแนนอนเกิดขึ้น อันเปนผลมาจากตัวแปรตางๆ ที่ผูเขียนโครงการไมสามารถควบคุมได เชน ภัยธรรมชาติตางๆ หรือเหตุการณที่ไมคาดคิด ไดแก การเมือง เศรษฐกิจ ส่ิงตางๆ เหลานี้ลวนมีผลกระทบตอการดําเนินงานทั้งสิ้นและเปนส่ิงทีไ่ มสามารถควบคมุ ได จึงเปน ปญหาอยา งสําคญั ของการเขียนโครงการ 5. ขาดการสนับสนุนจากผูบริหารองคการ ในบางครั้งการเขียนโครงการ แมจะเขียนดีเพียงใด หากผูบริหารไมใหความสนใจขาดการสนับสนุนในเร่ืองงบประมาณ และทรัพยากรตางๆที่จําเปนตอการทําโครงการอยางเพียงพอ ยอมจะสรางปญหาใหแกการดําเนินโครงการไดเชนเดยี วกนั 6. ขาดการประสานงานและรวมมือจากผูมีสวนเกี่ยวของ โครงการบางโครงการจําเปนที่จะตองมีการประสานงานกับองคกรหรือหนวยงานอื่นๆ เพื่อใหโครงการที่ทําอยูบรรลุวัตถุประสงคทีต่ ง้ั ไว โครงการท่จี ะสําเร็จไดจ ะตอ งไดรบั ความรวมมือจากองคกรหรือหนวยงานท่ีมีสวนเก่ียวของในการปฏิบัติตามโครงการดวย หากขาดการประสานงานและรวมมือจากผูมีสวนเกี่ยวของแลวก็จะทําใหเกิดปญหาในการทําโครงการ โครงการดังกลาวก็บรรลุวัตถุประสงคไดยากหรืออาจจะไมบรรลุวัตถุประสงคก ็ไดL:\book181441\Book181441-3.doc 80


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook