4 ขน้ั วพิ ากษว์ จิ
4. จารณ์หนงั สอื
จบการน สไลน/์ เอก โหลดไดท้ ี่ Goo
นาเสนอ กสารดาว ogleClassroom
แบบฝึ กหดั การ 1. เลือกหนงั สือที่เก่ียวกบั พ 2. อ่านทาค 3. นาเสนอตามฟอร์มเน้ือ 4. นกั ศึกษา 1 5. ทุกคนช่วยกนั แสดงค
รปฏทิ ศั นห์ นงั สอื พทุ ธศาสนา (50-200 หนา้ ) ความเขา้ ใจ อหาการปฏิทศั นห์ นงั สือ คน ต่อ 1 เล่ม ความเห็นเพอ่ื การพฒั นา
ภาพประกอบการสมั มนาเตรยี มความพรอ้ มก่อนเขา้ ศึกษา ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ เรือ่ ง การวจิ ารณห์ นงั สือ โดย รศ.ดร.อำนาจ ยอดทอง มหาวิทยาลัยมหิดล
วจิ ารณห์ นงั สือ “Book Review” จากการบรรยายพิเศษโดย ผศ.ดร.อานาจ ยอดทอง มหาวิทยาลัยมหิดล พระอธกิ ารอาพน จารโุ ภ (ดาราศาสตร)์ Phraathikan Ampon Jarupho (Darasas) มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตสุรินทร์ Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Surin Campus หลกั สตู รพทุ ธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, รุ่นที่ ๒/๒๕๖๕ Doctor of Philosophy Program in Buddhist Studies, Generation 2/2022 “การปฏิทัศน์หนังสือ” เป็นกระบวนหน่ึงที่มีวิธีการคล้ายคลึงกันกับการวิจารณ์หนังสือท่ัวไป ท่ีมีผู้คนยอมรับกันในระดับหน่ึง ท่ีมีความเป็นวิชาการที่เรียกว่า ระดับชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ที่สามารถ นาพัฒนาชุมชนให้มีความเจริญ มีหลักแนวคิดในการดาเนินชีวิตได้ดี หรือตามที่เข้าใจก็คือคนมีความรู้ ความสามารถพอสมควร มีการศึกษา คิดวิเคราะห์ได้ แก้ไขปัญหาได้ในระดับครอบครัว ชุมชน ได้ดีพอควร ในการวิจารณ์ระดับนี้ เป็นการรายงานต่อผู้อ่านว่าหนังสือเล่มน้ีมีเน้ือหาอย่างไร ผู้อ่านแล้วได้รับประโยชน์ อะไรจากเร่อื งน้ี ผู้ท่ีทาการปฏิทัศนม์ คี วามเห็นอยา่ งไร เห็นด้วยหรอื ไม่ ด้วยเหตผุ ลอะไร เป็นตน้ การปฏิทัศน์หนงั สอื โดยท่ัวไปแลว้ จะมคี วามมุ่งหมายไปในด้านที่จะแนะนาหนงั สอื ใหเ้ ปน็ ทร่ี ูจ้ ัก และเป็นท่สี นใจของผูท้ ่พี อไดอ้ า่ นหนังสอื ฉบับนนั้ ๆ บา้ ง โดยทีใ่ หผ้ ู้อ่านไดเ้ ข้าใจในประเดน็ หลกั ของเรอ่ื งหรือ หนังสอื เล่มน้ัน ว่าไดแ้ สดงถึงอะไร ชี้ให้เห็นเน้ือเรื่องหลัก ๆ ไม่ต้องอธิบายมากจนทาให้การอ่านนน้ั เป็นเรื่อง ท่ีน่าเบ่ือและเกิดความสับสนในการอ่าน การปฏิทัศน์หนังสือจึงมุ่งเน้นไปท่ีการแนะนาเป็นส่วนใหญ่ เพราะ ง่ายต่อการเข้าถึงหนังสือว่าควรที่จะเลือกอ่านเล่มไหนมากกว่า ฉะนั้น โดยทั่วไปแล้วผู้ท่ีอ่านรีวิวหนังสือ มักจะอ่านเพียงไม่ก่ีอย่าง เช่น อ่านเพ่ือจะได้ไม่ต้องอ่านหนังสือน้ัน อ่านเพื่อให้รู้ว่าหนังสือนั้นมีประโยชน์ อย่างไร อ่านเพ่ือให้ทราบว่ามีคนคิดเห็นในหนังสือนั้นอย่างไร และอ่านด้วยความสนใจในตัวบุคคลท่ีเขียน ความหมายของการปฏิทัศน์น้ัน คือ การดู การมอง การสารวจ การวนกลับอีกคร้ัง หมายถึงการสารวจดู หนงั สืออีกคร้ังให้เข้าใจ ใหช้ ัดเจน ว่าหนังสอื เล่มนั้นมีลกั ษณะเช่นไร เป็นการมองดูแบบกว้าง ๆ โดยรอบให้ดู แล้วเห็นภาพทง้ั หมดท่เี กีย่ วกับหนังสอื ในคาว่าปฏิทัศน์หนังสือ Book Review ราชบัณฑิตยสถาน ได้บัญญัติและให้ความหมายว่า คือ เป็นการเขียนเล่าเร่ือง และแสดงความคิดเห็นโดยสังเขปเกี่ยวกับหนังสือเล่มใดเล่มหน่ึง โดยที่มีเจตนาที่จะ แนะนาหนังสือเลม่ น้ันให้เป็นท่ีรู้จักของผู้อ่าน การปฏิทัศน์ต้องคานึงถึงผลที่จะได้ต่อการแสดงขอ้ คิดเห็นต่อ หนังสือเล่มนั้น ว่ามีคุณค่าทางปัญญาของผู้ท่ีอา่ นได้มากน้อยเพียงใด และไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อผเู้ ขียนหรือ บุคคลทีส่ าม ตลอดทง้ั ไม่ยกยอ่ ปอป้ันผเู้ ขียนหนงั สอื เลม่ นัน้ จนเกนิ เหตผุ ลตามความเป็นจรงิ
ส่วนการวิจารณ์หนังสือ มีความมุ่งหมายที่จะให้ความสาคัญในด้านการวิเคราะห์อย่างถ่ีถ้วน เป็นอย่างมาก และตัดสินประเมินคุณค่าวรรณกรรม วรรณคดีหรือหนงั สือฉบับนั้น ๆ ให้ชัดเจนเข้าใจอย่างมี เหตุผลถึงการจะวิจารณห์ นังสือเลม่ ใดเล่มหนึง่ “วิจารณ์หนังสือ” ตามความเข้าใจ คือ เป็นการแสดงทัศนะของตนที่มีเหตุผลต่อเรื่องนั้น ทก่ี าลังจะวิจารณ์หรือกล่าวถงึ โดยให้เหตุผลว่าเร่ืองนน้ั ๆ ยังมีความไม่ตรงไม่สมบูรณ์ หรือยังอธิบาย ไม่ครบถูกต้องตามความเป็นจริง แต่การท่ีผู้วิจารณ์จะแสดงความคิดออกมาแต่ละข้อนั้น ก็ต้องมี เหตุผลมารองรับในการที่จะแสดงทัศนะออกมาอยู่เสมอ ไม่วิจารณ์โดยที่ไม่มีส่ิงที่มาสนับสนุนหรือ วิจารณ์แบบลอย ๆ ออกไปในแนวที่ดีบ้าง ไม่ดีบ้าง วิจารณ์ถึงผู้เขียน ถึงบุคคลที่สามบ้าง อย่างนี้ เรยี กว่า ไม่เปน็ การวิจารณ์ ไม่เคารพใหเ้ กียรติตอ่ ผเู้ ขียนหรือผอู้ ่ืนที่กาลังวิจารณถ์ ึง เป็นต้น การวิจารณ์หนังสือ เป็นการมองถึงรายละเอียดต่าง ๆ ในหนังสือที่ผู้วิจารณ์หยิบยกข้ึน มาวิจารณ์ โดยท่ีจับประเด็นใดประเด็นหนึ่งที่สามารถให้ความสาคัญหรือเป็นแนวทางท่ีจะสามารถ วิจารณ์หรือแยง้ ดว้ ยเหตุผลวา่ เหน็ ด้วยหรอื ไม่เห็นด้วยในบางข้อบางประเด็น เชน่ วิจารณ์ถงึ เนื้อเร่อื ง วิจารณ์ถึงช่ือเรื่อง วิจารณ์ถึงภาพรวมในหนังสือ ฯ แต่ท้ังนี้นั้น หนังสือท่ีจะนามาวิจารณ์ก็ต้องเป็น หนังสือท่ีมีเน้ือหาหรือเป็นหนังสือท่ีได้รับการตีพิมพ์ และเป็นหนังสือที่มีความเป็นวิชาการส่วนมาก เท่าน้ัน ถึงจะสามารถนามาวิจารณ์ได้ และจะได้รับความน่าเช่ือถือมีน้าหนักบงช้ีถึงคุณสมบัติของ ผู้วิจารณ์ ย่ิงผู้วิจารณ์เลือกหนังสือท่ีมีผู้แต่งมีความรู้ด้านวิชาการมากหรือเป็นที่รู้ในแวดวงวิชาการ อย่างกว้างขวา้ ง ย่งิ ทาใหง้ านวจิ ารณ์หนังสือนั้น ๆ จะมีผคู้ นใหค้ วามสนใจและให้ความยอมรับถงึ ความ กลา้ หาญทีไ่ ด้นาหนงั สือของนักวิชาการท่ีมีช่ือเสียงมาวิจารณ์ การวิจารณ์ก็มีอยู่หลายระดับด้วยกัน คือ ๑) วิจารณ์เชิงพินิจ คือ เป็นการอธิบายและ วิจารณ์หนังสือในเบื้องต้นก่อน เพื่อทาให้ทราบว่า หนังสือเล่มน้ันมีเนื้อหาเน้ือเรื่องเป็นมาอย่างไร หนังสือพูดถึงเรื่องอะไรเป็นส่วนมาก ชี้ให้เห็นภาพรวมเข้าใจง่าย พอผู้สนใจได้อ่านแล้วทาให้เกิด คุณค่าอย่างไร มากหรือน้อยเพียงใดในการอ่านหนังสือเล่มน้ัน มีข้อคิดเห็นอย่างไรกับหนังสือเล่มนั้น ถึงเน้ือหารายละเอียดท้ังเล่ม ตามที่ผู้สนใจได้อ่านแล้ว ชอบหรือไม่ชอบ โดยมีเหตุผลอย่างไรถึงชอบ ไมช่ อบ ก็นามาอธิบายขยายใหเ้ ข้าใจ เป็นต้น ๒) การวิจารณ์เชิงวจิ ักษณ์ คือ เป็นการเข้าถึงวรรณคดี อย่างถ่องแท้ในทุก ๆ ด้าน ทุก ๆ มุม ค้นหาคุณค่า มองให้เห็นความดี ความงาม ของงานวรรณกรรม หรือหนังสือเล่มน้ันว่า ตอนใดมีความไพเราะจับใจอย่างไร มีคติลึกซ้ึงกินใจมากน้อยเพียงใด มีความหมายท่ีคมคายแฝงอยู่ข้างในหรือเปล่า ทาความเข้าใจเรื่องนั้นว่ามีองค์ประกอบอะไรบ้างและ ค้นหาทศั นะของกวีวา่ ต้องการแสดงถึงเรื่องอะไร ๓) การวิจารณ์วรรณกรรม คอื เปน็ การวิจารณ์งาน ชัน้ นนั้ ๆ อย่างละเอียดลึกซ้ึง ด้วยการพจิ ารณาองคป์ ระกอบ การอธิบายความ การตีความ การแสดง ความคิดเห็น และบอกข้อดีข้อเสียเก่ียวกับวรรณกรรมนั้น ๆ ได้อย่างมีเหตุผล ฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจ
ถึงเรื่องนั้น ๆ เลยทีเดียว การวิจารณ์วรรณกรรมจะเป็นการวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมีระบบระเบียบ แบบแผนอย่างละเอียด ซงึ่ ทาให้เน้ือหาของหนังสือน้ัน มีความชัดเจนตรงประเด็นตามเรื่องท่ีต้องการ สื่อถึง การวิจารณ์วรรณคดีก็มีแนวทางโดยเฉพาะ เช่น วิจารณ์วรรณคดีในแนว จิตวิทยา แนวสังคม แนวปรชั ญา เป็นต้น ๔) การวพิ ากษ์วิจารณ์ คอื การวิพากษ์เป็นเร่ืองของแต่ละบุคคลท่ีจะมีความคิด เกี่ยวกับเร่ืองน้ัน ๆ อย่างไร หรือท่ีเรียกกันว่า “อัตวิสัย” เพราะแต่ละคนนั้นมีแนวคิดแนวทางที่จะ แสดงออกมาในเรื่องใดเรื่องหน่ึงไม่เหมือนกัน แต่ก็ใช่ว่าจะแตกต่างกันออกไปเลยทีเดียว เพราะการ วพิ ากษ์นน้ั เปน็ แคก่ ารพดู ถึงเรืองนั้นให้มีความเข้าใจมากย่ิงข้นึ หรอื เป็นการหาจุดออ่ นจุดแขง็ ของเรื่อง เพื่อเป็นการป้องกันความผิดพลาด และทาให้เห็นคุณค่าของวรรณกรรมนั้นว่าดีหรือไม่ชอบหรือ ไมช่ อบ การวพิ ากษม์ ักจะมาพรอ้ มกนั กับการวจิ ารณ์อย่เู สมอ องค์ประกอบของบทปฏิทัศน์ หรือวิจารณ์หนังสือ Book Review มักจะมีองค์ประกอบ หลักโดยกันทั่วไป คือ ๑) บทนา คือ ส่วนแนะนาและปูพ้ืนเรื่อง เพ่ือท่ีจะให้ผู้อ่านทราบถึงเร่ืองนั้น เกยี่ วกับเรือ่ งใดว่ามคี วามสาคัญอยา่ ง ทาเรื่องน้ีข้นึ มาทาไม เมอ่ื ไดท้ าการคน้ คว้าแลว้ ได้ประโยชน์อะไร ๒) เน้ือหา คือ สาระหรือใจความสาคัญของหนังสือ จะแสดงถึงเน้ือความท้ังหมดลงอยู่ในจุด ๆ เดียว ให้เข้าใจได้ง่ายมากย่ิงขึ้น ๓) บทวิจารณ์ คือ การค้นหาข้อดีและข้อไม่ดีของเรื่องที่จะวิจารณ์ช้ีให้เห็น ขอ้ บกพร่อง พร้อมท้ังเสนอแนวทางแกไ้ ขให้ดขี นึ้ เปน็ การวิจารณเ์ พื่อสรา้ งสรรค์ เพ่อื ประโยชนต์ ่องาน วรรณกรรมน้ัน ๆ ๔) บทสรุป คือ เป็นการย่อหน้าสุดท้ายของบทวิจารณ์ เป็นการเขียนสรุปความคิด ทั้งหมดท่ีวิจารณ์และให้แง่คิด หรือข้อสังเกตที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน นอกจากน้ีบทสรุปยังช่วยให้ ผอู้ า่ นได้ทบทวนประเด็นสาคัญของเร่ืองและความคิดสาคัญของผูว้ ิจารณ์ แม้ว่าผู้อา่ นอาจจะไม่ได้อ่าน บทวิจารณ์ท้ังบท แต่ได้อ่านบทสรุปก็สามารถทราบเร่ืองของวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีนามาวิจารณ์ รวมท้ังความคิดเห็นของผู้วิจารณ์ที่มีต่อวรรณคดีหรือวรรณกรรมเรื่องนั้นได้ ๕) เอกสารอ้างอิงหรือ บรรณานุกรม คือ เป็นหนังสืออ้างอิงที่ช้ีแหล่งข้อมูล เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่า จะหาสารสนเทศจากแหล่งใด และจะไม่มีสารสนเทศที่ต้องการทันที แต่จะบอกแหล่งท่ีให้บริการว่า สามารถสืบค้นสารสนเทศได้จากท่ีใด หรือเป็นหนังสืออ้างอิงท่ีให้ความรู้เกี่ยวกับรายชื่อหนังสือหรือ ส่ิงพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ บรรณานุกรมของแต่ละรายการ ส่วนใหญ่จะเร่ิมด้วยชื่อผู้แต่ง ช่ือหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ คร้ังที่พิมพ์ สถานท่ีพิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีท่ีพิมพ์ อาจจะมีจานวนหน้าและราคา หรอื บางครง้ั อาจจะมบี รรณนทิ ัศนป์ ระกอบดว้ ย เปน็ ตน้ ข้อควรระวัง ในการปฏิทัศน์หรือวิจารณ์หนังสือ เป็นการไตร่ตรองพิจารณาท่ีแสดงถึง การมีเจตนาเนน้ ในการแนะนาหนังสือ หรือเป็นการชักชวนให้ผู้อ่ืนได้สนใจในหนังสือฉบับนั้น ซึ่งจะมี สิ่งท่ีจะต้องคานึงพึงระวัง ดังน้ี ๑) ไม่นาเสนอหรือเล่าเรื่องที่มีความละเอียดมากจนเกินไป ควรท่ีจะ เล่าแสดงความคิดเห็นแต่โครงเร่ือง พร้อมกับยกตัวอย่างทานองอัญประภาษ หรือตอนน่าท่ีน่าสนใจ น่าติดใจ ติดตาม อันจะเป็นจุดเด่นแทนการเล่าเร่ืองทั้งเร่ือง ๒) ไม่ยกย่องคุณค่าจนเกินไป หมายถึง
การเล่าเร่ืองท่ีเกินความจริง เช่น เล่าในทานองยกยอ สรรเสริญ ว่าดี ว่าเยี่ยม เป็นต้น จนกลายเป็น การโฆษณาอย่างขาดหลักความเป็นกลางของผู้ปฏิทัศน์หรอื วิจารณ์ แต่ขณะเดยี วกันกไ็ ม่ตาหนิด้วยใจ ท่ีมคี วามลาเอยี งข้างใดขา้ งหนง่ึ หรือขาดหลักฐานท่จี ะนามาแสดงใหเ้ หน็ เหตแุ ละผล การเลือกหนังสือ ก็เป็นส่วนสาคัญอีกประการหน่ึงเช่นกัน เพราะการเลือกหนังสือ ท่ีจะมาปฏิทศั นห์ รือวจิ ารณ์นัน้ ต้องประกอบด้วยหลัก ดังนี้ ๑) เลือกตามความเช่ียวชาญของผปู้ ฏทิ ศั น์ ๒) เลือกตามความสนใจและใจรักในหนังสอื นั้น ๓) เลือกตามความตอ้ งการของหน่วยงานที่สนใจ หรือ เพื่อเป็นเป้าหมายเฉพาะ และใช้ความระมัดระวังอย่างมากในข้อนี้ ๔) เลือกตามกระแสความสนใจ ของสงั คมท่ีให้ความสาคญั และเป็นเรอื่ งท่อี ยใู่ นห่วงสถานการณ์ปัจจุบันเปน็ หลกั สรุปท้ายสุดส่ิงท่ีสาคัญในการปฏิทัศน์หรือวิจารณ์หนังสอื คือ ข้อท่ีควรคานึงสาหรับการ เลือกบทความวิชาการแนวใหม่ ๑) ความทันสมัย ความสามารถท่ีนาไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ มากกว่าความสนใจเฉพาะของผู้เขียนเอง เพราะบทความที่เลือกนามาวิจารณ์น้ันอาจไม่ได้รับการ ตพี ิมพ์กเ็ ป็นได้ ๒) มปี ระโยชน์ต่อแวดวงวิชาการ คือจะมีผู้นาความรู้ หรือเน้ือหาสาระในบทความน้ัน ไปใช้จริงไม่ใชเ้ ป็นแคบ่ ทความท่เี ขียนเพอ่ื สนองตอบความสนใจของผเู้ ขยี นเท่านั้น ๓) สามารถนาไปใช้ ในการเรยี นการสอนได้ ซึ่งนบั ว่าเปน็ สิ่งที่สาคัญอย่างย่งิ เพราะจะเชือ่ มโยงไปถึงนักเรียนนกั ศึกษาและ วงวชิ าการ นับเป็นอีกแนวทางหน่งึ ในการเพิม่ การอ้างอิงไดด้ ว้ ย เปน็ ตน้ งานมอบหมายคร้งั ท่ี ๓ วชิ า พระพุทธศาสนากับศาสตรแ์ ห่งการตีความ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ อาจารย์ประจาวชิ า ดร.ธนรฐั สะอาดเอีย่ ม ส่ง ๑๕ กันยายน ๒๕๖๕
งานเลขานกุ ารหลักสตู ร พธ.ม. & พธ.ด. มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสรุ ินทร์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123