Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาความรู้ สู่สัมมาชีพชุมชน

พัฒนาความรู้ สู่สัมมาชีพชุมชน

Published by utaiphun, 2017-05-19 00:03:57

Description: พัฒนาความรู้ สู่สัมมาชีพชุมชน

Search

Read the Text Version

พสูส่ ัฒัมนมาาคชีพวาชมุมรช.ู้ น..แนวคิดสำคัญ “โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ชุมชนเพ่ือสัมมาชีพ” เป็นโครงการท่ีมุ่งเน้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือเสริมศักยภาพการประกอบอาชีพของชุมชน บนฐานข้อมูลและความรู้ให้ชุมชนสามารถวิเคราะห์ข้อมูล ให้เห็นศักยภาพและโอกาสของชุมชน บนเส้นทางของสายโซ่เศรษฐกิจ แล้วพัฒนาเป็นข้อเสนอโครงการขึ้นมา เพื่อนำไปปฏิบัติการสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเป้าหมายบนฐานกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชน โดยเลือกปฏิบัติการในข้อต่อใดข้อต่อหนึ่งในสายโซ่เศรษฐกิจของอาชีพน้ัน พร้อมๆ กับส่งเสริมให้ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายจัดทำบัญชีครัวเรือน เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ระดับครัวเรือนและนำข้อมูลจากบัญชีครัวเรือนไปประมวลผล ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาครอบครัว แผนพัฒนาชุมชน ภายใต้ความร่วมมือระหว่างองค์กรชุมชนกับองค์กรป กครองปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (อปท.) ผูเ้ ชีย่ วชาญ และทกุ ภาคีการพฒั นา นับจากจุดเร่ิมต้นในการพัฒนาโครงการในเดือนมิถุนายน ๒๕๕๔ น้ัน สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้สนับสนุนโครงการไปยังพ้ืนท่ีเป้าหมาย ท้ังสิ้นจำนวน ๙๒ แห่ง ใน ๒๗ จงั หวดั ขณะน้ีพน้ื ทด่ี งั กล่าวไดด้ ำเนินงานมาแล้วกว่ารอ้ ยละ ๗๐ โดยเฉล่ียของแผนกิจกรรม เกิดผลิตภัณฑ์ชุมชนทั้งท่ีได้จากการต่อยอดทุนเดิมและพัฒนาขึ้นใหม่เป็นจำนวน๗๕ รายการ ทั้งน้ีผลงานและสรุปบทเรียนจากการดำเนินงานท้ัง ๙๒ พื้นที่น้ัน สสค.จึงได้จัดให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และขยายผล และการรับฟังข้อเสนอแนะจากนักวิชาการและผู้เช่ียวชาญภาคธรุ กจิ ผา่ น เวทสี มั มนาวชิ าการ “พฒั นาความร.ู้ ..สสู่ มั มาชพี ชมุ ชน” ทง้ั นเี้ พอื่ ใหช้ ดุ องคค์ วามรู้และการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ เกิดเป็นความยั่งยืนตอ่ ไป

ก“ระพหำวฒั ห่างวนนนั าทด่ีค๑กว๔าา-มร๑ร๗สู้..มมั.สีนามู่สคัมมนม๒า๕า๕วช๖ชิพี าชกมุ าชนร”ณ ศูนย์ประชุมและลานแสดงสินค้า เจ.เจ. มอลล์ (สวนจตุจักร) กรงุ เทพฯ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องกำแพงเพชร (ชั้น ๖) เจ.เจ. มอลล์๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน๐๙.๓๐ - ๑๐.๐๐ น. พิธเี ปิดการสมั มนา โดย ดร.กฤษณพงศ์ กรี ติกร รองประธานกรรมการ สสค. คนท่ี ๒ ๑๐.๐๐ - ๑๐.๓๐ น. ปาฐกถาพเิ ศษ เรอ่ื ง “ความร่วมมือ อปท. และชุมชนสร้างสัมมาชพี ทั้งแผ่นดนิ ” โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประเวศ วะสี๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. พกั รบั ประทานอาหารวา่ ง๑๐.๔๕ - ๑๑.๓๐ น. ปาฐกถาพเิ ศษ เรื่อง “ภาคธุรกิจไทยกบั บทบาทการพฒั นาธุรกจิ สัมมาชพี เพอ่ื สังคม” โดย คุณอิสระ วอ่ งกุศลกจิ ประธานกรรมการ กลุม่ มติ รผล ๑๑.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. บรรยาย “แนวคิดภาคธุรกจิ เพ่อื สงั คมกับชุมชนไทย” โดย คุณสนธิรตั น์ สนธจิ ริ วงศ์ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธสิ มั มาชพี ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. สัมมนาเชิงปฏบิ ตั ิการ ๒ กลมุ่ (แบ่งหอ้ ง) หอ้ งท่ี ๑ (ธาราวด)ี “ความร่วมมือ อปท. กบั ชุมชน พฒั นาสมั มาชพี ระดับตำบล” วทิ ยากร • นายสมพร ใช้บางยาง • นายก อบต.ศรีบุญเรอื ง จ.หนองบัวลำภู • นายก อบต.แมท่ า อ.แมอ่ อน จ.เชยี งใหม่ • ผแู้ ทนองค์กรชมุ ชน ต.นาหมอม้า อ.เมอื ง จ.อำนาจเจริญ • ผู้แทนองคก์ รชุมชน ต.คหู าใต้ อ.รัตภูมิ จ.สงขลา ดำเนินรายการ โดย นายสุชาติ ทองบญุ ยงั

ห้องที่ ๒ (ธนาวดี) “การพฒั นาสัมมาชพี แบบครบหว่ งโซ่เศรษฐกจิ ”  วิทยากร • รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ • นายกเทศมนตรตี ำบลปลายพระยา จ.กระบ่ี • ผู้แทนชมุ ชนตำบลกะปาง อ.ทงุ่ สง จ.นครศรธี รรมราช • นายก อบต.เปยี งหลวง อ.เวียงแห จ.เชียงใหม่ • นายก อบต.หนองไฮ อ.อทุ ุมพรพิสยั จ.ศรสี ะเกษ • นายเปรม ณ สงขลา บรรณาธิการนติ ยสารเคหการเกษตร ดำเนินรายการ โดย นายณรงค์ คงมาก๑๕ มีนาคม ๒๕๕๖ (ชน้ั ๖) เจ.เจ.มอลล์๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. แบ่งกลมุ่ ย่อยสมั มนาเชิงปฏบิ ัตกิ าร (พัฒนาสมั มาชีพและผลติ ภณั ฑ)์ ๕ กลุม่ หอ้ งท่ี ๑ การพัฒนาสมั มาชีพด้านดนิ ปยุ๋ และเกษตรอินทรีย์ วทิ ยากรประจำกลุ่ม • ดร.ประทปี วีระพัฒนนริ ันดร์ มลู นธิ พิ ลงั นิเวศและชมุ ชน • นกั วชิ าการมลู นธิ ิสัมมาชพี การนำเสนอผลงาน ๕ พน้ื ท่ี - ตำบลขอนหาด จ.นครศรธี รรมราช - ตำบลใจดี อ.ขขุ ันธ์ จ.ศรสี ะเกษ - ตำบลเปยี งหลวง อ.เวียงแห จ.เชียงใหม่ - ตำบลห้วยดว้ น อ.ดอนตมู จ.นครปฐม - ตำบลศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร ดำเนนิ รายการโดย นายณรงค์ คงมาก

หอ้ งท่ี ๒ การพัฒนาสมั มาชพี การท่องเท่ยี วชุมชน วิทยากรประจำกลุม่ • นักวชิ าการด้านการทอ่ งเทยี่ วเชิงนเิ วศน์ • นักวิชาการมูลนิธิสมั มาชพี การนำเสนอกรณีศึกษา ๓ พื้นท่ี - ตำบลเกาะสาหรา่ ย อ.เมือง จ.สตูล - ตำบลคลองนอ้ ย อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎรธ์ านี - ตำบลนาหมอมา้ จ.อำนาจเจริญ ดำเนนิ รายการโดย นางสาวอารยี ์ คงแจม่ หอ้ งท่ี ๓ การพฒั นาสัมมาชีพช่างชมุ ชน วทิ ยากรประจำกลุ่ม • ผูแ้ ทนกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน • นกั วชิ าการมูลนิธิสมั มาชีพ การนำเสนอผลงาน ๔ ตำบล - ตำบลไพรบงึ อ.ไพรบึง จ.ศรีสะเกษ - ตำบลหนองเมก็ อ.นาเชอื ก จ.มหาสารคาม - ตำบลละแอ อ.ยะหา จ.ยะลา - ตำบลนาผือ อ.เมอื ง จ.อำนาจเจรญิ ดำเนินรายการ โดย นายสขุ สันต์ กณุ ฑยี ะ ห้องที่ ๔ การพัฒนาสมั มาชีพการผลติ ขา้ วและพนั ธุ์ขา้ ว วทิ ยากรประจำกล่มุ • นายวฑิ รู ย์ เลีย่ นจำรูญ มลู นธิ ิชีววิถี (Bio Thai) • นักวชิ าการจากกรมการข้าว การนำเสนอผลงาน ๕ ตำบล - ตำบลสงยาง อ.มหาชนะชยั จ.ยโสธร - ตำบลทุ่งสมอ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี - ตำบลละเมด็ อ.ไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี - ตำบลโนนเมือง อ.นากลาง จ.หนองบวั ลำภู - ตำบลศรบี ญุ เรือง อ.ศรีบญุ เรอื ง จ.หนองบัวลำภู ดำเนนิ รายการโดย นายนพดล มะลิกุล

หอ้ งที่ ๕ การพัฒนาสัมมาชีพหตั ถกรรม  การแปรรูปอาหาร สมุนไพร และร้านคา้ ชุมชน วิทยากรประจำกลมุ่ - นักวิชาการกรมการพฒั นาชมุ ชน - นักวชิ าการมลู นธิ สิ ัมมาชีพ การนำเสนอผลงาน ๕ ตำบล - ตำบลโพงงาม อ.สรรคบรุ ี จ.ชัยนาท - ตำบลเขาถา่ น อ.ท่าฉาง จ.สรุ าษฎร์ธานี - ตำบลนาฮี อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร - ตำบลลำสินธ์ อ.ศรนี ครนิ ทร์ จ.พทั ลงุ - ตำบลเพ็กใหญ่ อ.พล จ.ขอนแกน่ ดำเนนิ รายการโดย นายประสิทธิ มากวงศ์๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. อาหารกลางวนั ๑๓.๐๐ - ๑๓.๓๐ น. รายงานผลการดำเนินงานของ ๙๒ ตำบล โดย นายณรงค์ คงมาก ๑๓.๓๐ - ๑๔.๐๐ น. นำเสนอเวบ็ ไซตก์ ารตลาดสินค้าสัมมาชีพออนไลน์ E - Marketing โดย นายมนสั ภาพ สวุ รยี นนท์๑๔.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ของผู้แทนตำบล ผูต้ ิดตามและผู้ประสานงานจงั หวดั ๒๗ จังหวดั ๑๕.๐๐ - ๑๕.๓๐ น. ทิศทางการพัฒนาสัมมาชีพ ๑๐๐ ตำบล โดย นายทรรศนิ สขุ โต ผู้อำนวยการมูลนิธิสัมมาชีพ๑๕.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. การสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรกู้ บั การพฒั นาสมั มาชพี ชุมชน โดย นพ.สภุ กร บวั สาย ผู้จัดการ สสค.๑๖.๐๐ น. ปดิ การประชมุ ภาคสมั มนาวิชาการ๑๖ -๑๗ มนี าคม ๒๕๕๖ การเจรจาการค้า การแสดงสินคา้ และจำหนา่ ยสินค้าสมั มาชพี ชุมชน (ณ ลานแสดงสินค้า หน้า เจ.เจ. มอลล์) หมายเหตุ : กำหนดการและผู้ทรงคุณวุฒกิ ลุ่มยอ่ ย ๕ กลมุ่ อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

ความรู้คูก่ ารตลาด... เส้นทางสูส่ มั มาชพี ชมุ ชนเตม็ พน้ื ที่ ….ความรู้ที่จบั จากปฎิบัตกิ ารสมั มาชพี ชมุ ชน ๙๒ ตำบล โครงการพฒั นาศักยภาพการเรยี นรชู้ มุ ชนเพ่ือสัมมาชีพ สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคณุ ภาพเยาวชน (สสค.) บทสรปุ ผู้บริหาร ศ.นพ.ประเวศ วะสี ปราชญ์คนสำคัญของสงั คมไทย ผมู้ สี ว่ นสำคญั ในการขับเคล่ือนขบวน สัมมาชีพชุมชนกล่าวในที่ประชุมในวาระต่างๆกันหลายครั้งว่า “การสร้างสัมมาชีพเต็มแผ่นดิน จะนำไปสู่ความสันติสุขของสังคมไทย” ซ่ึงสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพ เยาวชน (สสค.) ได้นำหลักคิดดังกล่าวมาแปลงสปู่ ฏิบตั ิ โดยระดมสมองนกั ปฏิบตั ิการการเรยี นรทู้ าง สังคมมาร่วมกันคิดออกแบบเพื่อแปลงแนวคิด “การสร้างสัมมาชีพให้เต็มแผ่นดิน” สู่ปฏิบัติการที่ เป็นรูปธรรม ในท่ีสุดก็ได้ออกมาในรูปของ “โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ชุมชนเพื่อ สัมมาชีพ”และได้เริม่ ดำเนนิ งานมาต้งั แต่เดอื นพฤศจิกายน ๒๕๕๔ รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ นักวิชาการจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา- นครนิ ทรห์ าดใหญ่ ไดใ้ หแ้ นวทางการพฒั นาศกั ยภาพการเรยี นรขู้ องชมุ ชนเพอ่ื กา้ วไปสชู่ มุ ชนสมั มาชีพ ไว้เมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๕๔ ว่า “การสร้างสัมมาชีพให้เต็มพื้นที่ได้น้ัน ต้องเร่ิมจากการสร้าง กระบวนการเรียนรู้ให้กับครัวเรือนและชุมชน ผ่านการทำบัญชีครัวเรือนหรือบัญชีฟาร์ม เพื่อให้เห็น โอกาส เห็นตลาดภายในพื้นท่ีชุมชน จากนั้นให้เรียนรู้บัญชีทุนทรัพยากร บัญชีทุนทางสังคม บัญชี ทุนเศรษฐกิจ บัญชที ุนวัฒนธรรม และเรยี นร้วู ิธีการบรหิ ารจดั การทุนทีม่ อี ยู่ในพนื้ ทโ่ี ดยองค์กรชมุ ชน เปน็ แกนกลาง ภายใตค้ วามรว่ มมือกบั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ สถาบนั วิชาการ และภาคเอกชน ด ้วยการคดิ และทำใหเ้ ป็นระบบ โดยใชห้ ลักการห่วงโซเ่ ศรษฐกิจ ทำใหค้ รบวงจร” ช่วงระยะเวลา ๑๔ เดอื น ทโ่ี ครงการพฒั นาศกั ยภาพการเรียนรูช้ ุมชนเพื่อสมั มาชีพ (เรยี ก โดยยอ่ วา่ โครงการสมั มาชพี ชมุ ชน) ภายใตก้ ารดำเนนิ งานของสำนกั งานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ และคุณภาพเยาวชน (สสค.) นำหลักการและแนวทางดังกล่าวของ รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ มาประยุกตใ์ ชใ้ นพ้นื ที่เปา้ หมาย ๙๒ ตำบล นน้ั มขี อ้ คน้ พบทส่ี ำคัญหลายประการ ไดแ้ ก่

ประการท่ี ๑: การเรียนรู้จากข้อมูลบัญชีครัวเรือน สร้างรายเหลือเพ่ือนำไปจัดการทุน ทกุ มติ ิ ครวั เรือนทมี่ กี ารบนั ทึกบญั ชีครวั เรอื น ในพ้นื ที่ ๖๕ ตำบล (จากตำบลเป้าหมาย ๙๒ ตำบล)จำนวนครัวเรือนที่บันทึกบัญชีจำนวน ๑,๕๐๐ ราย น้ัน แม้ว่าจะไม่เป็นสัดส่วนท่ีสูงมากในเชิงปริมาณ แต่การให้ความสำคัญในเชิงคุณภาพของการเปล่ียนแปลงที่เกิดในระดับครัวเรือนท่ีทำบัญชีนั้น เป็นตัวช้ีวัดสำคัญของการนำไปสู่การสร้างรายได้ของครัวเรือน ของชุมชน ให้มากกว่ารายจ่ายซ่ึงจะแปรสู่ “รายเหลอื ” กลายเปน็ ทนุ เศรษฐกิจของชมุ ชนในทีส่ ดุ ซ่งึ “ทุนเงิน” ทเ่ี หลอื สามารถนำไปบูรณาการบริหารจัดการทุนในมิติต่างๆ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจในภาพรวมของชุมชนให้เพ่ิมขึ้นโดยต้ังอยู่บนฐาน “การมีศักยภาพในการบริหารจัดการทุนทุกมิติต่างในชุมชน ให้เกิดคุณค่าและมูลคา่ ใหม”่ ให้ได้ ซึ่งหมายความว่า “คนในชุมชนนน้ั ตอ้ งมศี ักยภาพในการรวมตัวกันเป็นผปู้ ระกอบการวิสาหกิจชุมชนหรือองค์กรในรูปแบบขบวนการสหกรณ์ เพ่ือดำเนินกระบวนการทางธุรกิจของชุมชนประเภทต่างๆ ท้ังอาชีพการปลูกพืช การเล้ียงสัตว์ การประมง การบริการ ให้ครบห่วงโซ่เศรษฐกจิ ” ประการท่ี ๒: การสร้างความรู้ด้านการคิดเชิงระบบและการพัฒนาอาชีพแบบครบห่วงโซ่เศรษฐกิจ ใหก้ ับคณะทำงานจงั หวดั และตำบล โครงการสัมมาชีพชุมชน ไดจ้ ดั การกระบวนการเรียนรู้ใหก้ บั กลุม่ เป้าหมายทง้ั ๒ ระดบั คือ กล่มุ ผ้ปู ระสานงานและผู้ตดิ ตามสนับสนุนระดับจงั หวดัและคณะทำงานตำบล โดยการฝึกอบรมทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking) การพฒั นาอาชพี ชมุ ชนประเภทตา่ งๆ แบบคดิ และทำใหค้ รบหว่ งโซเ่ ศรษฐกจิ ในชว่ งการพฒั นาโครงการนนั้มีคณะผู้ทรงคุณวุฒิสาขาต่างๆ ร่วมกันขัดเกลาโครงการจนได้ที่ ก่อนที่จะเร่ิมปฏิบัติการจริงโดยมีทีมพ่ีเลี้ยงระดับจังหวัดคอยกำกับชี้แนะไม่ให้ “หลงทาง” ออกไปจากกรอบคิดและหลักการที่รว่ มกนั กำหนดไว้ แมว้ า่ จะมอี ปุ สรรคดา้ นการบรหิ ารจดั การโครงการดา้ นการปดิ งวดงาน การเบกิ จา่ ยงบประมาณล่าช้า การเปลี่ยนแปลงชุดผู้บริหารและเจ้าหน้าที่รับผิดชอบของ อปท.ในตำบลพื้นที่เป้าหมาย บ้าง แต่ ทศิ ทางการปฏบิ ตั กิ ารบนฐานการการเรียนรกู้ ารพฒั นาแบบครบหว่ งโซเ่ ศรษฐกจิยังคงดำเนินการอย่างเข้มข้นต่อเนื่อง ในพื้นท่ีร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่ทั้งหมด (ประมาณ ๒๕ ตำบลจ าก ๙๒ ตำบล)

ประการที่ ๓ : การพัฒนาองคก์ รชุมชนสมั มาชพี บนฐานความรู้ พ้ืนทีเ่ ปา้ หมายการสรา้ ง สมั มาชพี ของโครงการสัมมาชพี ชมุ ชน คือ “ชุมชน” ไมใ่ ชป่ ัจเจก แมว้ ่าพ้นื ฐานของชมุ ชนจะมาจาก “ครัวเรือนปัจเจกชน” แต่กระบวนการเคล่ือนงานสัมมาชีพชุมชน ที่จะสร้างสันติสุขให้เกิดข้ึนเต็ม แผน่ ดนิ ได้ ควรตง้ั อยบู่ นฐานคดิ ของการกา้ วไปสสู่ มั มาชพี ของ “องคก์ รชมุ ชน” หรอื “ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ” ถึงจะเกิดการเปล่ียนแปลงเชิงโครงสร้างได้อย่างย่ังยืนและม่ันคง การเคล่ือนขบวนสัมมาชีพชุมชน จึงออกแบบให้ทำงานบนฐาน “ความร่วมมือ” ระหว่างองค์กรชุมชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภายใต้ “กระบวนการใชค้ วามรู้ มาพัฒนาการประกอบการอาชีพตา่ งๆ” โดยทุนสนบั สนุนสว่ นใหญ่ จาก สสค. ถกู ใชไ้ ปในกระบวนการเรียนรู้ สู่การสรา้ งความรู้ ทง้ั ด้านการผลติ การแปรรปู และการ สรา้ งความพรอ้ มของผลติ ภณั ฑใ์ ห้มีคณุ ภาพเพ่ือการตลาด ทงั้ ในตลาดระดับชมุ ชนท้องถน่ิ และตลาด ภายนอกชุมชนท้องถ่ิน โดยมีการจัดตั้งองค์กรชุมชนสัมมาชีพข้ึนมารองรับปฏิบัติการของโครงการ สัมมาชีพชุมชน บางพื้นที่เกิดองค์กรชุมชนสัมมาชีพที่เข้มแข็ง เกิดกระบวนการเรียนรู้ท่ีร่วมมือ กับสถาบันวิชาการอย่างใกล้ชิด เพ่ือนำความรู้จากสถาบันวิชาการมาประยุกต์ใช้เพ่ือการลดต้นทุน การผลิต และการยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้พร้อมที่จะนำไปใช้เองในระดับครัวเรือน แ ละชุมชนหรือส่งตลาดในทกุ ระดบั ประการที่ ๔ : การตลาดตรง - คนปลกู ถงึ คนกนิ : แนวทางการสร้างรายไดใ้ หม้ ากกวา่ รายจ่าย การสร้างระบบเศรษฐกจิ ให้เกิด “รายเหลอื ” เพ่อื การสะสมทนุ ของครัวเรอื นและชมุ ชนนัน้ มีพน้ื ฐานความคิดท่ีไม่ซับซ้อนกล่าวคือ “ครวั เรือนในสงั คมไทยตอ้ งคดิ ใหมว่ า่ ตนเองเป็นผปู้ ระกอบ การคนหนึ่งในฟันเฟืองของระบบเศรษฐกิจใหญ่ กำลังทำธุรกิจอยู่เช่นเดียวกับผู้ประกอบการในเชิง ธุรกิจเอกชนอื่นๆ การสร้างรายเหลือหรือกำไรสุทธิให้มากขึ้นน้ัน ทำได้ ๒ ทาง คือ ทางท่ี ๑ มุ่งสู่ การลดรายจ่าย ลดต้นทุนในการผลิต ลดรายจ่ายครัวเรือน ไม่ก่อหน้ีที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ทางท่ี ๒ การเพ่ิมมูลค่าในการจำหน่ายผลผลิตของครัวเรือนของชุมชน ให้มีส่วนต่างจากต้นทุนมากข้ึน รายเหลอื กจ็ ะมากขน้ึ ตาม” ซงึ่ กระบวนการดำเนนิ งานของโครงการสมั มาชพี ชมุ ชนในตำบลเปา้ หมาย ตอ้ ง “เขา้ ใจและเขา้ ถงึ ” ทง้ั ๒ ทางควบคกู่ นั ไป โดยการนำหลกั การการจดั การอาชพี แบบครบหว่ งโซ่ เศรษฐกิจมาประยุกต์ใช้ และการนำทุนทุกมิติในชุมชนมาบูรณาการปรับใช้ให้เกิดคุณค่าและมูลค่า ที่เหมาะสมต่อการประกอบการสัมมาชีพ บนหลักการ “ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และมีรายได้มากกว่ารายจ่าย (มีรายเหลือมากขึ้น)” ซ่ึงจากผลการทดลอง ปฏิบัติการ การนำผลิตภัณฑ์ที่เหลือจากการบริโภคไปขาย และการผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการตลาด โดยตรงน้ัน หากกลไกการตลาดของกลุ่มสัมมาชีพชุมชน ต้องเข้าไปอยู่ในวัฎจักรเดิมของตลาด กระแสหลัก กล่าวคือ ขายผลผลติ แบบสดๆเปน็ วัตถดุ ิบให้โรงงานแปรรปู , ขายผลผลิตสดๆ พวกผัก ผลไม้ ปลา ไก่ สุกร โค กระบือ เป็นต้น ให้ผู้รวบรวมในพ้ืนที่และส่งขายต่อไปอีกหลายช่วงช้ัน

ขายผลผลิตท่ีเต็มไปด้วยการปนเป้ือนสารพิษทางการเกษตรตอบสนองตลาดที่ต้องการผลผลิตท่ี สวยงาม, ขายผลิตภัณฑ์แปรรูปที่มีคุณภาพต่ำและคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน (ผู้ผลิตเองก็ไม่กล้าใช้)เชน่ ไมม่ น่ั ใจในคณุ ภาพป๋ยุ อินทรีย์ทตี่ นเองผลติ เพราะไมม่ ัน่ ใจในคณุ ภาพ เกรงวา่ จะไม่ไดผ้ ล ลงทุนปัจจยั การผลติ อื่นๆ ไปมากแล้ว กลัวขาดทุน เป็นต้น โดยราคาทกี่ ลมุ่ ผ้ผู ลิตสมั มาชีพชุมชนจำหนา่ ยออกไปนนั้ ถกู กำหนดโดย “พอ่ คา้ คนกลาง ไมส่ ามารถกำหนดราคาขาย (ทจี่ ะคาดคะเนรายเหลอื ได)้ ”ตอ้ งขายออกไป แมว้ า่ จะไมม่ รี ายเหลอื กต็ าม เสน้ ทางแบบนจ้ี ะนำไปสู่ “การสรา้ งหนสี้ นิ ในทกุ ระดบัเกิดการเรียกร้องต่อสู้ เกิดความไม่เป็นธรรมในสังคม “เกิดคนร่ำรวยกระจุกเดียว ขณะท่ีคนจนกระจายทง้ั แผน่ ดิน” ช่วงเวลา ๑๔ เดือน ท่ดี ำเนินงานมา โครงการสมั มาชพี ชุมชน ได้เรียนรกู้ ลไกการผลิตและตลาดในพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย พบว่า “พื้นที่เป้าหมายส่วนหน่ึงของโครงการสัมมาชีพชุมชน ยังต้องเรียนรู้กระบวนการผลิต เพ่ือสร้างและยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการให้ได้ กล้ากินกล้าใช้ ทุกอย่างทปี่ ลูกและผลิตกันเองในกลุ่ม มปี ระมาณรอ้ ยละ ๗๐ ของพืน้ ท่ีเป้าหมาย ยงั ตอ้ งการ“ความรู้” เข้าไปพฒั นาผลิตภัณฑ์และการบริหารจดั การองค์กรชุมชนสมั มาชพี สว่ นพืน้ ท่ีอีกรอ้ ยละ๓๐ หรือประมาณ ๒๕ ตำบลนั้น มีผลิตภัณฑ์สัมมาชีพชุมชนท่ีพร้อมจะจำหน่ายในตลาดท้องถิ่นและตลาดนอกพ้ืนที่ชุมชนท้องถ่ิน แต่ก็พบอุปสรรคการตลาดและราคาท่ียังไม่สามารถจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในราคาท่ีก่อให้เกิดรายเหลือเพียงพอท่ีจะสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของครัวเรือนและชุมชนได้ กลุ่มน้ีต้องการ “ตลาด” รูปแบบใหม่ ที่ต้องลด “คนกลาง” ลงให้มากท่ีสุด ต้องท ำการตลาดตรงถึงมือผบู้ ริโภค เพ่ือให้สว่ นตา่ งทต่ี กในมือ “คนกลาง” กลบั มาเปน็ ของผู้ผลติ ประการท่ี ๕ : การสร้างตัวตน การค้นหา และการนำเสนอ เร่ืองราวชุมชนอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์สัมมาชีพ ท้ังในรูปผลิตภัณฑ์และบริการจุดแข็งและโอกาสของผลิตภัณฑ์และบริการจากองค์กรชุมชนสัมมาชีพ ทางด้านการตลาด คือ “การสร้างความเป็นตัวตน สร้างความเป็นชุมชนท่ีมีทุนทางวัฒนธรรมเฉพาะ สร้างความเป็นธรรมชาติ สร้างความปลอดภัยเพ่ือสุขภาพสร้างความเป็นธรรมทางการค้า สร้างความเป็นองค์กรชุมชนท้องถ่ิน เป็นต้น ให้เป็น “เอกลักษณ์

ของผลิตภัณฑ์และบริการสัมมาชีพ” แต่จุดอ่อนและอุปสรรค คือ “การขาดทักษะบริหารจัดการ ในเชงิ การเป็นผู้ประกอบการขององคก์ รชมุ ชน ขาดความรใู้ นการบรู ณาการทุนทุกมติ ทิ ม่ี อี ยู่ในชุมชน ท้องถิ่น ขาดความไว้วางใจกันและกันในภาคประชาชนด้วยกัน ขาดความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการ ขาดกลไกกลางในการบริหารจัดการด้านการตลาดและขาดการศึกษาวิจัยและพัฒนา ช่องทางการตลาดรูปแบบใหม่ เป็นต้น” ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์และสินค้าของสัมมาชีพ แข่งขันกับภาค ธรุ กิจเอกชนไมไ่ ด้ ดังน้นั แนวทาง “การสร้างความร่วมมอื กับภาคส่วนธุรกจิ เอกชนทม่ี ีประสบการณ์ ทางด้านการบริหารธุรกิจและภาคสถาบันการศึกษาที่มี “ใจ” ให้กับ “สัมมาชีพชุมชน” ควรเพ่ิม ระดับความเข้มข้นให้มากขึ้น โดยเฉพาะกับ “มูลนิธิสัมมาชีพ” ซ่ึงเป็นองค์กรท่ีเกิดจากการรวมตัว ของนักธุรกิจที่มี “ใจให้กับสังคม วาดหวังท่ีจะสร้างองค์กรธุรกิจเพื่อสังคม” มีทักษะประสบการณ์ ทางการดำเนินธุรกิจและมีช่องทางทางการตลาดท่ีจะร่วมเป็นเครือข่ายกับขบวนสัมมาชีพชุมชน อย่างเสมอภาคได้ ประการที่ ๖ : องค์กรสัมมาชีพชุมชนต้องเป็นแกนกลางในการสร้างความร่วมมือกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและสถาบันวิชาการ จากประสบการณ์ ๙๒ ตำบล หากพื้นท่ีใด ที่องค์กรชุมชนสัมมาชีพไม่สามารถก่อตัวขึ้นได้ ภาระงานส่วนใหญ่ต้องตกอยู่กับเจ้าหน้าที่ อปท. ขาดกระบวนการจัดตั้งกลุ่มองค์กรชุมชนสัมมาชีพ ให้เกิดข้ึนอย่างเป็นรูปธรรมพื้นท่ีน้ันก็จะมี ข้อขัดขอ้ งดา้ นความตอ่ เน่ือง และความยงั่ ยนื ของการดำเนินกจิ กรรมภายใตโ้ ครงการสมั มาชีพชุมชน และปัญหาจะทวีมากขึ้น หากความสัมพันธ์ในเชิงการเมืองท้องถิ่นเข้ามาแทรก อย่างไรก็ตาม อปท.ท่ีมีฝา่ ยบริหารและเจา้ หนา้ ท่ี “เข้าใจ เข้าถึง” แนวคิดทศิ ทางการพัฒนาสมั มาชพี แบบครบห่วง โซ่เศรษฐกิจ การเข้ามา “ร่วมพัฒนา” องค์กรชุมชนสัมมาชีพก็จะดำเนินการอย่างเข้มข้น อย่างได้ ผล เสริมพลังให้ภาคองค์กรชุมชนสัมมาชีพประสบความสำเร็จได้รวดเร็ว และมีความย่ังยืนมากขึ้น เพราะมีทุนทางสังคมอื่นๆ ท่ีอยู่ในอำนาจหน้าที่ของอปท. มาสนับสนุนองค์กรชุมชนสัมมาชีพได้ อ ยา่ งต่อเนื่องและม่นั คง. ในช่วงโค้งสุดท้ายของโครงการสัมมาชีพชุมชน ๑๔ เดือน ท่ีผ่านมา พบว่าในระดับพ้ืนที่ ปฏิบัติการตำบล โดยเฉล่ียมีการใช้งบประมาณไปเพียงร้อยละ ๕๐ ของงบที่ได้รับการอนุมัติจาก10 สสค.หากในช่วงระยะเวลาท่ีเหลืออีกประมาณ ๒ เดือน (โครงการส้ินสุดในวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๕๖) นั้น พน้ื ที่ตำบลยงั คงยดึ หลกั การทำงานแบบครบห่วงโซเ่ ศรษฐกจิ สรา้ งความรู้พฒั นาระบบ การบริหารจัดการองค์กรชุมชนสัมมาชีพและผลิตภัณฑ์ รองรับการดำเนินงานของกลุ่มที่ ๑ (ร้อยละ ๗๐) และ พัฒนากลไกตลาดรปู แบบใหม่ๆ อยา่ ง การสร้าง “ขอ้ ตอ่ ” ทเี่ ปน็ องค์การตลาด เพ่ือสัมมาชีพชุมชน และพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรชุมชนสัมมาชีพให้เข้มแข็ง

พัฒนาระบบข้อมูลเช่ือมโยงการผลิตและการตลาดแบบออนไลน์ (ตลาดลอยฟ้า สินค้าตามส่ัง) 11ข้ึนมารองรับการดำเนินงานของกลุ่มที่ ๒ (ร้อยละ ๓๐) สสค.และสังคมจะได้รูปธรรมปฏิบัติการสัมมาชีพชุมชนท่ีจะส่งผลการเปล่ียนแปลงอย่างมีนัยสำคัญย่ิงต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของ๙๒ ตำบล ทั้งน้ีเง่ือนไขความสำเร็จ ที่ โครงการสัมมาชีพชุมชนในแต่ละพื้นที่ ต้องเปิดกว้างการเรียนรู้เพ่ิมมากข้ึน คือ “การนำความรู้” เข้ามาพัฒนา ๓ องค์ประกอบหลัก คือ ๑) พัฒนาทักษะการบริหารจัดการองค์กรชุมชนสัมมาชีพ ๒) พัฒนาผลิตภัณฑ์สัมมาชีพให้ได้มาตรฐานและคุณภาพ และ ๓) พัฒนาระบบการตลาดแบบตรงถึงผู้บริโภคทั้งในระดับชุมชนท้องถิ่นและตลาดนอกทอ้ งถ่นิ (ข้นึ กบั ชนิดและประเภทของผลิตภัณฑ)์ โครงการสมั มาชพี ชมุ ชน สสค. มนั่ ใจวา่ การสมั มนาวชิ าการและการทดลองปฏบิ ตั กิ ารตลาดเรื่อง “การพัฒนาความรู้...สู่สัมมาชีพชุมชน” ในระหว่างวันท่ี ๑๔ - ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๖ณ เจ เจ มอลล์ สวนจตุจักรกรุงเทพฯ น้ี จะเป็นก้าวย่างเล็กๆ ของการแปลงแนวคิด “การสร้างสัมมาชีพชุมชน เต็มแผ่นดิน” ให้เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยสกัดจากความรู้ท่ีจับได้จาก๙๒ ตำบลและความรู้ท่ีจะได้รับจากผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และเครือข่ายนักธุรกิจจาก “มูลนิธิสัมมาชีพ” สามารถนำไปปรับปรุงกระบวนการทำงานส่งเสริมขบวนสัมมาชีพชุมชนในพื้นท่ี ๙๒ ตำบลเอง และขยายผลความรู้ท่ีค้นพบไปยังชุมชนสัมมาชีพอื่นๆตอ่ ไปไดจ้ รงิ ณรงค์ คงมาก โครงการติดตามสนบั สนนุ โครงการสัมมาชีพชมุ ชน สสค. ๔ มนี าคม ๒๕๕๖

พน้ื ที่นิทรรศการภาค จังหวัด ตำบล โซน ภาค จงั หวัด ตำบล โซน ภาค จงั หวดั ตำบล โซน ใต ้ กระบี่ เทศบาล- B01 อสี าน นครราช- คขู าด/เมอื งยาง A07 อสี าน อุบลราชธาน ี โพนงาม A43 ปลายพระยา สมี า บัวลาย A08 ม่วงสามสิบ A44 กระบ่นี อ้ ย B02 พระทองคำ A09 หัวเรอื A45 อา่ วลกึ ใต้ B03 บ้านยาง A10 วารนิ A46 หนองตะไก้ A11 นครศร-ี ขอนหาด B04 วังหม ี A12 เหนือ กำแพงเพชร โกสัมพี C01 ธรรมราช กะปาง B05 เพชรชมภ ู C02 ควนกรด B06 มหาสารคาม หนองเหลก็ A13 ท่าซอม B07 ดอนเงิน A14 เชียงใหม ่ แมท่ า C03 หนองเมก็ A15 เปียงหลวง C04 นราธวิ าส โคกเคียน B08 แวงน่าง A16 แสนไห C05 ฮอด C06 ปตั ตานี นาประด ู่ B09 ยโสธร นาโส ่ A17 บานา B10 สงยาง A18 ตาก เทศบาล- C07 มะนงั ตาลำ B11 ศรีฐาน A19 เมืองตาก น้ำคำ A20 พทั ลุง โคกมว่ ง B12 ตะวันตก กาญจนบรุ ี ทงุ่ สมอ C08 ดอนประด ู้ B13 ศรีสะเกษ ใจด ี A21 พังตรุ C09 เขาเจยี ก B14 ขนุ หาญ A22 เลาขวัญ C10 ลำสนิ ธุ์ B15 ไพรบงึ A23 หนองปลงิ C11 สำโรงพลนั A24 ยะลา พรอ่ น B16 หว้ ยตามอญ A25 นครปฐม สามงา่ ม C12 สะเตงนอก B17 หนองไฮ A26 หว้ ยดว้ น C13 ละแอ B18 คลอง- C14 บาลอ B19 สกลนคร นาตาล A27 นกกระทงุ โคกกอง A28 สงขลา ควนโส B20 มว่ งลาย A29 ตะวัน ชลบรุ ี เทศบาล- C15 รัตภมู ิ B21 เหลา่ ปอแดง A30 ออก เมืองศรรี าชา คูหาใต ้ B22 นาฮี A31 กลาง ชัยนาท โพงงาม C16 สตูล ยา่ นซ่อื B23 สรุ นิ ทร์ ตาวงั A32 สาคร B24 รีสขุ A33 เกาะส่าหรา่ ย B25 ขอนแตก A34 สรุ าษฎร์- เลมด็ B26 หนองบัวลำภ ู โนนเมือง A35 ธานี เขาถา่ น B27 นามะเฟือง A36 คลองพา B28 โนนสงเปอื ย A37 คลองนอ้ ย B29 เมืองใหม่ ศรบี ุญเรือง A38อีสาน ขอนแกน่ โนนขา่ A01 เพก็ ใหญ่ A02 อำนาจเจริญ พนา A39 นาผอื A40 ชัยภูมิ ซบั ใหญ่ A03 นาหมอมา้ A41 กะฮาด A04 โนนหนามแทง่ A42 โพนทอง A05 หนองแวง A06

กรณีศกึ ษา พ้ืนทสี่ มั มาชีพชุมชน



“เสื่อกก” : สายโซก่ ารผลติ 15กับการเรียนรเู้ พ่อื สมั มาชพี บา้ นนาหมอม้า ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ ชาวบ้านสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพทำนาในรอบปีการผลิตจึงมีเวลาเหลือเช่นเดียวหมู่บ้านชนบทไทยทั่วไป ในพื้นที่ตำบลนาหมอม้ามีทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย โดยเฉพาะต้นกกที่มีคุณภาพดี และมีกลุ่มแม่บ้านรวมตัวกันเป็นกลุ่มทอเส่ือกกเพื่อสร้างรายได้ มาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๘ โดยการจุดประกายจากกรมการพัฒนาชุนสนับสนุนให้เดินทางไปเรียนรู้การพัฒนาเส่ือกกจากจังหวัดจันทบุรี เพ่ือสร้างเทคนิคความรู้ใหม่นำมาพัฒนาของใช้พ้ืนบ้านที่สืบสานภูมิปัญญากันมา ให้มีมูลค่าเพ่ิมด้วยการพัฒนาความรู้และทักษะการทอ จากการทอแบบธรรมดาเป็นลายบ้านทั่วไป เป็นการทอแบบ “มัดหมี่และถักทอ”ท่ีสามารถสร้างลวดลายใหม่ๆ ได้มากกว่า ๒๐๐ ลาย และสามารถรับงานออกแบบลายเส่ือกกได้ตามที่ลูกค้าต้องการ ซ่ึงเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเสื่อกก แต่อย่างไรก็ตามกลุ่มอาชีพทอเส่ือกกยังมีขอ้ จำกัด คอื กลุ่มคนทสี่ ามารถทอเสื่อแบบพิเศษ คอื แบบถักทอ ได้น้นั ยงั มีจำนวนน้อย รวมท้ังการพัฒนาช่องทางการตลาดแบบใหม่เพ่ิมขึ้น เช่น การตลาดผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ให้สอดรับกับวิถกี ารตลาดของลกู ค้าทเ่ี ปลย่ี นแปลงดว้ ยค วามรว่ มมือจาก อปท. เพอื่ ยกระดับกลุ่มอาชพี กลมุ่ อาชพี ทอเสอื่ กกเปน็ งานจากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทท่ี ำงานบนฐานความรว่ มมอื กบั เครอื ขา่ ยในชุมชน จนได้รับการยอมรับเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับส่ีดาว ในปี ๒๕๔๙ สามารถขยายผลความสำเร็จเช่ือมโยงกับงานพัฒนาด้านกลุ่มออมทรัพย์ เพ่ือการจัดการทุนประกอบการอาชีพ และกลุ่มโฮมสเตย์เพื่อรองรับนักท่องเท่ียวที่มาเย่ียมชมกิจกรรมงานพัฒนาชุมชน โดยมีฐานการสนับสนุนจากเทศบาลตำบลนาหมอม้าอย่างดีเย่ียม แต่ปัจจุบันผู้รู้เรื่องเทคนิคการทักทอซึ่งเป็นงานเฉพาะของนาหมอม้าเหลือเพียงผู้สูงอายุไม่กี่คนหากไม่มีกระบวนการเรียนรู้ การอนุรักษ์ และการถ่ายทอด ภูมิปัญญาท้องถ่ินน้ีอาจจะหมดไปและอาจสูญเสียทางเศรษฐกิจไปอย่างน่าเสียดายจึงเปน็ ท่ีมาของการจัดทำข้อเสนอผา่ นโครงการพฒั นาศักยภาพการเรยี นรูช้ ุมชนเพือ่ สัมมาชีพ นายอนนั ต์ โขมะนาม ปลดั เทศบาลตำบลนาหมอมา้ ใหข้ อ้ มลู ว่า “งบประมาณที่ไดร้ ับจากสสค.จะนำไปใช้ให้เกดิ กระบวนการเรียนรูเ้ พ่ิมในชุมชน โดยเฉพาะการเพ่ิมทักษะการทอเสื่อกกแบบ“มัดหมี่และถักทอ” เพิ่มจำนวนสมาชิกที่มีทักษะแบบถักทอเพ่ิมขึ้น ไปศึกษาเพ่ิมเติมการเรียนรู้จากกลุ่มอาชีพทอเสื่อกกในพ้ืนที่อื่น เช่น กลุ่มทอเส่ือกกจังหวัดนครพนม การฝึกอบรมให้เยาวชน

คนรนุ่ ใหมไ่ ดเ้ รยี นรแู้ ละสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาและพฒั นาตอ่ ยอดนวตั กรรมการทอ เชน่ การออกแบบลาย ซง่ึ ตอ้ งใช้ความรเู้ ร่ืองกราฟฟกิ จากคอมพวิ เตอร์มาประกอบการออกแบบลวดลายมากขนึ้ การพฒั นา ชอ่ งทางการตลาดแบบใหม่ ผา่ นระบบอนิ เตอร์เนต็ การศกึ ษาห่วงโซเ่ ศรษฐกิจการทอเสอื่ กกให้รจู้ ริง ต้ังแต่วัตถุดิบจนจัดจำหน่าย เพ่ือรองรับการตลาดและการแข่งขันกับแหล่งอื่นๆ ได้ซึ่ง นางน่ิม นวลขาว เป็นหัวหน้ากลุ่มทอเส่ือกกได้เป็นแกนนำสำคัญในการถ่ายทอดทักษะให้กับ สมาชิกกลุ่มท่ีสมัครใจมาร่วมโครงการฯ จำนวน ๑๐๐ คน โดยนำกระบวนการเรียนรู้ต้ังแต่การ ศึกษาต้นกก การเตรียมต้นกก การจักกก การตาก การย้อมสี การอบ การออกแบบ และการทอ (เน้นการถักทอ) กระบวนการเรยี นรู้ภายใต้โครงการฯ นี้ นอกจากเปน็ การสอนการทอเสื่อแบบครบ วงจรตามห่วงโซ่เศรษฐกิจแล้วยังสนับสนุนให้มีการทำบัญชีครัวเรือน เพ่ือเป็นจุดเริ่มต้นของการคิด วิเคราะห์พื้นฐานการใช้จ่ายเพื่อนำมาสู่การประกอบอาชีพและการใช้ชีวิตประจำวัน ซ่ึงจะมีการนำ16 ข อ้ มลู ไปวิเคราะห์การจัดทำแผนบรหิ ารครวั เรือนของสมาชกิ กลมุ่ ทอเสอื่ กก ศ กั ยภาพการเรยี นรขู้ องกลมุ่ อาชพี ... สสู่ มั มาชพี อยา่ งย่ังยืน ในระยะแรกเพ่ือให้เกิดความย่ังยืนและเป็นโครงการท่ีไม่เป็นเพียงการอบรมระยะสั้นๆ กับ จำนวนกล่มุ เปา้ หมาย ๑๐๐ คน และฝา่ ยที่เกยี่ วขอ้ งนน้ั มีการเพิม่ ทกั ษะเร่อื งการคิดเชิงระบบ การ ทำบัญชีครัวเรือน บูรณาการสอนร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในโรงเรียนบ้านนาหมอม้าให้แก่เยาวชน อบรมกระบวนการคิดเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทลวดลายใหม่ๆ ด้วยตนเอง การแปรรูป ผลิตภัณฑเ์ ป็นเคร่อื งใชอ้ ืน่ ๆ เชน่ รองเทา้ กลอ่ งใสก่ ระดาษ เบาะรองนงั่ และของที่ระลึกขนาดตา่ งๆ กระบวนการดังกล่าวทำให้คนในชุมชนตระหนักถึงการสร้างอาชีพในชุมชนได้ด้วยกระบวนการ

17ท้องถิ่น ตั้งแต่การคิด การบริหารจัดการทรัพยากร ส่งเสริมภูมิปัญญา การวางแผนการตลาดแบบห่วงโซ่เศรษฐกิจเพ่ือความย่ังยืนและสร้างความเข้มแข็งในชุมชน นอกจากนี้ยังมีการพัฒนายกระดับกลุ่มเปา้ หมายให้เปน็ ระดับครูผูส้ อนได้ ๒๐ คน จาก ๑๐๐ คน ทจ่ี ะพัฒนาทักษะและเทคนคิ ชนั้ สูงเพื่อเพม่ิ จำนวนผ้ถู ่ายทอดและสามารถขยายผลไปยงั กลมุ่ เป้าหมายในชุมชนให้มากขน้ึ ความทา้ ทาย...การพฒั นาบนฐานการจดั การความรู้และการเช่ือมโยงการตลาด จากฐานการผลติ และการพฒั นาการทอเส่ือกกมาเกอื บ ๔๐ ปี ของบ้านนาหมอม้า ความท้าทายท่ีรออยู่ข้างหน้า มีหลายประการ ได้แก่ ๑) การเพ่ิมปริมาณสมาชิกท่ีมีขีดความสามารถในการ “ถักทอเสื่อกก” เพ่ือรองรับตลาดแบบพิเศษมรอนาคต ๒) การฝึกอบรมคนรุ่นใหม่ เพ่ิมความสามารถในการออกแบบลายถักทอโดยใชค้ อมพวิ เตอรก์ ราฟฟิก โดยรวมมอื กับสถาบันวิชาการในจังหวัดอำนาจเจริญ ๓) การฝึกอบรมถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับเยาวชนท้องถิ่น ๔) การบริหารจดั การตลาดแบบเช่ือมโยงผา่ นระบบอินเตอรเ์ นท็ โดยรว่ มมอื กับเทศบาลตำบลนาหมอม้า เครือขา่ ยราชการด้านการส่งเสริมอาชีพ และภาคธุรกิจเอกชน และ ๕) การนำข้อมูลบัญชีครัวเรือนมาจัดทำแผนครัวเรือนและจัดทำข้อเสนอโครงการพฒั นาชมุ ชนส่เู ทศบาลตำบลในปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ สำหรบั เทศบาลตำบลนาหมอม้า องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดอำนาจเจรญิ และ สสค. จะมีระบบปฏิบัตกิ ารสนับสนนุ การพัฒนาสมั มาชพี ร่วมกับสมาชิกกลมุ่ ทอเสือ่ กกนาหมอม้า ซ่งึ ประยุกต์ใช้ความร้ขู องระบบหว่ งโซเ่ ศรษฐกิจ ซง่ึ “ข้อต่อของหว่ งโซ”่ ที่สำคญั คือ “ข้อต่อการจดั การขอ้ มูลข้อต่อการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และ ข้อต่อการตลาด” เพื่อให้การผลิตเส่ือกก สินค้าท่ีต่อยอดจากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ก้าวไกลสตู่ ลาดสากล สรา้ งความมั่นคงดา้ นเศรษฐกิจใหก้ ับครัวเรือนในตำบลนาหมอม้าได้มากยิง่ ขนึ้

18

ในวิถ“คี พนอปเลพายี ยงพ”ระยา 19 “ยึดประโยชน์สุขของคนเป็นท่ีตั้ง” คือ หน่ึงในวิสัยทัศน์ของการพัฒนาท้องถ่ินของเทศบาลตำบลปลายพระยา อำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบ่ี ซง่ึ ตรงกบั กระแสพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ตามแนว “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ดว้ ยการเปลย่ี น “เทศบาล”ใหเ้ ป็น “ศนู ยก์ ารเรียนร”ู้ ทเี่ หมาะสมกบั บริบทของพื้นทแี่ ละเป็นภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ซ่งึ สรา้ งใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการเข้าศกึ ษาดงู านดา้ นการส่งเสริมอาชีพให้กบั หนว่ ยงานภาคสว่ นตา่ งๆ และประชาชนทว่ั ไป นำมาสูฐ่ านการเรียนรู้ตา่ งๆ ทง้ั ๑๑ ฐานประกอบดว้ ย ๑. ศนู ยก์ ารเรียนรู้ชมุ ชนตามแนวพระราชดำริ ๒. แปลงเกษตรชวี ะวิถเี ศรษฐกจิ พอเพียง ๓. ฐานเรียนรกู้ ารผลติ ป๋ยุ หมักระบบกองเตมิ อากาศ ๔. ฐานการเรยี นรูก้ ารผลติ นำหมกั ชวี ภาพ ๕. ฐานการเรียนร้กู ังหันลมสูบนำ้ เพื่อการเกษตร ๖. ฐานเรยี นรูก้ ารเพาะเลยี้ งดว้ ง ๗. ฐานเรยี นรกู้ ารเพาะเลยี้ งจ้งิ หรดี ๘. การจัดการศึกษาระดับ ปวช./ปวส. ปริญญาตรีและปรญิ ญาโท ๙. โรงงานผลิตนำ้ ดื่มชุมชนบ้านปากน้ำ ๑๐. ธนาคารขยะรไี ซเคลิ ๑๑. เครอื ข่ายศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกจิ เพอเพยี ง เชน่ การเลย้ี งแพะ ปลาดกุ พืชสมนุ ไพร ฯลฯ ภายใตก้ ารบริหารของนายจเร ปานจีน นายกเทศมนตรตี ำบลปลายพระยาไดใ้ ห้คำจำกัดความของความพอเพยี งของคนปลายพระยาวา่ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พยี งเพอื่ “เพมิ่ รายได้ ลดรายจา่ ย”โดยไม่ได้คิดหวังจะทำเป็นเชิงธุรกิจ หวังเพียงให้คนในท้องถ่ิน ลดการบริโภคสินค้า เพราะปลูกหากินเองได้ ขณะเดียวกันก็เพิ่มรายได้ เม่ือมีคนมาซื้อขายและแบ่งปันให้กันเมื่อเหลือกินเหลือใช้สรา้ งใหเ้ กิดความย่งั ยืน ดว้ ยการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในท้องถนิ่

“ตีปา่ ลอ้ มเทศบาล” ยทุ ธศาสตร์สอื่ สารสร้าง “พลังภายใน” สู่ “พลังภายนอก” ในพื้นท่ี ๑,๘๐๐ ครัวเรือน ภูมิสังคมท่ีแตกต่างทั้งสภาพพื้นที่ และประวัติศาสตร์ ฉะน้ัน เทศบาลตำบลปลายพระยาจำเป็นต้องวิเคราะห์ร่วมกับสังคมเพ่ือหา “อาชีพ” ที่เหมาะสมสำหรับ คนในท้องถิ่น เพราะธรรมชาติไม่สามารถสร้างสรรค์ได้ตามความต้องการของพื้นท่ีให้หมด ฉะน้ัน ต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ตลอดเวลาให้คนในท้องถ่ินได้เรียนรู้ท่ีจะปรับตัวเองให้เหมาะกับ การเปลีย่ นแปลงด้วย เทศบาลจึงไม่ใช่ผู้ให้เพียงฝ่ายเดียว เพียงแต่เทศบาลติดอาวุธทางปัญญาให้ชาวบ้าน ผ่านการแลกเปล่ียนเรียนรู้จากฐานการเรียนรู้ต่างๆ และการศึกษาดูงานต้นแบบท่ีดีมีการค้นคว้า20 ศกึ ษาความเปน็ ไปไดใ้ นพน้ื ทแ่ี ละตลาดการคา้ รวมทง้ั สำรวจความตอ้ งการของตลาดกอ่ นทจ่ี ะลงมอื ทำ เพราะถ้าตลาดไม่ดี ขายไม่ได้ ก็คิดเปล่ียนเป็นอย่างอื่นแทนโดยเร่ิมจากการทำความเข้าใจกับ “บุคลากรข้างใน” (Internal Communication) ตรงตามหลักการทรงงานของพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทวี่ า่ “ระเบดิ จากขา้ งใน” กจ็ ะทำใหเ้ กดิ ความ “พอเพยี ง” ทย่ี งั่ ยนื ในทอ้ งถนิ่ จุดเปลี่ยนแรกที่สำคัญคือ การดึง “คนในเทศบาล” มาเป็น “ผู้ลงมือทำ และมีส่วนใน การบริหารจดั การศูนย์การเรยี นรู”้ เมื่อข้อมูลความร้ไู ด้รบั การยอมรบั ว่า “ทำได้จริง” จึงอาศัยพลงั จาก “คนใน” บอกตอ่ “คนนอก” จนทำใหเ้ กดิ การขยายผลอาชพี ตา่ งๆ ไดใ้ นทอ้ งถน่ิ นำสกู่ ารเรยี นรู้ ดงู านจากต่างพื้นทเี่ พ่อื เผยแพรข่ ยายผลต่อไป อาทิ

• เลี้ยงจ้ิงหรีด เลี้ยงตัวด้วง: นายวันชัย ปิดนะ เกษตรกรบ้านนาเทา อ.ปลายพระยา 21 กล่าวว่า “ถ้าเลี้ยงจ้ิงหรีดไม่ได้ก็ไม่รู้จะทำอะไรแล้ว ผมไม่ได้คิดว่าจะทำเอารวย แต่มัน ได้รายไดพ้ อกินพออยู่ได้ ได้รายได้อย่างน้อยๆ ๔๕ วนั คร้ังละ ๔,๕๐๐ บาทในการเลีย้ ง จิ้งหรีด ๕-๖ ถังซ่ึงได้รับคำแนะนำจากนายศรีสุวรรณ หนูแก้ว พนักงานเทศบาล ปลายพระยาผู้รับผิดชอบ “เลี้ยงด้วง” “จิ้งหรีด” ซ่ึงเป็นเพื่อนบ้านแนะนำให้ทำมาได้ รว่ มปี • วิสาหกิจน้ำด่ืมชุมชน กระจายรายได้ให้เกือบทุกครัวเรือนได้ถือหุ้น เป็นโรงงานผลิต นำ้ ดื่มชมุ ชน มีเงนิ รายได้ปลี ะ ๓-๔ ลา้ นบาท ตกราวเดือนละ ๓๐๐,๐๐๐ บาท • ปลาดุก: ด้วยการก่อบ่อติดกับชายคาบ้านไว้เล้ียงปลาเพื่อรองน้ำที่ตกมาเพื่อลดต้นทุน ให้อาหารตามธรรมชาติด้วยกล้วย มะละกอ มีต้นทุนน้อยมากไม่ถึง ๑๐% จากต้นทุน ๖๐ บาท/กโิ ลกรมั ขายไดต้ ้นทุนไมเ่ กนิ ๑๐-๑๕ บาทคนนิยมทำเปน็ ปลาดกุ ร้า • การจดั ทำบัญชีครวั เรือน: ตำบลปลายพระยามบี รบิ ทชุมชน ๓ แบบคอื ๑.ชมุ ชนเมอื ง ไมม่ ีพน้ื ทจี่ งึ ทำไม่ได้ ๒.มีพน้ื ที่บา้ ง ก็หยิบไปทำตามทเี่ หมาะสมกับสภาพพื้นท่ี ๓.มีพ้ืนที่ มาก ก็ทำหลายอย่าง แต่ทุกบริบทสังคม จะแนะนำให้ทำบัญชีครัวเรือนควบคู่ไปด้วย เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกัน จะมีเหตุผลสะท้อนให้เห็นรายรับรายจ่ายเท่าไหร่จึงเหมาะสม เป็นการติดอาวุธทางปัญญาใหช้ าวบา้ น ภายใตแ้ นวคดิ “เก็บก่อน เหลือแล้วคอ่ ยจ่าย” นายกอบต.กล่าวเสรมิ วา่ ปญั หาอยู่ทีว่ า่ ถ้าคุณหยุด ไม่รู้จกั แก้กจ็ ะเป็นปัญหา ฉะน้นั ถา้ ให้เราอยู่ได้ตอ้ งอยไู่ ดก้ บั ความเปลย่ี นแปลงของโลก จงึ จำเป็นต้องมีการวิเคราะหศ์ กั ยภาพทุน ความคิดพ้ืนที่ ศูนย์การเรียนรู้จะเป็นตัวถ่ายทอดให้หยิบอะไรมาทำแล้วจะดี โดยคนในท้องถ่ินต้องเป็นผู้มาเลือกสงิ่ ท่ีเหมาะสมกับบริบทของพวกเขาเองด้วย นอกเหนือจากการเปลี่ยนวธิ ีคิดจากระบบราชการไม่ใชม่ ุ่งแตจ่ ะให้ แตเ่ ป็นการสนับสนุนวธิ คี ดิ ท่ีประชาชนต้องการ “เราไม่ไดเ้ อาเงินเปน็ ตัวต้งั ในการทำงาน แต่จะทำใหท้ กุ คนรู้สกึ เปน็ เจ้าเขา้ เจา้ ของผา่ นสง่ิ ที่เขามาร่วมกันทำ ถ้าเราซื้อหมู ซื้อไก่ให้คนในท้องถิ่น มนั กจ็ ะจบตงั้ แตว่ นั แรก แตว่ นั นไ้ี มจ่ บ มนั ตอ้ งเดนิ ตอ่ ไป”ว ินยั การบริโภค และดชั นีความสขุ คนปลายพระยา “ที่นี่ประชาชนมีรายได้สม่ำเสมอ จากการตัดปาล์มทุก ๒๐ วัน ซ่ึงขึ้นอยู่กับตลาด เพราะฉะน้นั การเพ่ิมรายไดจ้ ึงไม่ใชส่ ูตรสำเรจ็ แต่การมีวนิ ัยจากการใช้เงนิ จึงเปน็ สิง่ จำเป็น ฉะน้นั จึงจำเปน็ตอ้ งให้ความรู้ ความคดิ และภมู คิ ุม้ กันในทุกๆ เรือ่ ง” นายกเทศมนตรตี ำบลปลายพระยากล่าว และเสริมถึงความสำเร็จที่จับต้องได้อันเกิดจากกระบวนการท้ังหมดว่า แม้ไม่ปรากฏเป็นตัวเลข หรือรายได้ชดั เจน แตด่ ้วยการสังเกตจะพบว่า คนปลายพระยามกี ารเปลี่ยนแปลงอยู่ ๒ ระดบั ดงั น้ี

๑. เกดิ วินยั การบริโภค: คนซือ้ หาของนอ้ ยลง เพราะผลติ เองใชเ้ องได้ ๒. ดชั นคี วามสขุ : ตอนรงุ่ เชา้ และตอนเยน็ มคี นเดนิ ออกกำลงั กายเพมิ่ มากขน้ึ ถา้ คนเราไมม่ ี ความสขุ กนิ ไม่อ่มิ นอนอุน่ คงจะไม่มใี จมาออกกำลังกายมากขึน้ ๆ “ส่วนท่ีงอกเงยมาจากการทำงานกับสสค.น้ันต้องกล่าวว่า คนเรียนรู้แล้วได้ทำอาชีพต่อ เพราะสดุ ทา้ ยเราไมไ่ ดห้ วงั จะเพงิ่ ใคร แตต่ อ้ งเพง่ิ ตวั เองกอ่ น กจิ กรรมคอื ไมห่ วงั ใหเ้ กดิ การจา่ ยทางตรง แต่ใช้เป็นการตั้งศูนย์ให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ให้คนมาเรียนรู้ เพราะถ้าเอาเงินท่ีได้มาจ่ายให้ชาวบ้าน22 ไป ใหอ้ ย่างไรก็ไม่พอ” ขยายผลต่อยอด จากเปลี่ยน “เทศบาล” เป็น “ศูนย์การเรียนรู้” และให้คนในชุมชนเลือก “อาชีพ” หรือ “กิจกรรม” ที่เหมาะสมกับบริบทของตัวเองแล้ว ยังมีการต่อยอดลงพื้นท่ีไปให้ความรู้ตามความ สนใจของคนในชมุ ชน เรยี กวา่ “เปน็ การเอาบริบทของชุมชนเฉพาะกลมุ่ เปน็ ทต่ี ั้ง” โดยท่เี ทศบาลจัด ให้ความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการในพ้ืนท่ี ซ่ึงจะสร้างให้ประชาชนมีความรู้สึกมีส่วนได้ส่วนเสีย ร่วมกนั ทำให้เกิดความย่งั ยนื ความรู้ท่นี ้ขี ยายผลตามความรู้ของเทศบาลเอง เปน็ การทำใหม้ ั่นใจใน

23องค์ความรู้ในแต่ละเรื่องที่เทศบาลได้ทดลองทำก่อนเชิงความรู้ก่อนที่จะติดอาวุธให้คนและชุมชนได้เลือกที่จะลงมือทำและขยายผลตามความต้องการและความเหมาะสมตามบริบท เทศบาลตำบลแม่ลาไม่ได้เอา ข้อเสนอในการทำโครงการเป็นทุนตั้งตนของเทศบาล แต่เราเอาปัญญากำลังเป็นตวั ช่วยทางสงั คม ซ่ีงมีความเข้มแขง็ อย่แู ล้ว เปน็ ตัวขับเคลื่อนผา่ นทุกภาคส่วนรว่ มกนั โครงการส่งเสริมการเรียนรู้และเพ่ิมทักษะการประกอบอาชีพปลูกพืชผักและเล้ียงสัตว์เพ่ือ ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้แก่เกษตรกรแนววิถีพอเพียงของเทศบาลตำบลปลายพระยา อำเภอ ปลายพระยา จังหวัดกระบ่ี เป็นหนึ่งในโครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้เพ่ือชุมชนเพ่ือ สัมมาชีพ ภายใต้โครงการยุทธศาสตร์ ในการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ซึ่งสำนักงาน ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้รับมอบหมายตามมติคณะ รัฐมนตรีให้มีการจัดพ้ืนที่นำร่อง ๑๐๐ ตำบลท่ัวประเทศ ให้รู้จักห่วงโซ่อาหารในชุมชนของ ตนเอง เพื่อนำมาสู่การวิเคราะห์บัญชีรายครัวเรือน เพื่อให้เห็นการเคลื่อนตัวของรายรับ รายจ่าย และให้เห็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นร่วมกันของคนในชุมชน โดยมีเทศบาลเป็น จดุ กลายในการใหก้ ารเรยี นรู้ เพื่อเพิ่มทักษะในการประกอบอาชพี ใหค้ นในทอ้ งถ่นิ เลือกใชต้ าม สภาพความเหมาะสมของตนตอ่ ไป



วยถิ า่ีเกงกษ้าตวรขออนิ งทชารวยี หท์ ้วย่ี ยัง่ ดย้วืนน... 25ท่ีมาของ “ห้วยด้วน” จากคำบอกเล่าของชาวห้วยด้วนบอกว่า ในสมัยโบราณมีลำคลองตื้นเป็นท่ีสังเกตได้เป็นแนวทางเริ่มจากที่ใดไม่ปรากฎชัดเจน แต่พอสังเกตเห็นได้จากบ้านตาก้อง ตำบลมาบแค อำเภอเมอื ง จังหวัดนครปฐม เชือ่ มตอ่ มายังเขตอำเภอดอนตูมเขา้ มาสิ้นสุดท่ีชายทุ่ง ชาวบ้านจงึ เรียกกันว่า“หว้ ยดว้ น” และเปน็ ท่มี าของชอื่ “ตำบลห้วยด้วน” เรม่ิ ตน้ จาก..ข้อมลู ชมุ ชน จากการดำเนนิ โครงการความรว่ มมอื โดยใชแ้ ผนชวี ติ ชมุ ชน ปี ๒๕๕๒ ทช่ี าวหว้ ยดว้ นมกี ารเก็บบัญชีครัวเรือน เพ่ือเป็นเคร่ืองมือเพื่อพัฒนากระบวนการเรียน จำนวนทั้งสิ้น ๑๐๐ ครัวเรือนจากข้อมูลครัวเรือนจริง ๓,๕๘๕ ครัวเรือน เก็บได้ ๕๒ ครัวเรือน คิดเป็น ๑.๔๕% และคิดเป็น๕๒% จากเปา้ การเกบ็ ๑๐๐ ครวั เรอื น รู้ เมอื่ มกี ารสงั เคราะหข์ อ้ มลู พบวา่ มรี ายรบั ๘,๑๑๑,๕๒๒บาท รายจา่ ย ๖,๙๑๕,๑๔๗ บาท (๗ หมวดย่อย) ซึ่งรายรับ-รายจ่าย รายคงเหลือ ๑,๑๙๖,๓๗๕บาท และมหี นส้ี นิ จากการสุ่มตวั อย่าง ๕๐ ครวั เรือน จำนวน ๒,๘๕๐,๐๐๐ บาท นำมาหักลบ ยงั มียอดตดิ ลบ -๑,๖๕๓,๖๒๕ บาท จากขอ้ มลู ภาพรวม เห็นวา่ รายจา่ ยอันดับหนึ่ง คือ คา่ ใชจ้ า่ ยการลงทนุ เพือ่ การประกอบอาชพี (ด้านการเกษตร) คิดเป็นจำนวนเงินถงึ ๒,๘๔๓,๐๑๒ บาท ซง่ึ ในพื้นท่ตี ำบลห้วยดว้ น ส่วนใหญ่จะประกอบอาชพี ด้านการเกษตร และเล้ียงสัตว์ เม่อื มีการประชาพิจัยคืนข้อมูลให้กับชุมชน ทำให้เกิดการตระหนักรู้ร่วมกัน และเกิดเป็นแผนชุมชน ในด้านการพัฒนาเกษตร เพ่ือเป็นอาชีพและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรเป็นหลัก และจากข้อมูลจะเห็นได้ว่า มีการใช้ปุ๋ยอนิ ทรีย์ ชวี ภาพ และปยุ๋ เคมี ในอัตรา ๕๐ : ๕๐ โดยเนน้ กระบวนการเกษตรอินทรยี ์ และเกษตรปลอดภยั บ รู ณาการ...ประสานภาคี ในการดำเนินโครงการของชาวห้วยด้วน ซ่ึงมีหัวหน้าแกนนำ คือ ครูบุญเรือง ปาแสนกุลไดเ้ รมิ่ ตน้ โดยการประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานและภาคี ทำใหเ้ กษตรกรไดร้ บั การพฒั นาความรู้และทักษะอย่างต่อเน่ือง และผู้นำกลุ่มเกษตรกร ได้มีการพัฒนาแผนงานการเรียนรู้ในชุมชน และมี

เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เพ่ือให้สอดคล้องกับการดำเนินวิถีชีวิตพ้ืนบ้าน รวมทั้งการดำเนินแผนการ พัฒนาเพื่อต่อยอด โดยการประสานงานร่วมกับหน่วยงาน และท้องถิ่น ในด้านการพัฒนาเกษตร อินทรีย์ ดา้ นปศุสัตว์ ตามแผนบรู ณาการ เกษตรอินทรีย์ โดยไดร้ ับการหนนุ เสรมิ และสนบั สนุนตาม26 แผนงานภาคการเกษตร และการเลีย้ งสตั ว์ ไดแ้ ก่ เป็ด ไก่ ปลา หมหู ลมุ เป็นตน้ กลุ่มเกษตรอินทรีย์จะมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้และพัฒนา โครงการเพ่ือต่อยอดเพื่อการเสริมหนุนพัฒนาอาชีพให้เกิดความม่ันคง สร้างรายได้ให้กับครัวเรือน และชมุ ชน และมีการบรโิ ภคท่ีปลอดภยั ทงั้ ผูผ้ ลติ และผูบ้ ริโภค และได้พัฒนาแผน “โครงการเกษตร พอเพยี ง เพอื่ สร้างอาชีพและเศรษฐกิจชมุ ชน ตำบลห้วยด้วน อำเภอดอนตมู จงั หวัดนครปฐม” โดย มีแผนงานในการทำเกษตร ๑ ไร่แก้จน (เกษตรประณีต) และแผนงานกิจกรรมในการเลี้ยงหมูหลุม การทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ซึ่งวางแผนงานให้ครอบคลุมกับพ้ืนท่ีใช้สอยใน การเกษตรได้อย่างครบวงจร โดยมีกลุ่มสมาชิกร่วมสมทบทุนในการวางแผนงาน และมีการเช่ือม แผนงานบูรณาการงบประมาณรว่ มกับทอ้ งถิ่นหรอื องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล (อบต.) เพ่ือใหเ้ กดิ การ บรรจุแผนการพัฒนาให้เกิดการยกระดับ และการต่อยอดขยายผลในวงกว้างโดยมีการทำพ้ืนที่และ ส มาชิกต้นแบบ

27ป ยุ๋ อนิ ทรยี .์ .รากฐานของเกษตรอินทรยี อ์ ย่างย่ังยนื การดำเนนิ โครงการภายใตช้ ดุ โครงการการพฒั นาศกั ยภาพการเรยี นรชู้ มุ ชนเพอื่ สมั มาชพี นน้ัเป็นการต่อยอดจากทุนเดิม คือ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ได้รับงบประมาณเพื่อจัดทำโรงเรือนทำปุ๋ย และเคร่ืองมือวัสดุอุปกรณ์จากโครงการของรัฐบาล และวัตถุดิบจากอบต. โดยการต่อยอดที่สำคัญคือการอบรมวิธีการจัดทำปุ๋ย และการปรับปรุงสูตรปุ๋ยให้เหมาะสมกับสภาพของดินมากย่ิงข้ึน กลุ่มเกษตรกรภายในตำบลห้วยด้วนนจ้ี ะใชป้ ุ๋ยอินทรียใ์ นการปรับปรงุ และฟ้ืนฟูดนิ เพอ่ื การเพาะปลูก ปุ๋ยอินทรีย์ของห้วยด้วนจะมีสูตรเฉพาะที่ประยุกต์ใช้ส่วนผสมการทำปุ๋ยจากของเหลือท้ิงในพื้นที่ เช่น รกหมู และหอยเชอร์รี่ มาหมักเป็นนำหมักชีวภาพ ประกอบกับขี้เถ้าแกลบจากโรงสีและมูลสัตว์ มาผสมรวมกันตามสูตรที่ได้มีการทดลองก่อนนำไปขยายใช้ในกลุ่ม ผลจากการใช้ปุ๋ยอินทรีย์นที้ ำให้คณุ ภาพชวี ติ ของชาวห้วยดว้ นดีข้ึน ลดการใชป้ ุ๋ยเคมีลงได้กว่าครึง่ ส่วนในขั้นตอนของการทำปุ๋ยน้ัน จะเน้นให้แต่ละหมู่บ้านรวมกลุ่มกันมายังศูนย์เรียนรู้และผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เพ่ือมาช่วยกันผสมปุ๋ยอินทรีย์ดังกล่าว ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับแรงงาน และความต้องการใช้ของแต่ละหมู่ หม่ใู ครทำมากกไ็ ด้ปุย๋ กลบั ไปใช้มาก ซงึ่ ในจำนวนปยุ๋ ทีท่ ำได้นั้นตอ้ งแบ่งปุย๋ ไวเ้ ปน็ ส่วนข องกองกลางเพอ่ื จำหนา่ ย นำเงินมาหมุนเวียนในกลุ่มต่อไป ความสำเร็จของโครงการเกษตรพอเพียงแก้จน เพ่ือสร้างอาชีพและเศรษฐกิจชุมชนของตำบลห้วยด้วนในวันน้ีนั้น นอกจากการรวมกลุ่มของเกษตรกรท่ีหันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์แล้ว ยังมีการต่อยอดเพื่อการเรียนรู้ร่วมกันสม่ำเสมอ และยังสามารถสร้างความย่ังยืนได้อย่างแท้จริงด้วยฐานเดิมท่ีเข้มแข็งจากภายในตัวของชุมชนเอง ดังจะเห็นได้จากการบริหารจัดการเงินอย่างมีประสิทธิภาพของกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ท่ีเริ่มจากการเก็บออมวันละบาทจนดอกผลเพ่ิมพูนเป็นกองทุนขนาดย่อมในหมู่บ้านที่สมาชิกนำมาสร้างอาชีพ ซ้ือวัสดุเคร่ืองมือทำมาหากิน การ ลด ละ เลิก อบายมุขส่ิงฟุ่มเฟือย และการทำลายส่ิงแวดล้อมจากข้อมูลชุมชนที่สมาชิกทำบัญชีครัวเรือนเก็บไว้อย่างสมำ่ เสมอ สง่ ผลใหเ้ กิดระบบของชมุ ชนท่ดี แี ละนา่ จะเปน็ แบบอย่างให้แกช่ ุมชนอนื่ ๆ ได้อีกหลายแหง่ในประเทศ เพราะเช่อื วา่ เกษตรกรรมยงั คงจะตอ้ งเปน็ เสาหลักท่แี ขง็ แรงของชาติไปอกี นาน

28

อกี ชหา่ นงเ่ึงชโอ่ือมกาเหสลก็การชสุมรช้านง.ร.ตายำไบดลข้ นอางผชือาว:นา 29 หลกั สตู รการฝกึ อบรมชา่ งเชอื่ มโลหะ โดยความรว่ มมอื ระหวา่ งวทิ ยาลยั เทคนคิ อำนาจเจรญิและองค์การบริหารส่วนตำบลนาผือ อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากสำนกั งานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นรแู้ ละคณุ ภาพยาวชน (สสค.) ทำใหช้ าวตำบลนาผอืเกิดทักษะความชำนาญในการเป็น “ช่างเช่ือมเหล็ก” เป็นความรู้ใหม่ในการประกอบอาชีพเสริมส ร้างรายไดห้ ลังฤดกู ารทำนา ชาวนาผือกลุ่มนี้ หลายคนมีฐานความรู้อาชีพการเป็นช่างปูน ช่างไม้ อยู่ก่อนแล้ว รับงานก่อสร้างบ้านเรือนในตำบลมาก่อน เม่ือไม้ราคาแพงและหายากมากข้ึน ประชาชนเริ่มหันมาใช้โครงสรา้ งเหลก็ สร้างบ้านมากข้นึ ความรูด้ ้านการเช่ือมเหลก็ จงึ เป็นทักษะอาชีพใหมท่ ่ีจำเป็นการเข้ามาพฒั นาหลักสูตรการเชือ่ มโลหะให้กับชาวบา้ นตำบลนาผอื โดยความรว่ มมือของ ๔ ฝ่าย (วิทยาลยัเทคนิคอำนาจเจริญ, อบต.นาผอื , สสค. และชมุ ชน) สร้างศนู ย์บรกิ ารช่างชุมชนจงึ เปน็ ความสัมพันธ์ที่ลงตวั ห นึ่งตำบลหนงึ่ สถาบันการศึกษา : เป็นจริงทนี่ าผอื วทิ ยาลยั เทคนคิ อำนาจเจรญิ เปน็ สถาบนั อาชวี ศกึ ษา ทม่ี บี ทบาทในการผลติ นกั ศกึ ษาดา้ นชา่ งโดยมีความโดดเด่นในการสร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการ เป็นสถานท่ีฝึกงานนักศึกษาใหม้ คี วามเช่ยี วชาญ โดยเฉพาะด้านช่างเช่ือมโลหะ ที่ตลาดแรงงานมีความตอ้ งการมากข้ึนทัง้ ในและต่างประเทศ สืบเนื่องมาจากสภาวะการขาดแคลนและราคา “ไม้” ที่แพงมากข้ึนทุกวัน และในฐานะท่ีเป็นสถานศึกษาในพื้นท่ี ตั้งอยู่ในเขตพื้นท่ีอำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญด้วยกันกับอบต.นาผอื การสร้างความร่วมมอื ระหวา่ ง อบต.กับวทิ ยาลยั เทคนิคอำนาจเจรญิ ในการจัดหลักสตู รช่างเช่ือมชุมชน จึงเป็นความฝันท่ีเป็นจริงอีกหนึ่งพื้นท่ี ตามกรอบคิดการปฏิรูปการศึกษา“หนง่ึ พ้นื ที่ : หนึ่งสถาบนั การศึกษา”

ศ ูนยบ์ รกิ ารชา่ งเช่อื มชมุ ชน : การจัดการเพอ่ื ความยัง่ ยนื ปัญญา ไชยพันธ์ แกนนำสำคัญในส่วนของชาวบ้านตำบลนาผือ หนึ่งในช่างเช่ือมเหล็ก ชุมชน ให้ข้อมูลว่า “อบต.นาผือ สนับสนุนด้านการฝึกอบรม และการจัดซื้อเคร่ืองมือเช่ือมเหล็กให้ กลุ่มช่างชุมชนใช้ หลังจากการฝึกอบรม กลุ่มช่างมีทักษะงานเช่ือมโลหะมากขึ้น ท้ัง การทำมุ้งลวด เหลก็ ดดั การทำประตบู า้ นรว้ั เหลก็ แบบลอ้ เลอื่ น การกอ่ สรา้ งบา้ นโครงสรา้ งเหลก็ พวกเราเพงิ่ รบั งาน อยา่ งจรงิ จงั หลงั ฤดกู ารทำนาในปที แี่ ลว้ ความตอ้ งการของชมุ ชนทช่ี ดั เจน คอื ตอ้ งการชา่ งเชอ่ื มเหลก็ เพื่อการสร้างบ้านเรือนด้วยโครงสร้างเหล็ก ท่ีมีราคาถูกกว่าบ้านโครงสร้างไม้ ซ่ึงกลุ่มของเรารับงาน30 เหล็กได้มากขึ้น ส่วนงานเหล็กดัด งานมุ้งลวด ยังไม่มากนัก โดยการบริหารจัดการผ่านศูนย์บริการ ช่างเช่ือมชุมชน ท่ีมี อบต.นาผอื สนบั สนนุ ซึง่ ตามแผนงานของศูนยฯ์ สมาชกิ ต้องจัดสรรรายไดจ้ าก การรับจ้าง การรับเหมา ส่วนหน่ึง เข้าไปเป็นรายได้ของศูนย์ฯ เพ่ือใช้เป็นทุนการซ่อมบำรุงรักษา เครื่องมือ และขยายกิจกรรมต่อไป” ผู้ผ่านการฝึกอบรมช่างเช่ือมเหล็ก จะแบ่งการทำงานออกเป็น กลุ่มย่อย กลุม่ ละ ๕ - ๖ คน เพ่ือแยกกันรบั งานชา่ งเหลก็

ความท้าทาย คอื คุณภาพฝีมือและการมสี ว่ นร่วมบรหิ ารศูนยบ์ ริการ 31ชา่ งเชอื่ มชมุ ชน นายสีเมือง สิ่งสิน นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาผือ มีคำส่ังแต่งต้ังคณะทำงานโครงการฝึกอบรมหลักสตู รช่างเหล็ก และใช้ระบบการส่อื สารทง้ั ทางตรงและทางอ้อม เชน่ เว็บไซต์ของ อบต.นาผือ ในการคัดสรรและรับสมัครชาวบ้านเข้าร่วมโครงการฯ เมื่อได้กลุ่มเป้าหมายมีการแต่งต้ังคณะผู้แทนจากชุมชน เข้าร่วมการบริหารจัดการโครงการฯ ด้วย และหลังจากการฝึกอบรมมีการจัดต้ังศูนย์บริการช่างชุมชนเพ่ือเป็นช่องทางในการรับงาน การบริหารจัดการเครื่องมือประกอบอาชีพช่างเหล็ก และการบริหารกองทุนช่างชุมชนในอนาคตซ่ึงสมทบจากการจัดสรรสัดสว่ นรายได้ของกลุ่มช่างเหล็กชมุ ชน งบประมาณส่วนใหญ่ของโครงการฯนี้ใช้เพ่ือการจัดหลักสูตรการฝึกอบรม พร้อมสนับสนุนให้ชา่ งเช่อื มเหลก็ ชมุ ชนรับงานได้ทนั ที จงึ เปน็ โอกาสของชาวตำบลนาผอื ท่ีตอ้ งการสรา้ งรายไดห้ ลังจากเสร็จภารกิจหลักจากอาชีพทำนา โดยการเป็นช่างเช่ือมเหล็ก ท่ีมีตลาดการก่อสร้างขนาดใหญ่รองรับ ความสำเร็จท่ียั่งยืนจึงอยู่ที่การยกระดับ “ผู้ผ่านการอบรม” ให้มีศักยภาพที่จะเป็น“ผู้ประกอบการได้” ในอนาคต ด้วยการอาศัยการมีส่วนร่วมบริหารจัดการศูนย์บริการช่างเช่ือมชมุ ชน ซง่ึ มชี าวอบต.นาผือเปน็ ตัวชวี้ ัดสำคัญ

32

สมั ม“าเทชีพี่ยวกทับ่อกงา.ร.ชพมุ ฒั ชนนาคสลาอยงนรำ้้ออยยสา่ างยย”่ังยนื 33 “คลองน้อย” เป็นตำบลหน่ึงของอำเภอเมือง มีระยะทางจากตัวเมืองสุราษฎร์ธานีเพียง๑๒ กโิ ลเมตร แต่ลกั ษณะชมุ ชนท่ตี ้งั ถน่ิ ฐานทำมาหากินในละแวกคลองเล็กคลองนอ้ ย ตลอดจนทีข่ ุดโดยแรงคน รวมกันท้ังสิน้ นบั ร้อยคลองซง่ึ ไดร้ บั การขนานนามว่า “ชมุ ชนคลองร้อยสาย” ของแม่นำ้ตาปี สายน้ำตำนานของสุราษฎร์ธานี จากคำบอกเล่าของ ประชา นิลเอก นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองน้อย บอกว่าประชาชนชาวคลองนอ้ ยประกอบไปด้วยบรรพชนชาวใตป้ ระจำถ่ินและใกล้เคียงแลว้ อกี จำนวนหนงึ่อพยพมาจากจังหวัดนครปฐม, ราชบุรี, ซ่ึงได้รับการขนานนามว่าคนนอกแต่ก็อยู่ร่วมกัน อยู่อย่างมีปฏิสัมพันธ์และบูรณาการเข้าหากันได้ดี ทำให้วิถีชีวิตสืบมาอย่างต่อเน่ือง ชุมชนมีการตั้งถิ่นฐานก่อร่างสร้างตัวไม่น้อยกว่า ๑๗๐ ปี โดยมีวัดบางแทงแรด เป็นหลักฐานว่า สร้างโดยพ่อท่านชูเมอื่ ๒๓๗๘ ข้างศาลาทา่ น้ำมตี ้นไทรอายุเกินร้อยเปน็ ท่ีเกบ็ อฎั ฐิบรรพบุรุษ เปน็ ที่กราบไหวบ้ ชู าของชาวบ้านสืบเน่ืองกันมาจนถึงปัจจุบัน คนภายนอกชุมชนเรียนคนย่านนี้ว่า “คนในบาง” ซ่ึงชาวชุมชนกย็ อมรบั สรรพนามดงั กลา่ วและบอกตัวตนวา่ “เราเปน็ คนในบาง” มวี ิถีเหมอื นพี่น้องผองชาวสำพรำ (สวนผสมผสาน)เรม่ิ จากวกิ ฤต..พลิกเปน็ โอกาส นายสุมาตร อินทรมณี ประธานกลุ่มชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตำบลคลองน้อย เล่าว่าปัญหาของชุมชนตำบลคลองน้อยซ่ึงมีพ้ืนที่เป็นคลองและสวนของชาวในบางถูกบีบด้วยการขยายของความเป็นเมืองเร่ิมจากการตัดถนน ทำให้บ้านเรือนของชาวบ้านมีการปรับพ้ืนท่ีหันหน้าบ้านออกสู่ถนน และพื้นที่หลังบ้านกลายเป็นสถานที่กองขยะ เมื่อเกิดน้ำท่วมขยะก็จะไหลลงสู่ลำคลองซึ่งส่ิงเหล่าน้ีจะส่งผลกระทบต่อทุกคนในชุมชนอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ และเปล่ียนวิถีของชุมชนชาวคลองนอ้ ยไปจากเดมิ ในเวลาไม่ช้า การทอ่ งเทย่ี วเชงิ อนรุ กั ษโ์ ดยชมุ ชนจงึ เปน็ เสมือน เกาะน้อยๆทชี่ ่วยใหผ้ นู้ ำชมุ ชนจำนวนหนงึ่ ตระหนกั และกลับลำ เพอื่ ท่จี ะชว่ ยใหเ้ กิดการจดั การพฒั นาสายน้ำให้กลับคืนเป็นธรรมชาติดังเดิม คือส่ิงท้าทายของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะชาวในบาง ประกอบกับปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์กำลังได้รับความนิยมจากนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติดังนั้น โครงการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพการท่องเทียวเชิงเกษตรและเรียนรู้วิถีชุมชน ของอบต.คลองน้อย จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญและต้องการสนับสนุนให้การท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์เป็นท่ี

รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นจากทุนทางสังคมท่ีมีมากมายในบางแห่งน้ี นับว่าเป็นจังหวะและ โอกาสอนั ดขี องชาวคลองนอ้ ย นอกจากนี้ประธานกลุ่มชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตำบลคลองน้อย ได้ให้ข้อมูลเพ่ิมเติม ของการดำเนินโครงการว่า “สิ่งที่เราทำในโครงการท่ีเป็นต่อยอดจากสิ่งท่ีทำอยู่แล้ว คือ การอบรม ให้กลุ่มต่างๆ ท่ีเป็นเจ้าของทรัพยากรทางธรรมชาติ ภูมิปัญญา และมีฝีมือ ได้เรียนรู้การจัดการ ท่องเท่ียวเชิงเกษตรและอนุรักษ์ได้อย่างเป็นระบบบนวิถีการพ่ึงพาอาศัยกันเพ่ือให้อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวดำรงอยู่คู่กับวิถีได้อย่างกลมกลืน การอบรมมัคคุเทศน์น้อย ที่เน้นให้เยาวชน นักเรียนใน ชุมชนของเรานั้นฝึกอาชีพ และรักท้องถ่ินโดยเร่ิมจากการเรียนรู้ข้อมูลชุมชนว่าเรามีของดีอยู่ที่ไหน บ้าง วิถีชีวิตของชาวคลองน้อยท่ีจะให้ความรู้กับนักท่องเที่ยวได้ เราเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่อง การเป็นมคั คเุ ทศน์อยา่ งจรงิ จัง และมกี ารฝกึ ปฏิบตั ิจรงิ ” ทง้ั นก้ี ารฝกึ อบรมมัคคุเทศน์น้อยของชุมชน34 จึงเป็นส่วนเสริมของกลุ่มชมรมท่องเที่ยวฯ นอกจากน้ียังเป็นการสร้างงานรายได้ให้กับเยาวชน อีกดว้ ย วิถีคนในบาง...ฐานท่องเทีย่ วชมุ ชน จากวิถีชีวิตธรรมชาติดังกล่าวทำให้ชาวชุมชนคลองน้อย วิเคราะห์ศักยภาพและจุดแข็ง ตนเองในเร่ืองของการทำท่องเท่ียวชุมชนเชิงอนุรักษ์โดยมีการต้ังเป็นกลุ่ม ชมรมท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ตำบลคลองน้อย โดยเน้นให้ผู้มาเยือนเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวคลองน้อย โดยจัดเป็นฐานการ

35เรียนรู้ที่หลากหลายด้วยการล่องเรือของกลุ่มเรือชาวบ้านลัดเลอะผ่านลำคลองท่ีคดเคี้ยวสวยงามข องปา่ จากและบา้ นเรือนทรงปน้ั หยาแบบภาคใตต้ ลอดระยะทางกว่า ๔ กโิ ลเมตร ดังนี้ เรียนรู้อู่ต่อเรือ...วิถีชีวิตคลองทำให้เรือเป็นสิ่งจำเป็น แม้แต่ยุคสมัยน้ี รถยนต์และถนนเข้ามาแทน เรือก็ยังเป็นสิ่งท่ีขาดไม่ได้และคนเพรียกหากันอยู่เสมอ จนทำให้ “ช่างต่อเรือ” สามารถร กั ษา “ยอดฝมี อื ” ท่บี รรพบรุ ุษถา่ ยทอดสืบมาจนวันนี้อยา่ งภาคภูมิใจ ศูนย์ฝึกแรงงานลิง... “มะพร้าว” เป็นพืชถิ่นที่ให้รายได้ประจำวัน ประจำเดือนได้ดีกว่าข้าว ทำให้นาข้าวหมดไปจากชุมชนอาชีพท่ีเก่ียวข้องกับมะพร้าวซ่ึงสร้างฝีมือ แบบแผนท่ีเกี่ยวข้องอีกมาก การฝึกลิงเพื่อให้ช่วยขึ้นมะพร้าวจึงเป็นภูมิปัญญาของท้องถ่ินที่ควรถ่ายทอด,รักษาและพัฒนาให้มีมูลค่า เป็นปฏิสัมพันธ์ท่ีมีความมหัศจรรย์ระหว่าง ผู้ฝึก-ผู้ใช้-และผู้ว่าจ้าง มิใช่การใช้แรงงานสัตว์ โดยขาดเมตตา กรุณา แตเ่ ป็นเสมือนสว่ นหน่งึ ของครอบครัว

วิถีประมงพื้นบ้าน...สายน้ำท่ีข้ึนลงตามจันทรคติ น้ำใหญ่ น้ำเล็ก ทำให้มวลชีวิต สัตว์น้ำ อุดมสมบรู ณ์เพียงพอบริโภคและช่วยฝกึ หดั สะสม ถา่ ยทอด “ทักษะ” พรานน้ำจืด เชน่ เรือผหี ลอก, การตกกุ้ง, จับตะพาบน้ำ, วางเบ็ดราว ได้อย่างชำนาญ ซึ่งโรงเรียนและอุดมศึกษาการประมงทำ ไม่ได้ “จาก” พชื ประจำคลองน้อย... ใบจาก ต้นจาก กอจาก เป็นพชื ถิ่นท่สี ำคัญอกี ชนิดหนึ่งท่ี36 ชาวในบางใช้ประโยชนไ์ ดห้ ลายอยา่ ง หญงิ เรม่ิ ชรา ฝึกหัดและมที ักษะเย็บจากมาตง้ั แต่อายุ ๗ ขวบ วนั นรี้ ายไดจ้ ากการเยบ็ จากไมต่ ำ่ กว่า ๔,๐๐๐ บาท ชว่ ยให้หลานชายมคี ่าขนมไปเรียนไดอ้ ย่างสบาย ขณะท่ีกอจากช่วยป้องกันการเซาะพังของดินริมคลองได้ดีกว่าเข่ือนซีเมนต์ จากจึงเป็นวิถีธรรมชาติ มอบให้ชาวในบาง กรณีศึกษาฐานเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวตำบลคลองน้อยที่เริ่มจากปัญหาส่ิงแวดล้อม ทำให้ ชมุ ชนไดเ้ รยี นรวู้ ่า ถ้าทกุ คนร่วมมอื ร่วมใจและมีจติ สำนกึ รว่ มกนั นัน้ นอกจากจะแกป้ ญั หาของชมุ ชน ได้แล้ว ยังชว่ ยใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างย่ังยืนได้อกี ด้วย..


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook