มคอ.๓ รายวชิ า ๘๐๐ ๑๐๒ พระพทุ ธศาสนากบั ศาสตรแ์ หง่ การตีความ (Buddhism and Hermeneutics) โดย ดร.ธนรฐั สะอาดเอี่ยม อาจารย์บรรยายประจำวิชา หลกั สตู ร พทุ ธศาสตรดุษฎบี ัณฑิต (พธ.ด.) สาขาวิชา พระพทุ ธศาสนา ชั้นปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ บณั ฑิตศกึ ษา วิทยาลัยสงฆส์ รุ นิ ทร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๒ รายละเอยี ดของรายวชิ า (มคอ.๓) รายวชิ า ๘๐๐ ๑๐๒ พระพทุ ธศาสนากับศาสตร์แห่งการตีความ (Buddhism and Hermeneutics) ชอื่ สถาบนั อุดมศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขต/วทิ ยาลัยสงฆส์ ุรินทร์ /สาขาวิชา บัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์สุรินทร์ วิทยาเขตสุรนิ ทร์ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา หมวดท่ี ๑ ขอ้ มลู โดยท่ัวไป ๑.รหัสและช่ือรายวชิ า รหสั : ๘๐๐ ๑๐๒ ภาษาไทย: พระพทุ ธศาสนากับศาสตรแ์ ห่งการตีความ ภาษาองั กฤษ: Buddhism and Hermeneutics ๒.จำนวนหน่วยกติ ๓ หน่วยกติ (๓-๐-๖) ๓.หลักสูตรและประเภทของรายวชิ า หลกั สูตรพุทธศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต (แบบ ๑.๑ และ ๒.๑) / วิชาบังคับ ๔.อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบรายวิชา ดร.ธนรัฐ สะอาดเอย่ี ม และคณะ ๕.ภาคเรียนท่ี / ชัน้ ปีทีเ่ รียน ภาคเรียนท่ี ๑ / ชัน้ ปที ่ี ๑ ๖.รายวชิ าท่ตี ้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถา้ มี) -ไมม่ ี ๗.รายวชิ าทต่ี ้องเรียนพร้อมกนั (Co-requisite) (ถา้ ม)ี -ไม่มี ๘.ทวนสอบผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนรู้ เมอ่ื สน้ิ สุดปีการศึกษา ๙.สถานท่ีเรียน อาคารพระพรหมบณั ฑิต บัณฑิตศกึ ษา วิทยาลัยสงฆ์สุรนิ ทร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลง กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร์ ๑๐.วันท่ีจดั ทำหรือปรบั ปรุงรายละเอยี ดของรายวิชาครง้ั ล่าสดุ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๕
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๓ หมวดท่ี ๒ จดุ มงุ่ หมายและวตั ถุประสงค์ ๑.จุดม่งุ หมายของรายวชิ า นิสิตได้เข้าใจวิธีคิด แนวคิด ทฤษฎีและหลักการตีความแบบะตะวันตก เช่น ทฤษฎีการ ตีความของเซนต์ออกัสติน กระบวนทัศน์ทั้ง ๕ เป็นต้น และการตีความแบบตะวันออก ซึ่งหมายเอา แนวคิดเกี่ยวกับการตีความในพระพุทธศาสนาเถรวาทที่ปรากฏในคัมภีร์สำคัญมีเนตติปกรณ์ เป็นตน โดยเน้นให้นิสติ สามารถนำศาสร์แหง่ การตีความไปอธิบายความและแปลความหนังสือหรือคัมภีร์ต่าง ๆ จนกอ่ ให้เกดิ การขบั เคล่อื นความคิดความเชื่อของคนในสงั คมต่อไป ๒.จุดประสงค์การเรียน นิสิตสามารถอธิบายความหมายของศาสตร์แห่งการตีความได้ ยกตัวอย่างของศาสตร์แห่ง การตีความแบบตะวันตกและตะวันออกได้ วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของศาสตร์แห่งการตีความแบบ ตะวันตกและตะวันออกได้ สังเคราะหท์ ัศนะของศาสตรแ์ ห่งการตคี วามแบบตะวันตกและตะวันออกได้ นำแนวคิดศาสตร์แห่งการตีความแบบตะวันตกและตะวันออกไปปรับใช้กับการตีความ คติความเชื่อ จารีต ประเพณี วัฒนธรรม คติความเชื่อ หนังสือหรือคัมภีร์ต่าง ๆ ในทางพระพุทธศาสนาและศาสนา อ่นื ๆ ได้
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๔ หมวดท่ี ๓ ลักษณะและการดำเนินการ ๑.คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาศาสตร์แห่งการตีความตะวันตกและตะวันออก โดยเน้นประเด็นความขัดแย้งทาง ศาสนาและปรัชญา ที่นำไปสู่การสร้างรูปแบบการตีความแบบต่าง ๆ รวมทั้งบริบทแวดล้อมและทาง วชิ าการทมี่ ีอิทธิพลต่อการตีความคำสอนทางศาสนาใหเ้ หมาะสมกับยุคสมัย โดยเฉพาะหลกั การตีความ ในพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายานที่ปรากฎในคัมภีร์ต่าง ๆ เช่น พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปฎิ ก อรรถกถา ฎีกา เปฏโกปเทส เนตติปกรณ์ วสิ ุทธิมรรค มิลินทปัญหา ปรชั ญาปารมติ า ลังกาวตารสูตร เป็นต้น ๒.จำนวนชว่ั โมงที่ใชต้ อ่ ภาคการศกึ ษา บรรยาย สอนเสรมิ การฝึกปฏบิ ตั งิ าน การศกึ ษาด้วยตนเอง ภาคสนาม/การฝึกงาน บรรยาย ๔๘ ชวั่ โมง อาจมกี ารสอนเสรมิ ก า ร เ ข ี ย น ร า ย ง า น ๖ ชัว่ โมงตอ่ สัปดาห์ ตอ่ ภาคการศึกษา กรณีทมี่ ีเวลาเรียนไม่ ก ำ ห น ด ใ ห ้ น ิ ส ิ ต ท ำ ครบ รายงาน ๑ เรื่อง / รูป- คน ฝึกการวิเคราะห์ ข้อมลู ๓.จำนวนชว่ั โมงต่อสัปดาห์ที่อาจารยใ์ ห้คำปรกึ ษาและแนะนำทางวิชาการแกน่ สิ ติ เป็นรายบุคคล - อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาและแนะนำรายวิชาแก่นิสิตผ่านตารางการ ใหค้ ำปรึกษา หรือผ่านชอ่ งทางออนไลน์ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายการทตี่ ้องการ)
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๕ หมวดที่ ๔ การพฒั นาการเรยี นรขู้ องนักศกึ ษา ๔.๑ การพัฒนาคณุ ลักษณะพเิ ศษของนสิ ติ (จาก มคอ.๒ หลกั สตู รพุทธศาสตรดุษฎีบณั ฑิต หลกั สตู รใหม่ พ.ศ.๒๕๖๔ วิทยาลยั สงฆ์ สรุ นิ ทร์ วิทยาเขตสุรนิ ทร์) ๑.การพัฒนาคณุ ลกั ษณะพเิ ศษของนิสติ คณุ ลักษณะพิเศษ กลยุทธห์ รือกิจกรรมของนสิ ิต ๑. ด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรม มีการฝึกฝนด้านระเบียบวินัยกิริยามารยาทท้ังทางกายและวาจาท่ี ๒. ดา้ นความรู้ลึกในพระพุทธศาสนา เหมาะสม ความซื่อสัตย์ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม โดยผ่าน กระบวนการเรยี นการสอน ๓. ดา้ นการใชภ้ าษาอังกฤษ ส่งเสริมให้มีความรู้ทางด้านพระพุทธศาสนาโดยเน้นคัมภีร์ ๔. ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ พระพุทธศาสนา (พระไตรปิฎก อรรถกถา ปกรณ์วิเสส) และการ ๕. ดา้ นภาวะผู้นำความรบั ผดิ ชอบตอ่ รู้จกั แสวงหาความร้ทู างดา้ นพระพทุ ธศาสนาจากแหลง่ เรียนรู้อื่นๆ สังคมและสืบสานศิลปวฒั นธรรม (อรรถกถาธรรมบท พุทธธรรม ฯลฯ) ๖. ดา้ นศกั ยภาพในการปฏิบัติงาน สง่ เสรมิ ให้นิสิตเขา้ รว่ มกิจกรรมทง้ั ในระดับชาติและนานาชาติเพื่อ สง่ เสริมประสบการณด์ ้านพระพทุ ธศาสนา ส่งเสริมทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษโดยการ รว่ มมือกับสถาบนั ภาษา ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการเรียนรู้และ ปฏบิ ตั งิ าน การใชส้ อื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ สอนให้มีภาวะผู้นำด้านพระพุทธศาสนา สอนให้มีจิตอาสา สำนึก สาธารณะให้บริการวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคมและ ทำนุบำรุงศลิ ปวัฒนธรรมไทย ฝึกให้นิสิตเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความใฝ่รู้ใฝ่คิด โดยมอบหมายงาน ให้ศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัย วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และวิจารณป์ ระเดน็ อัน เป็นสาระสำคัญทั้งที่เป็นแนวคิด หลักการต่าง ๆ ของสำนักต่างๆ จนสามารถผลิตงานวิจยั ที่มีประโยชน์และนำไปประยุกต์ใช้งานให้ เกดิ ประโยชนต์ อ่ สังคม
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๖ ๔.๒ การพฒั นาการเรยี นรใู้ นแต่ละด้าน (จาก มคอ. ๒ หลักสูตรพธุ ศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ หลกั สูตร ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๔) ๔.๒.๑ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ผลการเรียนรูด้ ้านคุณธรรม กลยทุ ธ์การสอนท่ีใช้ กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ น จรยิ ธรรม พฒั นาการเรยี นร้ดู ้าน คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม ๓ . ๑ . ๕ เ ค า ร พ ส ิ ท ธ ิ แ ล ะ ๑) จัดการเรียนรู้โดยผู้เรียน ๑) ประเมินด้วยการสอบวัดผล และ/หรือ เสรีภาพ รับฟังความคิดเห็น เป็นศูนย์กลาง และมุ่งเน้นให้ รายงาน ของผู้อื่น รวมถึงเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความ นิสิตมีความรู้ความเข้าใจใน ๒) ประเมินด้วยการนำเสนอรายงาน ใน เปน็ มนุษย์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา รายวิชา และ/หรือกจิ กรรมและประเมินผล โดยใช้วิธีการเรียนการสอนท่ี ๓.๑.๖ การยอมรับประเด็น ทางศีลธรรมและจริยธรรมอัน เน้นหลักการทางทฤษฎี และ ๓) ประเมินด้วยการนำเสนอรายงาน สาร เนื่องมาจากความหลากหลาย การประยุกต์ทางปฏิบัติใน นิพนธ์ และหรือวทิ ยานิพนธ์ ทางวัฒนธรรมและการอยู่ สภาพแวดล้อมจริง กระตุ้นให้ ๔) ประเมินด้วยผลงานวจิ ยั ทางวิชาการและ เกิดการคิด วิเคราะห์ และ การพัฒนาเผยแพรส่ สู่ งั คมในส่อื ต่างๆ ร่วมกันอยา่ งสันติ ตดั สนิ ใจดว้ ยตนเอง ๒ ) จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น รู้ วชิ าการศาสตร์สมัยใหม่ควบคู่ กับวิชาการพระพทุ ธศาสนา ๓) จัดให้มีการศึกษาค้นคว้า วิจัยด้วยตนเอง ในการพัฒนา นวัตกรรมและองคค์ วามรใู้ หม่ ๔) ส่งเสริมให้มีการวิจัยและ ค้นคว้าองค์ความรู้ใน
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๗ พ ร ะ ไ ต ร ป ิ ฎ ก แ ล ะ น ำ อ ง ค์ ความรู้ที่ค้นพบมาประยุกต์ใช้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๔.๒.๒ ความรู้ ผลการเรียนรดู้ า้ นความรู้ กลยุทธก์ ารสอนทใ่ี ช้พัฒนาการเรียนรู้ กลยทุ ธ์การประเมินผล ด้านความรู้ การเรียนรู้ดา้ นความรู้ ๓.๒.๔ มโี ลกทรรศน์กวา้ งไกล (๑) การจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นสำคัญ (๑) การทดสอบย่อย และร้เู ท่าทันความเปล่ยี นแปลง ของกระแสโลกและสังคม และม่งุ เนน้ ใหน้ ิสิตมีความรู้ความเขา้ ใจศาสตร์ (๒) การสอบกลางภาค ในเชิงลึก ผสมผสานให้นำไปสู่วิธีการ และปลายภาค ดำเนินการที่เปน็ การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื (๓) การวัดผลสำเร็จของ โดยใช้วิธกี ารเรียนการสอนท่ีเน้นหลักการทาง การปฏิบัตงิ านเป็นทมี ทฤษฎี และปฏิบัติการวิจัยในสภาพแวดล้อม จริง เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้เกิด (๔) การนำเสนอผลงาน การคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจด้วยตนเอง (๕) การนำความรู้ไป เช่นให้มีการนำเสนองาน การร่วมแสดงความ ประยุกต์ใช้ให้สัมพันธ์กับ คดิ เหน็ การตอบคำถาม เพอ่ื สนับสนุนให้นิสิต ศาสตรส์ มยั ใหม่ คิดเปน็ และมีนิสยั ใฝ่รู้ (๖) การสอบประมวล (๒) การจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีอิสระใน ความรู้ การแสวงหาความรู้โดยไม่ยึดติดกับการรับ (๗) การสอบวัดคณุ สมบตั ิ ขอ้ มูลจากผ้สู อนเพียงฝ่ายเดียว ในรายวิชาที่หลักสูตร (๓) การจดั การเรียนรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม กำหนด และสอบความรู้ (๔) การจัดการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง มี ภาษาทีห่ ลักสตู รกำหนด การเรียนรู้ทั้งในชน้ั เรียนและการศกึ ษาดงู าน (๘) การสอบวิทยานพิ นธ์
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๘ (๕) การทำวิจัยทั้งในรายวิชาที่เกี่ยวข้องและ วทิ ยานพิ นธ์ (๖) การเรียนรู้ที่เน้นการนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในงานวิจัยและงานการสอนที่เป็น ประโยชน์ต่อชุมชน ท้องถิ่น และในระดับที่ สูงข้ึน ๔.๒.๓ ทักษะทางปญั ญา ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะ กลยทุ ธ์การสอนทใี่ ช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ดา้ น ทางปัญญา เรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ทกั ษะทางปัญญา ๓.๓.๔ สามารถประยกุ ต์ใช้ (๑) เนน้ การฝกึ ทกั ษะดา้ นการคิด (๑) วัดผลจากการแสดงออกทางการ หลักพทุ ธธรรมในการ และการสรา้ งสรรค์งานวชิ าการ กระบวนการคิดและการแก้ไขปญั หา แก้ปัญหาทีเ่ กิดขึ้นในสังคม สมัยใหม่ (๒) เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง (๒) วัดผลจากการปฏิบัติงานที่ได้รับ และการปฏิบัติงานวิจัยอย่าง มอบหมาย จริงจงั (๓) วัดผลจากการนำเสนอผลงาน (๓) เน้นการเรียนรู้ที่สามารถ (๔) วัดผลจากการอธิบาย การถามและตอบ ประยุกต์ใช้กับการวิจยั ค้นคว้าใน คำถาม สถานการณ์จริง โดยใช้ปัญหา เป็นตวั กระตนุ้ ให้เกดิ การเรยี นรู้ (๕) วดั ผลจากการโต้ตอบสอื่ สารกับผูอ้ ่ืน (๔) เนน้ การอภิปรายกลุ่ม (๖) วดั ผลจากการอภปิ รายกลุ่ม
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๙ ๔.๒.๔ ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ ผลการเรยี นร้ดู ้านทักษะ กลยทุ ธก์ ารสอนท่ใี ช้ กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรูด้ า้ น ความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คล พัฒนาการเรียนรู้ดา้ นทักษะ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและ ความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคล และความรบั ผิดชอบ ความรับผิดชอบ และความรับผดิ ชอบ ๓.๔.๒ มีความรับผิดชอบใน (๑) การจัดกิจกรรมในรายวิชา ๔ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การพัฒนาความรู้ของตนเอง ทเ่ี นน้ การเรยี นการสอนท่ีมีการ และความรบั ผิดชอบ องค์กร และสงั คม ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน (๑) สงั เกตจากพฤติกรรมและการแสดงออก ๓.๔.๔ มีภาวะความเป็นผู้นำท่ี และผสู้ อน ของนิสิตในหลายๆ ด้าน ระหว่างกิจกรรม โดดเด่นในองค์กร บริหารการ (๒) จัดให้มีกิจกรรมฝึกฝน การเรียนการสอน เช่น พฤติกรรมความ ทำงานเป็นทีม และภาวะการ ภาวะความเป็นผู้นำ ผู้ตาม สนใจ ตั้งใจเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง เป็นผู้ตามในทีมได้อย่าง การแสดงออกถึงภาวะความ เหมาะสมตามโอกาสและ เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี การมี (๒) สังเกตจากพฤติกรรมการแสดงบทบาท สถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูน มนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงาน ภาวะผู้นำและผู้ตามที่ดี ความสามารถใน ประสิทธิภาพในการทำงาน และการรับฟังความคิดเห็น การทำงานรว่ มกบั ผ้อู ืน่ ของกลุม่ และสามารถแก้ไขข้อ ผู้อื่นในการปฏิบัติงานเป็นทีม (๓) สงั เกตจากพฤตกิ รรมความรับผดิ ชอบใน ขดั แยง้ ตามลำดบั ความสำคัญ และการทำงานวิจัย การเรียนและงานที่ได้รับมอบหมาย การ (๓) จัดให้มีกิจกรรมฝึกฝนการ นำเสนอผลงาน การทำงานวิจัย และการ ทำกจิ กรรมเพ่ือสังคม ร่วมทำกิจกรรมเพ่อื สังคม (๔) จัดให้มีกิจกรรมฝึกฝนการ วางตวั ท่เี หมาะสมต่อกาลเทศะ (๕) จัดให้มีกิจกรรมฝึกฝนการ ประสานงานกับผู้อื่นทั้งภายใน และภายนอกสถาบนั การศกึ ษา ๔.๒.๕ ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๐ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการ ก ล ย ุ ท ธ ์ ก า ร ส อ น ท ี ่ ใ ช้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้าน วิเคราะห์เชิงตัวเลข การ พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ สอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ ๓.๕.๒ สามารถสื่อสารโดยใช้ (๑) จัดการเรียนรายวิชา (๑) การทดสอบความรู้และเทคนิคการ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ สัมมนาให้นิสิตได้ฝึกทักษะท้ัง วเิ คราะห์และวิจารณ์ทฤษฎีหรือแนวคิดใหม่ อย่างมีประสิทธิภาพ และ ด้านการวิเคราะห์ การวิจารณ์ ๆ สื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆ ทั้ง ก า ร ส ื ่ อส า ร แ ล ะก า ร ใ ช้ (๒) การทำงานวิจัย ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึง ในวงการวิชาการและวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ ขั้นตอนการเขียนรายงาน และการนำเสนอ รวมถึงชุมชนทั่วไปได้อย่าง ค้นคว้าและนำเสนองานท้ัง ผลงาน เหมาะสม เป็นภาษาไทยและ ๓.๕.๓ สามารถใช้เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ สารสนเทศในการนำเสนอ (๒) จัดกิจกรรมการเรียนการ รายงานการวจิ ยั วทิ ยานิพนธ์ สอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ หรอื โครงการคน้ คว้าท่ีสำคัญ ฝึกฝนทักษะการสื่อสาร และ ท้งั ในรูปแบบทีเ่ ปน็ ทางการ การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยี และไม่เปน็ ทางการ รวมถงึ การ ทัง้ ด้วยตนเองและร่วมกับผู้อื่น ตีพิมพผ์ ่านสอื่ ทางวชิ าการได้ การอภิปราย อย่างเหมาะสม (๓) จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนที่เน้นการวิเคราะห์ปัญหา ทางปรัชญาและการทำงาน วจิ ัย (๔) จัดกิจกรรมเพื่อให้เกิด ทักษะในการบริหารจัดการ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและ วิจัย
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๑ หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๕.๑ แผนการสอน สัปดาหท์ ่ี หวั ข้อ / รายละเอยี ด จำนวน กจิ กรรมการเรียน ผ้สู อน / สัปดาหท์ ี่ ๑ แนะนำรายวิชา ชั่วโมง การสอน/ สอ่ื ทใี่ ช้ วิทยากรพเิ ศษ การวัดผลและประเมนิ ผล ดร.ธนรัฐ สปั ดาหท์ ่ี ๒ ๓ - แบบบรรยาย/ สะอาดเอี่ยม วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนากับการ สปั ดาห์ท่ี ๓ ตีความ แลกเปลยี่ น ดร.ธนรฐั - PowerPoint สะอาดเอย่ี ม สปั ดาหท์ ่ี ๔ อรรถปริวรรตศาสตร์: ศาสตร์ว่าด้วยการ - E-book ตคี วาม (ประวัตแิ ละพฒั นาการ) - ขอ้ มลู Online ดร.ธนรัฐ สะอาดเอย่ี ม รูปแบบการตีความแบบตะวันออกและ ๓ - แบบบรรยาย/ ตะวันตก ดร.ธนรฐั แลกเปลย่ี น สะอาดเอย่ี ม - PowerPoint - E-book - ข้อมูล Online ๓ - แบบบรรยาย/ แลกเปลย่ี น - PowerPoint - E-book - ขอ้ มูล Online ๓ - แบบบรรยาย/ แลกเปลย่ี น - PowerPoint - E-book - ขอ้ มลู Online สัปดาหท์ ี่ ๕ การตีความเชิงศาสนากับการศึกษา ๓ - แบบบรรยาย/ พระมหามฆวินทร์ พระพทุ ธศาสนา แลกเปลยี่ น ปุรสิ ตุ ตฺ โม, ผศ.ดร. - PowerPoint - E-book - ขอ้ มูล Online
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๒ สปั ดาหท์ ี่ ๖ ภ า ษ า ศ า ส น า ก ั บ ก า ร ต ี ค ว า ม ท า ง ๓ - แบบบรรยาย/ พระมหาขวญั ชัย พระพทุ ธศาสนา แลกเปลยี่ น กติ ฺติเมธี, ผศ.ดร. - PowerPoint - E-book - ขอ้ มลู Online สัปดาห์ที่ ๗ การตีความเชิงปรัชญากับการศึกษา ๓ - แบบบรรยาย/ พระมหาพรชัย พระพุทธศาสนา แลกเปลย่ี น สริ ิวโร, ผศ.ดร. - PowerPoint - E-book - ขอ้ มลู Online สปั ดาหท์ ่ี ๘ สอบกลางภาค ๓ สอบกลางภาค ดร.ธนรฐั สะอาดเอีย่ ม สัปดาหท์ ี่ ๙ อรรถปริวรรตศาสตร์ (การตีความ) ใน ๓ - แบบบรรยาย/ พระมหาสมบรู ณ์ พระพุทธศาสนาเถรวาท แลกเปลยี่ น วุฑฒฺ ิกโร, รศ.ดร. - PowerPoint - E-book - ขอ้ มลู Online สปั ดาหท์ ่ี ๑๐ คัมภีร์สำหรับการตีความในพระพุทธศาสนา ๓ - แบบบรรยาย/ ดร.ธนรัฐ เถรวาท แลกเปลยี่ น สะอาดเอี่ยม - PowerPoint - E-book - ข้อมลู Online สปั ดาหท์ ี่ ๑๑ การตคี วามในพระพทุ ธศาสนามหายาน ๓ - แบบบรรยาย/ พระครศู รปี ัญญาวิกรม, แลกเปลยี่ น ผศ.ดร. - PowerPoint - E-book - ข้อมลู Online สัปดาหท์ ี่ ๑๒ คมั ภีรส์ ำหรบั การตคี วามในพระพทุ ธศาสนา ๓ - แบบบรรยาย/ ดร.ธนรัฐ มหายาน แลกเปลยี่ น สะอาดเอ่ียม - PowerPoint - E-book - ข้อมูล Online
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๓ สัปดาหท์ ี่ ๑๓ เปรียบเทียบการตีความตามแนวตะวันตก ๓ - แ บ บ บ ร ร ย า ย / ดร.ธนรฐั และตะวันออกกับการตีความทาง แลกเปลยี่ น สะอาดเอยี่ ม พระพุทธศาสนา - PowerPoint - E-book - ข้อมูล Online สปั ดาหท์ ี่ ๑๔ กรณีศึกษาว่า ด้วยการตีความ ๓ - แ บ บ บ ร ร ย า ย / ดร.ธนรฐั แลกเปล่ยี น สะอาดเอยี่ ม - PowerPoint - E-book - ขอ้ มลู Online สัปดาห์ที่ ๑๕ นิสิตนำเสนองานทีม่ อบหมาย ๓ - แ บ บ บ ร ร ย า ย / นิสิตในรายวิชา แลกเปล่ียน - PowerPoint - E-book - ข้อมลู Online สปั ดาหท์ ่ี ๑๖ สอบปลายภาค ๓ สอบปลายภาค ดร.ธนรฐั สะอาดเอ่ียม ๕.๒ การวัดผล และประเมินผล สปั ดาหท์ ปี่ ระเมิน สดั สว่ นของการประเมิน ๘ ๒๐ % ท่ี วิธกี ารประเมนิ ๑๖ ๔๐ % ๑ การสอบกลางภาค ๒๐ % ตลอดภาคการศกึ ษา การสอบปลายภาค ๒ การทำงานกลมุ่ ตลอดภาคการศกึ ษา ๒๐ % ผลการศกึ ษา การนำเสนอ ๓ การเขา้ ชั้นเรียน การมสี ว่ นรว่ ม การอภิปราย การเสนอความคิดเหน็ ในชน้ั เรยี น รวม ๑๐๐ %
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๔ ๕.๓ คะแนนการประเมนิ ระดับคะแนน ระดับคะแนน ระดบั คะแนน ร้อยละ ๙๕ - ๑๐๐ ผลคะแนน ระดับคะแนน รอ้ ยละ ๙๐ - ๙๔ A (ดีเยย่ี ม) ระดบั คะแนน รอ้ ยละ ๘๕ - ๘๙ A - (ดีมาก) ระดบั คะแนน รอ้ ยละ ๘๐ - ๘๔ B+ (ด)ี ร้อยละ ต่ำกวา่ ๘๐ B (คอ่ นกลางด)ี F (ตก) หมวดที่ ๖ ทรพั ยากรประกอบการเรยี นการสอน ๑.หนังสือ ๑.๑ หนังสอื อ่านประกอบรายวชิ า กัจจายะ มหาเถระ. เนตติปกรณ์. กรุงเทพมหานคร : มลู นิธิภมู พิ โลภกิ ขุ, ๒๕๒๓. กรี ติ บญุ เจอื . อรรถปริวรรตศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยจอหน์ , ๒๕๔๐. __________ . กระบวนทศั น์การตีความ. เอกสารอดั สำเนา, ๒๕๔๗. __________ . บนั ทกึ ปรัชญาของข้าพเจ้า เล่ม ๑,๒,๓. (เอกสารประกอบการสอน) กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั อัสสมั ชญั , ๒๕๓๙. __________ . ปรัชญาอรรถปริวรรตของมนุษยชาติ (ช่วงพหุนิยม). ชุดปรชั ญาและศาสนาเซนต์จอหน์ เลม่ ๖, พิมพ์ครง้ั ที่ ๑, กรงุ เทพมหานคร: บริษัทฐานบัณฑติ จำกดั , ๒๕๔๖. โดนัลด์ เอส. โลเปส. อรรถปริวรรตศาสตร์เชงิ พทุ ธ. แปลโดย พระมหาสมบูรณ์ วฑุ ฺฒิกโร, เอกสารอัด สำเนา, ๒๕๔๗. พทุ ธทาสภิกข.ุ ลักษณะ ๘๐ ประการของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : อตมั มโย, ๒๕๓๒. พระมหาปฐมพงศ์ งามล้วน. ศลิ ปะในการแปลภาษาบาลี. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราช วทิ ยาลยั , ๒๕๓๒. พระคนั ธสาราภวิ งศ์ ธรรมาจริยะ. สงั วณั ณนานยิ าม (หลักการแปล-การแตง่ อรรถกถา-ฎีกา). ลำปาง : ว้ดท่ามะโอ, ๒๕๓๘. พระพทุ ธโฆสาจารย์. วสิ ทุ ธิมัคค์ปกรณ์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย, ๒๕๐๙.
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๕ พระสังฆรักขิตมหาสาม.ี คัมภีรส์ โุ พธาลงั การ. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช วทิ ยาลยั , ๒๕๐๔. พระพมิ ลธรรม ฐานทตฺตมหาเถระ. แนวการแปลพระไตรปิฎก. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๐๗. พระเทพเวที (ป.อ. ปยุตฺโต). วิธคี ิดตามหลักพุทธธรรม. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพ์ปญั ญา, ๒๕๓๗. แสง จนั ทรง์ าม. วธิ สี อนของพระพทุ ธเจา้ . กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐. เสนาะ ผดุงฉตั ร. ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกับวรรณคดีบาลี. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๐. โสวิทย์ บำรงุ ภกั ดิ.์ การตคี วามพระคัมภีรอ์ ภิธัมมาวตาร. นิตยสารธรรมทศั น์, ฉบบั ที่ ๒ ปีพศ.๒๕๔๙. วิศิน อินทสระ. อธิบายมิลินทปัญหา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๕. วีรชาติ น่ิมอนงค์. การวจิ ัยทางปรชั ญาและศาสนา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั อสั สมั ชญั , ๒๕๔๕. สมภาร พรมทา. พทุ ธปรชั ญาในอภธิ รรมปฎิ ก. ภาควชิ าปรัชญา คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๗. สมภาร พรมทา. คดิ อยา่ งไรใหม้ ีเหตุผล. กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พศ์ ยาม, ๒๕๕๑. สุภรี ์ ทุมทอง. เนตตปิ กรณ.์ เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเนตติปกรณ์, หลักสูตรพทุ ธศาสตรดษุ ฎี บณั ฑิต สาขาบาลีพุทธศาสตร์, นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยา เขตบาฬีศกึ ษาพุทธโฆส, ๒๕๖๓. อดิศักดิ์ ทองบญุ . อภปิ รชั ญาวเิ คราะหใ์ นพระพทุ ธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: ไทยรายวันการพมิ พ.์ ๑.๒ งานวิจัย วิทยานพิ นธ์ พระมหาสมบรู ณ์ วุฑฒฺ กิ โร. “จิตตมาตรของโยคาจาร การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์บนฐานของแนวคิดเร่ืองจิต ในพระพุทธศาสนายคุ ต้น”. วิทยานพิ นธ์พุทธศาสตรดุษฎบี ัณฑิต, บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๑. วีรชาติ น่ิมอนงค์. การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะห์อรรถปริวรรตศาสตรใ์ นคัมภรี ์พระพทุ ธศาสนาเถรวาท. สถาบนั วิจยั พุทธศาสตร์, มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๒. โสรัจจ์ หงศล์ ดารมภ์. “ขอบฟ้าแหง่ ปรชั ญา ความรู้ ปรัชญา และสงั คมไทย”. รายงานการวจิ ยั , ทุนอดุ หนุนจากงบประมาณแผ่นดิน.
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๖ ๑.๓ บทความวิจยั บทความวชิ าการ โสวทิ ย์ บำรุงภกั ด.ิ์ “การตีความพระคัมภรี อ์ ภิธัมมาวตาร.” นติ ยสารธรรมทศั น,์ ฉบับท่ี ๒, ๒๕๕๔๙. พระมหาโสภณ จิตฺตธมโฺ ม และคณะ. “การศกึ ษาวิเคราะห์การตคี วามพระอภธิ รรมของพระเถระใน พระพุทธศาสนา”. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม- มถิ นุ ายน) ๒๕๕๘: ๔๕-๕๘. โสวทิ ย์ บำรุงภักด.์ิ “วิธีคดิ หลักการพทุ ธศาสนาสูท่ ศั นะพุทธปรัชญา”. วารสารมนษุ ยศาสตร์และ สงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . ปีที่ ๒๙ ฉบบั ท่ี ๒ (กันยายน-ธนั วาคม ๒๐๑๒): ๑-๑๔. ๑.๔ วีดโี อบรรยาย (ยูทูป ออนไลน์) (กำลงั พัฒนา) ๑.๕ เว็บไซด์ www.mcu.ac.th ๒.ขอ้ มลู สำคญั พระพุทธทัตตเถระ รจนา. อภิธมั มาวตาร คัมภีร์อภธิ บายพระอภิธรรม. แปลและอธิบาย โดย พระคนั ธ สาราภิวงศ์. กรุงเทพมหานคร: หจก.ไทยรายวันการพมิ พ์, ๒๕๔๙. มลู นิธภิ มู ิพโลภกิ ขุ. อภธิ มั มาวตาร (บาลี-ไทย). พิมพค์ รั้งท่ี ๒, กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์มูลนธิ ภิ ูมิพโล ภกิ ขุ ๒๕๕๒.
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๗ หมวดที่ ๗ การประเมินและปรบั ปรุงการดำเนินการของรายวิชา ๑.กลยุทธก์ ารประเมินประสทิ ธิผลของรายวชิ าโดยนิสิต การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนิสิต ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ ความเหน็ จากนิสิตไดด้ งั น้ี ๑.การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผูเ้ รียน ๒.การสังเกตการณ์จากพฤตกิ รรมของผ้เู รยี น ๓.ขอ้ เสนอแนะจากช่องการออนไลน์ ท่ีอาจารย์ผู้สอนไดจ้ ดั ทำเพ่ือเปน็ ชอ่ งทางสื่อสารกบั นสิ ติ ๒.กลยทุ ธก์ ารประเมนิ การสอน ในการเกบ็ ข้อมูลเพื่อประเมนิ การสอน อาจารย์ผสู้ อนได้มีกลยุทธ์ิ ดังน้ี ๑.การสังเกตการณ์มสี ่วนรว่ มในเวลาทำการบรรยาย ๒.การแสดงความคิดเห็นอยา่ งมเี หตุผล ๓.ประเมินผลการบรรยายของนิสติ โดยวทิ ยาสงฆ์สุรินทร์ ๓.การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการ ระดมสมองและหาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ ในการปรบั ปรงุ การสอน ดังน้ี ๑. มีการพูดคุยระหว่างอาจารย์กบั ผู้บรหิ ารหลกั สตู รเก่ียวกับการเรียนการสอน ๒. เมื่อพบข้อบกพร่องควรมกี ารสัมมนาวิชาการเก่ยี วกับการเรยี นการสอน ๓. มีการทำวิจัยในและนอกชั้นเรียน เพื่อหาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มี ประสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน ๔.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนิสติ ในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวัง จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนิสิต รวมถึงพิจารณาจาก ผลการทดสอบยอ่ ย และหลังการออกผลการเรียนรายวชิ า มกี ารทวนสอบผลสมั ฤทธ์โิ ดยรวมในรายวิชา ดังนี้
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า กั บ ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ตี ค ว า ม | ๑๘ ๑.การทวนสอบการให้คะแนนจากกลุ่มการตรวจผลงานของนิสิต โดยอาจารย์อื่นหรือ ผ้ทู รงคณุ วุฒิ ทีไ่ มใ่ ชอ่ าจารยป์ ระจำหลกั สตู ร ๒.มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดย ตรวจสอบขอ้ สอบ รายงาน วิธกี ารใหค้ ะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤตกิ รรม ๕.การดำเนินการทบทวนและการวางแผนการปรบั ปรุงประสทิ ธิผลของรายวชิ า จากผลการประเมินและทวนวอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการ ปรับปรุงการสอนและรายละเอยี ดวิชา เพอื่ ใหเ้ กดิ คุณภาพมากขน้ึ ดังนี้ ๑.ปรับปรุงรายวิชาทุก ๕ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนวอบมาตรฐาน ผลสมั ฤทธติ์ ามข้อ ๔ ๒.ปรับหรือสลบั อาจารย์ผสู้ อน เพือ่ ใหน้ สิ ิตมมี มุ มองในเรื่องการประยกุ ต์ความรู้น้ีกับปัญหา ทีม่ าจากงานวจิ ัยของอาจารย์หรือแนวคดิ ใหม่ ๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: