Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมไฟล์_โครงการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ปีการศึกษา 2565

รวมไฟล์_โครงการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ปีการศึกษา 2565

Published by Thanarat MCU Surin, 2023-06-16 07:20:41

Description: รวมไฟล์_โครงการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ปีการศึกษา 2565

Search

Read the Text Version

โ ค ร ง ก า ร เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม นิ สิ ต ก่ อ น เ ข้ า ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๕ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร์

๑ สรปุ การดำเนินโครงการเตรียมความพรอ้ มนสิ ติ ก่อนเขา้ ศึกษา ระดบั บัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ บัณฑิตศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ โครงการเตรยี มความพรอ้ มนสิ ิตก่อนเขา้ ศกึ ษา ระดับบัณฑติ ศกึ ษา ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

๒ โครงการเตรียมความพรอ้ มนิสติ กอ่ นเขา้ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา วิทยาลยั สงฆ์สุรินทร์ *************** ๑. ช่อื โครงการ : โครงการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ระดบั บัณฑติ ศึกษา วทิ ยาลยั สงฆ์สุรินทร์ ๒. ชื่อหน่วยงาน : วทิ ยาลัยสงฆส์ รุ ินทร์ ๓. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ : บัณฑติ ศึกษา ๔. โครงการเชื่อมโยงกับมาตรฐาน : สกอ. องคป์ ระกอบที่ ๓ ๕. หลกั การและเหตผุ ล /เหตุผลจำเป็น คุณสมบัติของนิสิตที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตรเป็นปัจจัยพื้นฐานของความสำเร็จ แต่ละหลักสูตรจะมี แนวคิดปรัชญาแนวคดิ ในการออกแบบหลักสูตร ซ่งึ จำเป็นต้องมีการกำหนดคุณสมบัติของนิสิตท่ีสอดคล้องกับ ลักษณะธรรมชาติของหลักสูตร การกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกต้องมีความโปร่งใส ชัดเจน และ สอดคล้องกับคุณสมบัติของนิสิตที่กำหนดในหลักสูตร มีเครื่องมือที่ใช้ในการคัดเลือก ข้อมูล หรือวิธีการคัด นิสิตให้ได้นิสิตที่มีความพร้อมทางปัญญา สุขภาพกาย และจิต ความมุ่งมั่นที่จะเรียน และมีเวลาเรียนเพียงพอ เพอ่ื ใหส้ ามารถสำเร็จการศกึ ษาได้ตามระยะเวลาท่ีหลักสตู รกำหนด ดังนั้น ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ หลักสูตรระดับบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์สุรินทร์ ได้แก่ ๑.หลักสูตรพุทธ ศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๒.หลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ๓.หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ๔.หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา จงึ จดั โครงการ การเตรยี มความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ใหน้ สิ ติ ใหมร่ ะดับบัณฑิตศึกษา จำนวน ๕๗ รูป/คน และคณาจารย์เจ้าหน้าที่ จำนวน ๑๘ รูป/คน ลักษณะกิจกรรมเป็นแบบการอบรมเชิง ปฏบิ ตั กิ ารและจดั กิจกรรมปรบั พื้นฐาน ก่อนเขา้ ศึกษาในหลักสูตรนน้ั ๆ ทั้งน้ีเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนให้บรรลุ ตามวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร ๖. วัตถุประสงค์ : ๖.๑ เพอื่ ให้ได้นิสิตทมี่ ีความพรอ้ มทจี่ ะเรียนในหลักสตู ร ๖.๒ เพ่ือจัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ของหลกั สตู ร ๖.๓ เพื่อดำเนินการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับองค์ประกอบที่ ๓ ในระบบการประกันคุณภาพ การศกึ ษาตัวบง่ ชี้ท่ี ๓.๑ การรบั นิสิต ๗. ลักษณะกิจกรรม ๗.๑ จัดอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการและสมั มนา ๗.๒ พบปะคณาจารย์ ๘. เป้าหมาย : ๘.๑ เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ : นิสติ ใหมร่ ะดบั บัณฑิตศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ จำนวน ๗๕ รูป/ คน ๘.๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นสิ ิตมีความพร้อมทาง สขุ ภาพกาย จิต และปัญญา ความมุ่งม่นั ทีจ่ ะเรียน และมีเวลาเรยี นเพียงพอ เพ่ือใหส้ ามรถสำเรจ็ การศกึ ษาได้ตามระยะเวลาทหี่ ลกั สูตรกำหนด

๓ ๘.๓ เป้าหมายเชิงเวลา : ระยะเวลาดำเนินการสงิ หาคม – กันยายน ๒๕๖๕ ๙. งบประมาณ : ๙.๑ งบประมาณแผน่ ดิน จำนวน - บาท บาท ๙.๒ งบประมาณรายได้ จำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท ๙.๓ ประมาณการคา่ ใชจ้ ่าย บาท บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร บาท บาท - หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต จำนวน ๓,๐๐๐ บาท - หลกั สตู รครุศาสตรมหาบณั ฑติ (การสอนสังคม) จำนวน ๓,๐๐๐ - หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ (พุทธบรหิ ารฯ) จำนวน ๓,๐๐๐ - หลกั สตู รพทุ ธศาสตรดุษฎีบณั ฑิต จำนวน ๓,๖๐๐ - ค่าอาหาร-เคร่ืองด่ืม จำนวน ๔,๕๐๐ - ค่ารับรองพิธกี าร จำนวน ๒,๙๐๐ รวมท้ังสนิ้ จำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท ๑๐. กิจกรรมการดำเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลาการดำเนินการ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๖๔ ๖๔ ๖๔ ๖๕ ๖๕ ๖๕ ๖๕ ๖๕ ๖๕ ๖๕ ๖๕ ๖๕ - ขออนมุ ตั ิโครงการ - ตั้งคณะกรรมการดำเนนิ การ - ตดิ ตอ่ ประสานงาน -ดำเนินการตามโครงการ -ประเมินผลการดำเนนิ การ -สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ๑๑. ตัวชีว้ ัด ๑๑.๑ ผลผลติ (Output) นสิ ิตระดับบณั ฑติ ศกึ ษาปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ และคณาจารย์เจา้ หนา้ ทีจ่ ำนวน ๗๕ รูป/คน มีความพร้อมก่อนเข้าศกึ ษาต่อหลักสูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ๑๑.๒ ผลลัพธ์ (Outcome) นิสิตใหม่ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๕ มีความพร้อมทาง ปัญญาและมีความมุ่งมั่นที่จะเรียน มีเวลาเรียนเพียงพอ เพื่อให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่ กำหนดหลักสูตร ๑๒. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ขจากผลการดำเนินการตามโครงการในปที ี่ผ่านมา ไดม้ ีการปรับปรุงการดำเนินการจัดทำและพัฒนาแผนปฏิบัติการ ให้เปน็ ไปตามยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวทิ ยาลัย มาตรฐานการประเมนิ ของมหาวทิ ยาลัย

๔ ๑๓. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ๑๓.๑ คณาจารย์ นสิ ติ มีความพร้อมกอ่ นเข้าศึกษา ๑๓.๒ นสิ ิตมคี วามม่งุ มนั่ ทจ่ี ะเรียนเพ่อื ให้สำเรจ็ การศึกษาไดต้ ามระยะเวลาท่หี ลกั สูตรกำหนด ๑๓.๓ จัดการศึกษาไดต้ ามวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร ………………………………………… ………………………………………. (ดร.ธนรัฐ สะอาดเอย่ี ม) (พระครูวิริยปัญญาภวิ ัฒน,์ ผศ.ดร.) เลขานกุ ารบัณฑติ ศึกษา ผ้อู ำนวยการวทิ ยาลัยสงฆ์สุรินทร์ ผเู้ สนอโครงการ ผเู้ ห็นชอบโครงการ ………………………………………. (พระพรหมวชิโมลี, ดร.) รองอธกิ ารบดี วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ ผูอ้ นมุ ัตโิ ครงการ

๕ กำหนดโครงการปฐมนิเทศนิสติ ใหม่ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ บณั ฑิตศึกษา วทิ ยาลัยสงฆ์สุรินทร์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ วนั เสาร์ท่ี ๒๕ เดือนมถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๕ ---------------------------- เวลา กจิ กรรม หมายเหตุ ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. ผู้บริหาร คณาจารย์ นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ลงทะเบียน และพร้อมกัน ณ ห้องประชมุ ๔๑๑ อาคารพระพรหมบัณฑิต ๐๙.๐๐ - ๑๐.๐๐ น. - พระพรหมวชริ โมล,ี ดร. รองอธกิ ารบดวี ิทยาเขตสุรนิ ทร์ ประธานในพธิ ี เดินทางมาถงึ ณ หอ้ งประชมุ และนำบชู าพระรตั นตรัย - พระครูศรีสุนทรสรกิจ, ผศ.ดร. ผู้อำนวยบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ สุรนิ ทร์ กล่าวถวายรายงาน - พระพรหมวชิรโมลี, ดร. รองอธิการบดีวิทยาเขตสุรินทร์ กล่าวให้ โอวาท ผ้บู รหิ าร คณาจารย์ และนิสิตระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ๑๐.๐๐ - ๑๐.๓๐ น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “บัณฑิตวิทยาลัยกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” โดย พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร, รศ.ดร. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ผ่านระบบ ออนไลน์ Zoom Meeting ID ๗๐๗๔๗๗๒๕๓๘ ๑๐.๓๐-๑๑.๐๐ น. บรรยายพเิ ศษ เรอ่ื ง \"ภาษาองั กฤษกับการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา\" โดย พระครูปลัดวิศิษฐกุล สิริปญฺโญ ผู้อำนวยการส่วนวิชาการ สถาบันภาษา ผา่ นระบบออนไลน์ Zoom Meeting ID ๗๐๗๔๗๗๒๕๓๘ ๑๑.๐๐-๑๑.๓๐ น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “สถาบันวิปัสสนาธุระกับการฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา” โดย พระมหาวริทธิ์ธร วรเวที ผู้อำนวยการส่วนวางแผนและพัฒนาการอบรม สถาปันวิปัสสนาธุระ ผ่าน ระบบออนไลน์ Zoom Meeting ID ๗๐๗๔๗๗๒๕๓๘ ๑๑.๓๐ ๑๒.๓๐ น. ฉันภตั ตาหารเพล และรับประทานอาหารกลางวนั ๑๒.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. คณาจารยแ์ ตล่ ะหลักสูตรปฐมนิเทศ ณ ห้องแต่ละหลกั สตู ร (๑) หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ห้อง ๔๓๓ ช้ัน ๓ อาคารพระพรหมบณั ฑิต (๒) หลักสตู รรัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต ห้อง ๑๒๕ อาคารเฉลมิ พระเกียรติ (๓) หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ห้องประชมุ พระธรรมโมลี ๑๓๑ ชนั้ ๓ อาคารเฉลมิ พระเกียรติ หมายเหตุ: กำหนดการนอ้ี าจเปลยี่ นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม พธิ ีกรภาคเช้า : พระปลดั สรุ ะ ญาณธโร, ผศ.ดร. เลขานุการหลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ดร.ธนรัฐ สะอาดเอย่ี ม เลขานกุ ารบัณฑติ ศึกษา วทิ ยาลัยสงฆ์สุรินทร์

๖ ผลการประเมินโครงการ การประเมินความพึงพอใจต่อโครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ ระดับบัณฑิตศกึ ษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ ใช้เกณฑ์ระดับความพึงพอใจดังนี้ ๕ = พึงพอใจมากที่สุด ๔ = พึงพอใจมาก ๓ = พึงพอใจปาน กลาง ๒ = พึงพอใจน้อย ๑ = พึงพอใจน้อยที่สุด การประเมินโครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ มีผู้เข้าร่วม โครงการท้ังหมดจำนวน ๗๕ รปู /คน มผี ู้ตอบแบบสอบถาม ๗๐ รปู /คน ผลการประเมนิ ความพึงพอใจดังน้ี ๑. ขอ้ มลู ทั่วไปเกีย่ วกับผูป้ ระเมิน การประเมินความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรม แบ่งเป็นข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบด้านข้อมูล ส่วนบุคคล เพศ อายุปจั จบุ ัน ดงั นี้ ๑.๑) ข้อมูลทั่วไปเก่ียวกบั ผู้ตอบด้านข้อมลู ส่วนบุคคล ได้แก่ พระภิกษุ สามเณร และคฤหัสถ์ ผลการประเมนิ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางท่ี ๑ ข้อมูลทวั่ ไปเกีย่ วกับผตู้ อบด้านขอ้ มูลส่วนบคุ คล สถานภาพ จำนวน รอ้ ยละ ๑. พระภกิ ษุ ๔๐ ๕๓.๓๓ ๒. สามเณร -- ๓. คฤหสั ถ์ ๓๕ ๔๖.๖๖ ๗๕ ๑๐๐ รวม จากตารางที่ ๑ พบว่าข้อมูลท่ัวไปเกยี่ วกับผู้ตอบด้านข้อมูลสว่ นบคุ คล มีผู้ประเมนิ เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมดจำนวน ๗๕ รูป/คน ได้แก่ พระภิกษุ จำนวน ๔๐ รูป/คน คฤหัสถ์ จำนวน ๓๕ รูป/คน ดังน้ัน ค่าเฉล่ียความพึงพอใจจึงโน้มเอยี งไปตามทัศนคตขิ องพระภิกษุเปน็ หลกั ตารางท่ี ๒ ข้อมูลท่วั ไปเกีย่ วกับผู้ตอบดา้ นอายุ อายุ จำนวน ร้อยละ ๒๑-๓๐ ๓๓ ๔๔.๐๐ ๓๓.๓๓ ๓๑-๔๐ ๒๕ ๑๔.๖๖ ๘.๐๐ ๔๑-๕๐ ๑๑ ๑๐๐ มากกว่า ๕๐ ปี ๖ รวม ๗๕

๗ จากตารางที่ ๒ พบว่าข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบด้านอายุ มีผู้ประเมินเข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน ๗๐ รปู /คน ได้แก่ ชว่ งอายุ ๒๑-๓๐ จำนวน ๒๓ รปู /คน ชว่ งอายุ ๓๑-๕๐ จำนวน ๓๐ รูป/คน ช่วง อายุ ๔๑-๕๐ จำนวน ๑๑ รูป/คน ช่วงอายุ มากกว่า ๕๐ ปี จำนวน ๖ รูป/คน ดังนั้นค่าเฉล่ียความพึงพอใจจึง โน้มเอยี งไปตามทัศนคติช่วงอายุ ๒๑-๓๐ เปน็ หลัก ๒. ความพึงพอใจที่มีตอ่ การดำเนนิ โครงการ การประเมินความพงึ พอใจของพระนสิ ติ และคณาจารย์ต่อการดำเนนิ โครงการ มรี ายการประเมินอยู่ ด้านเดียวคือ ด้านผู้ดำเนินโครงการ โดยใช้เกณฑค์ วามพึงพอใจดังนี้ ๕ = พึงพอใจมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย ๔.๕๐ ขนึ้ ไป) ๔ = พงึ พอใจมาก (คา่ เฉล่ยี ๓.๕๐ - ๔.๔๙) ๓ = พงึ พอใจปานกลาง (คา่ เฉลีย่ ๒.๕๐ - ๓.๔๙) ๒ = พึงพอใจน้อย(ค่าเฉลี่ย ๑.๕๐ - ๒.๔๙) ๑ = พึงพอใจน้อยที่สุด (ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐-๑.๔๙) ผลการประเมินเป็น ดงั นี้ ๒.๑) ด้านผู้ดำเนินโครงการ การดำเนินโครงการด้านวิทยากรมีตัวชี้วัด ๕ ประการ ได้แก่ มีการ ดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้ในโครงการ มีการประชาสัมพันธ์โครงการล่วงหน้า สถานที่จัดกิจกรรม เหมาะสม จัดอำนวยความสะดวกให้ผู้รว่ มกจิ กรรมไดด้ ี ผลการประเมนิ เปน็ ดังนี้ ตารางท่ี ๓ ระดบั คา่ เฉลย่ี เลขคณติ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของนิสติ ท่มี ีตอ่ การดำเนนิ โครงการด้านผ้ดู ำเนินโครงการ รายการประเมนิ จำนวน ค่าเฉลี่ย สว่ น ความหมาย ผู้ตอบ เบี่ยงเบน มาตรฐาน ดา้ นวิทยากร ๑. มีความรเู้ หมาะสมในหัวขอ้ ท่บี รรยาย ๗๕ ๔.๓๗ .๔๘ มาก ๒. มีเทคนิคการบรรยายใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ๔.๔๒ .๔๙ มาก ๓. ควบคมุ เวลาได้อย่างเหมาะสม ๗๕ ๔.๔๒ .๔๙ มาก ๔. เปิดโอกาสใหผ้ ู้ฟังมีส่วนรว่ มในกจิ กรรม ๗๕ ๔.๔๔ .๔๙ มาก ๕. การจัดลำดับความสัมพันธ ์ ข อง ๗๕ ๔.๕๒ .๕๐ มากที่สุด เน้อื หาวชิ า รวม ๔.๔๓ .๔๖ มาก ดา้ นวชิ าการ ๑. มีเนอ้ื หาตรงกบั หวั ข้อทกี่ ำหนด ๗๕ ๔.๔๖ .๕๐ มาก ๒. มีเนื้อหาทันสมัยเหมาะสมต่องานเขียน ๗๕ ๔.๔๔ .๔๙ มาก งานในปจั จุบัน ๓. ระยะเวลาที่ใช้ในอบรมมีความเหมาะสม ๗๕ ๔.๔๔ .๔๙ มาก ๔. มีความรู้ความเข้าใจในการแสวงหา ๗๕ ๔.๗๔ .๔๓ มากทสี่ ดุ ขอ้ มูลเขียนงานวิจัย

๘ ๕ เกิดทกั ษะกระบวนการทำงานเพ่ิมขน้ึ ๗๕ ๔.๔๐ .๔๙ มาก รวม ๔.๔๙ .๓๘ มาก ดา้ นผู้ดำเนินโครงการ ๑. มีการดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้ใน ๗๕ ๔.๔๘ .๕๐ มาก โครงการ ๒. มกี ารประชาสัมพนั ธโ์ ครงการล่วงหน้า ๗๕ ๔.๔๙ .๕๐ มาก ๓. สถานท่ีจัดกิจกรรมเหมาะสม ๗๕ ๔.๘๑ .๓๙ มากทส่ี ุด ๔. จัดอำนวยความสะดวกให้ผู้ร่วมกิจกรรม ๗๕ ๔.๕๒ .๕๐ มากท่สี ดุ ได้ดี ๕. เวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ๗๕ ๔.๕๓ .๕๐ มากทส่ี ุด ๔.๕๖ .๒๙ มากท่สี ุด รวมท้ังหมด ๗๕ ๔.๕๐ .๓๖ มากที่สุด จากตารางที่ ๔ พบว่า นิสิตและคณาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษามีความพึงพอใจด้านวิทยากร อยู่ ในระดับมาก ด้านวิชาการ อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านผู้ดำเนินโครงการ อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาโดย ภาพรวมพบวา่ มคี า่ เฉลีย่ เลขคณติ เป็น ๔.๕๐ สรปุ ไดว้ า่ มคี วามพงึ พอใจดา้ นผูด้ ำเนนิ โครงการ อยใู่ นระดับ มาก ที่สดุ ๓. ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ ๑. เป็นโครงการท่ใี ห้ความร้แู ละเหมาะสมกับงานท่ีทำมาก ๒. ดีมากครบั โครงการเปิดการเรียนการสอน ๓. ได้ความรู้จากวิทยากรในหลาย ๆ เรือ่ ง ***************** ลงช่อื ..........................................................ผู้รายงานขอ้ มูล (นางสาวจริ ารตั น์ พิมพป์ ระเสรฐิ ) ตำแหน่ง เจา้ หนา้ ที่บัณฑิตศึกษา รายงานขอ้ มลู ณ วนั ท่ี ๒๓ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

๙ คำกล่าวรายงาน กจิ กรรมเตรยี มความพร้อมนสิ ติ ก่อนเข้าศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตสุรนิ ทร์ วนั เสาร์ที่ ๓ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๓๐ น. ........................................................................................................................................... กราบเรียน พระราชวิมลโมลี, ผศ.ดร. รักษาการผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ ท่ีเคารพ กระผม พระครูใบฎีกาเวียง กติ ตฺ ิวณโฺ ณ, ผศ.ดร. ผอู้ ำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎี บณั ฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา ในนามตวั แทนของคณาจารย์ เจ้าหน้าที่และนสิ ติ ขออนญุ าต รายงานการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมนสิ ิตกอ่ นเขา้ ศกึ ษานิสติ ใหมร่ ะดบั บณั ฑติ ศึกษา โดยสงั เขปดังนี้ ด้วย บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ มีพันธ กจิ ในการผลติ บัณฑติ ให้มคี ุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ วจิ ยั และพัฒนาองค์ความรู้ควบคู่กระบวนการ เรียนการสอน ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม ในด้านการผลิตบัณฑิตน้ัน นอกจากจะเป็นการต่อยอดความรู้ให้สูงขึ้นแล้ว การ ดำเนินงานของบัณฑิตศกึ ษายังเป็นการกระจายการศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษาออกสู่ชุมชนในระดับ ท้องถิ่นให้กว้างไกลออกไป เป็นการช่วยสร้างบุคลากรทางพระพุทธศาสนาทั้งที่เป็นภิกษุและ คฤหัสถใ์ หม้ ีความเข้มแข็งด้านภูมริ ู้ ภูมปิ ัญญา ภูมธิ รรม ตามวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตรที่มุ่งผลิต มหาบัณฑติ ใหม้ ีศีลจารวัตรดีงาม เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีของสงั คมและใหม้ ีความรคู้ วามเชี่ยวชาญใน สาขาวิชาพระพุทธศาสนา สามารถวิเคราะห์และประยุกต์พุทธธรรม เพื่อประโยชน์ในการสอน และการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์และพนั ธกิจดังกล่าว จงึ จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมนิสิต ก่อนเข้าศึกษานิสิตใหม่ ระดับบัณฑิตศึกษา ในวันที่ ๓ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๖๕ ณ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ ทงั้ นี้ มผี เู้ ข้าร่วมโครงการทัง้ ส้ิน จำนวน ๗๙ รปู /คน ดงั น้ี (๑) หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ (สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา) จำนวน ๑๔ รปู /คน (๒) หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต (สาขาวชิ าการสอนสงั คม) จำนวน ๕ รูป/คน (๓) หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ (สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา) จำนวน ๓๐ รูป/คน (๔) หลกั สตู รพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑติ (สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา) จำนวน ๘ รปู /คน (๕) คณาจารย์เจ้าหน้าทีร่ ะดบั บัณฑติ ศึกษา วทิ ยาลัยสงฆส์ รุ นิ ทร์ จำนวน ๑๘ รูป/คน (๖) วทิ ยากรแตล่ ะหลกั สูตร จำนวน ๔ รูป/คน

๑๐ บัดนี้ ได้เวลาอันเป็นมงคลฤกษ์แล้ว กระผมขออาราธนา พระราชวิมลโมลี, ผศ.ดร. ได้ โปรดเมตตากล่าวให้โอวาทและเปดิ กจิ กรรมเตรียมความพร้อมนสิ ิตก่อนเข้าศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่มวลคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และ นสิ ิตสืบไป. ดว้ ยความเคารพอย่างสูง กระผม พระครูใบฎีกาเวยี ง กติ ตฺ ิวณโฺ ณ, ผศ.ดร.

๑๑ แบบประเมนิ กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรบัณฑติ ศึกษา โครงการเตรยี มความพรอ้ ม ระดับบัณฑติ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตสุรินทร์ วนั เสาร์ท่ี ๓ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕ คำชี้แจง: แบบประเมนิ มที ั้งหมด ๒ ตอน โปรดทำเคร่ืองหมาย / ลงในชอ่ ง  และชอ่ งระดบั ความพงึ พอใจ ทใี่ หไ้ ว้ดา้ นขวามือตามความเป็นจริงมากที่สุดในทัศนะของท่าน เกณฑ์ระดบั ความพึงพอใจเปน็ ดังน้ี ๕= พึง พอใจมากทีส่ ดุ ๔ = พึงพอใจมาก ๓=พึงพอใจปานกลาง ๒=พงึ พอใจน้อย ๑=พึงพอใจนอ้ ยท่ีสดุ ตอนที่ ๑ ข้อมูลทวั่ ไปผูต้ อบสอบถาม ๑. ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล  พระภกิ ษุ  สามเณร  คฤหัสถ์ ๒. อายปุ จั จบุ ัน  ๒๑ - ๓๐ ปี  ๓๑ – ๔๐ ปี  ๔๑ – ๕๐ ปี  มากกว่า ๕๐ ปี ตอนที่ ๒ ข้อมลู ด้านความพึงพอใจ ระดบั ความพึงพอใจ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ข้อท่ี รายการประเมนิ ความพึงพอใจ ทส่ี ดุ กลาง ทีส่ ดุ ดา้ นวิทยากร ๕๔๓๒๑ ๑ มีความรู้เหมาะสมในหวั ข้อที่บรรยาย ๒ มีเทคนิคการบรรยายใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ๓ ควบคมุ เวลาได้อยา่ งเหมาะสม ๔ เปิดโอกาสใหผ้ ู้ฟังมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม ๕ การจดั ลำดบั ความสัมพันธ์ของเนอ้ื หาวชิ า ดา้ นวชิ าการ ๑ มีเนื้อหาตรงกบั หวั ข้อทก่ี ำหนด ๒ มเี นอื้ หาทนั สมยั เหมาะสมต่องานเขียนงานในปจั จุบนั ๓ ระยะเวลาทใ่ี ช้ในอบรมมคี วามเหมาะสม ๔ มีความรคู้ วามเข้าใจในการแสวงหาขอ้ มูลเขยี นงานวจิ ัย ๕ เกิดทกั ษะกระบวนการทำงานเพม่ิ ขน้ึ ด้านผ้ดู ำเนินโครงการ ๑ มกี ารดำเนินการตามแผนงานที่วางไวใ้ นโครงการ ๒ มีการประชาสัมพันธ์โครงการลว่ งหน้า ๓ สถานทีจ่ ดั กจิ กรรมเหมาะสม ๔ จัดอำนวยความสะดวกให้ผู้รว่ มกจิ กรรมไดด้ ี ๕ เวลาในการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม

๑๒ แสดงความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะอื่น ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ประเมินวันท.่ี ...... เดือน..............................พ.ศ........

๑๓ ภาพโครงการเตรยี มความพรอ้ ม ระดบั บณั ฑิตศึกษา ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๔

๑๕

ภาคผนวก ภาคผนวก รายการ ภาคผนวก ก เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การวิจารณห์ นงั สือ (Book Review) โดย รศ.ดร.อำนาจ ยอดทอง มหาวิทยาลยั มหิดล ภาคผนวก ข ภาพประกอบการบรรยาย ภาคผนวก ค การสรปุ องค์ความรู้จากการสมั มนา (KM Body of Knowledge)

การปฏทิ ศั (book r ผศ.ดร.อานาจ ภาควชิ ามนษุ ยศาสตร์ คณะสงั ค มหาวทิ ยาลย

ศนห์ นงั สอื review) จ ยอดทอง คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ ยั มหดิ ล

• สไลนก์ ารบรรยาย • https://drive.google.com/file/d/1RjZH W1rHnOR0NaoLcEaDTr4N41uVw/view sp=sharing

HoA- w?u

ทม่ี า/ควา การปฏทิ ศั (book r

ามหมาย ศนห์ นงั สอื review)

ทมี่ าขอ •กระบวนแหง่ “(วชิ า) วรรณ Criticism) แบง่ ออก 2 วธิ • 1. การปฏทิ ศั น์ (วรรณกรรม • 2. การวจิ ารณ์ (วรรณกรรม • กหุ ลาบ มลั ลิกะมาส. (2554). วรรณคดวี จิ ารณ์ (Literary c

อง “การปฏทิ ศั นห์ นงั สอื ” ณคดวี จิ ารณ์” (Literary ี ดงั น้ี ม-วรรณคด/ี หนงั สอื ) ม-วรรณคด/ี หนงั สอื ) criticism). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาแหง.

ก • การแนะนําหนังสอื โดยวธิ ปี ฏทิ ศั น์ มวี ธิ กี าร การวจิ ารณใ์ นระดบั หนง่ึ ซง่ึ ศาสตราจารย์ “Practical Criticism” • ศาสตราจารย์ ม.ล. บญุ เหลอื เทพยสวุ รรณ ชาวบา้ นในทนี่ ้ีมคี วามหมายถงึ ชาวบา้ นทมี่ วรรณคด)ี • การวจิ ารณใ์ นระดบั นี้ เป็ นการรายงาน วา่ อยา่ งไร มปี ระโยชนแ์ กผ่ อู ้ า่ นอยา่ ง ชอบหรอื ไมช่ อบดว้ ยเหตผุ ลอยา่ งไร • (แนะแนวทางวิจารณ์ วรรณคดีประเภทรอ้ ยกรอง พ.ศ. 2511 • กหุ ลาบ มลั ลิกะมาส. (2554). วรรณคดวี จิ ารณ์ (Literary c

การปฏทิ ศั นห์ นงั สอื รคลา้ ยคลงึ กบั การวจิ ารณห์ นังสอื แตเ่ ป็ น ไอ. เอ. รชิ ารดส์ (I.A. Richards) เรยี กวา่ ณ เรยี กวา่ “ระดบั ชาวบา้ น” (คําวา่ มกี ารศกึ ษาพอ สมควร พอทจี่ ะนยิ มอา่ น นตอ่ ผอู ้ า่ นวา่ หนังสอื เลม่ นมี้ เี นอ้ื เรอื่ ง งไร ผูป้ ฏทิ ัศนม์ ขี อ้ คดิ เห็นอยา่ งไร จะตอ้ งใหเ้ หตผุ ลใหไ้ ดเ้ สมอ 1 หนา้ 9) criticism). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาแหง.

การปฏิท • “การปฏทิ ศั นห์ นงั สอื ” • มคี วามมงุ่ หมายทจ่ี ะแนะนาหนงั สอื ใ พอทจี่ ะทาใหต้ อ้ งการอา่ นหนงั สอื ฉ • สว่ น “การวจิ ารณ์หนงั สอื ” • มคี วามมงุ่ หมายทจ่ี ะวเิ คราะหอ์ คณุ คา่ วรรณกรรม วรรณคดหี ร • กหุ ลาบ มลั ลิกะมาส. (2554). วรรณคดวี จิ ารณ์ (Literary c

ทศั น์หนังสือ และ การวจิ ารณ์หนงั สือ ใหเ้ ป็ นทรี่ จู้ กั และเป็ นทสี่ นใจของผอู้ น่ื ฉบบั นนั้ บา้ ง อยา่ งถว้ นถี่ และตดั สนิ ประเมนิ รอื หนงั สอื ฉบบั นนั้ ๆ criticism). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาแหง.

ความป • ศาสตราจารย์ ม.ล. บญุ เหลอื เทพ • ผทู ้ อี่ า่ นบทความรวี วิ หนังสอื โดยท่วั ๆ อยา่ งไร • 1. อา่ นเพอื่ จะไมต่ อ้ งอา่ นหนงั สอื นน้ั • 2. อา่ นเพอื่ จะรวู้ า่ หนงั สอื นนั้ เป็ นปร • 3. อา่ นเพอื่ จะทราบวา่ มผี ใู้ ดคดิ เห็น ความคดิ ของตนบา้ งหรอื ไม่ • 4. อา่ นดว้ ยความสนใจในตวั คนทเ่ี ข • (สังคมศาสตรป์ ริทศั น์ ปี ที่ 1 ฉบบั ที่ 1 หน้า 78) • กหุ ลาบ มลั ลิกะมาส. (2554). วรรณคดวี จิ ารณ์ (Literary c

ประสงค์ของผู้อ่านบทปฏิทศั น์หนังสือ พยสวุ รรณ ๆ ไปนัน้ มักจะอา่ นดว้ ยความประสงค์ น ระโยชนแ์ กผ่ อู้ า่ นอยา่ งไรบา้ ง นอยา่ งไรเกย่ี วกบั หนงั สอื นน้ั จะตรงกบั ขยี นบทความนน้ั เอง criticism). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาแหง.

ระดบั •1. การวจิ าร • การอธบิ ายและวจิ ารณห์ นังสอื เบอ้ื งต • หนงั สอื เลม่ นนั้ ม • มปี ระโย • มคี ณุ ค • มขี อ้ คดิ • ชอบหรอื ไม • การปฏทิ ศั นห์ รอื แนะนาหนงั สอื (b หนงั สอื ระดบั นี้

บการวจิ ารณห์ นงั สอื รณเ์ ชงิ พนิ จิ ตน้ เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ มเี นอื้ เรอ่ื งเป็ นอยา่ งไร ยชนอ์ ยา่ งไร คา่ อยา่ งไร ดเห็นอยา่ งไร มด่ ว้ ยเหตผุ ลใด book review) จดั เป็ นการวจิ ารณ์

ระ •2. การวจิ ารณ • เป็ นการเขา้ ถงึ วรรณคดอี ยา่ งถอ่ งแ รจู ้ ักความดงี ามของวรรณคดเี พอื่ ใ • เป็ นการพจิ ารณาแงง่ ามของวรรณ • ตอนใดมคี วามไพเราะ • มคี ตลิ กึ ซง้ึ กนิ ใจ • มคี วามหมายคมคายแฝงอยู่ • ทาความเขา้ ใจเรอ่ื งนน้ั วา่ มอี งคป์ • คน้ หาทศั นะของกววี า่ ตอ้ งการแส • วรรณคดเี รอื่ งนัน้ มอี งคป์ ระกอบอะ

ะดบั การวจิ ารณ์ ณ์เชงิ วจิ กั ษณ์ แทใ้ นทกุ ดา้ นทกุ มมุ หาคณุ คา่ และ ใหเ้ กดิ ความซาบซงึ้ ณคด/ี วรรณกรรม วา่ ประกอบอะไรบา้ ง และ สดงอะไร ะไรบา้ ง

•3. การวจิ ารณ • การพจิ ารณางานชน้ิ นัน้ ๆ อยา่ งละ • พจิ ารณาองคป์ ระกอบ • การอธบิ ายความ • การตคี วาม • แสดงความคดิ เห็น • บอกขอ้ ดขี อ้ เสยี เกยี่ วกบั วรรณก • วรรณกรรมวจิ ารณเ์ ป็ นการวเิ คราะห วจิ ารณว์ รรณคดมี ไี ดห้ ลายแนวทา จติ วทิ ยา แนวสงั คม แนวปรัชญา เ

ณว์ รรณกรรม ะเอยี ด กรรมนน้ั ๆ ไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล หว์ จิ ารณอ์ ยา่ งมรี ะเบยี บแบบแผน การ าง เชน่ วจิ ารณว์ รรณคดใี นแนว เป็ นตน้

•4. การวพิ า • การวพิ ากษ์จัดเป็ นเรอ่ื งของแตล่ ะบคุ วพิ ากษ์ตอ้ งอาศยั ขอ้ เท็จจรงิ และเหต วา่ • ดหี รอื ไม่ • ชอบหรอื ไมช่ อบ • การวพิ ากษ์มักจะมาคกู่ บั การวจิ ารณเ์ • https://elfhs.ssru.ac.th/jiraporn_ad/pluginfile.php/32 วรรณกรรม (ใหม)่ .pdf

ากษว์ จิ ารณ์ คคลหรอื ทเี่ รยี กวา่ เป็ น “อตั วสิ ยั ” การ ตผุ ลในการตดั สนิ คณุ คา่ ของ วรรณคดี เสมอ 2/block_html/content/ความรเู ้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั การวจิ ารณ์

ความห •ปฏทิ ศั น์ (Review) มาจาก •1. แป การทวน อกี ครง้ั ก •2. “ แป การดู การมอง ก กหุ ลาบ มลั ลิกะมาส. (2554). วรรณคดวี จิ ารณ์ (Literary critici

หมายของ “การปฏทิ ศั น”์ กคา 2 คา ดงั นี้ “ปฏ”ิ ปลวา่ การกระทาซา้ (Re) “ทศั น”์ ปลวา่ การสารวจ (View) ism). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาแหง.

ก •บทปฏทิ ศั นห์ นงั สอื • •บทวจิ ารณ • • •ไมใ่ ช่ “บทความปรทิ ศั น”

การปฏทิ ศั นห์ นงั สอื (Book Review) อ ณห์ นงั สอื • •บทแนะนาหนงั สอื ”์

• ราชบณั ฑติ ยสถาน บญั ญตั คิ ําวา่ “ ภาษาองั กฤษวา่ “Book Review” • ใหค้ วามหมายวา่ •ปฏทิ ศั ค •การเขยี นเลา่ เรอื่ งและแ เกย่ี วกบั หนงั สอื เลม่ หน แนะนาหนงั สอื นนั้ ให กหุ ลาบ มลั ลิกะมาส. (2554). วรรณคดวี จิ ารณ์ (Literary critici

ปฏิทัศน์หนังสือ “ปฏทิ ศั นห์ นังสอื ” มาจากคําใน ศนห์ นงั สอื คอื แสดงขอ้ คดิ เห็นโดยสงั เขป นง่ึ เลม่ ใด โดยมเี จตนาทจี่ ะ หเ้ ป็ นทรี่ จู้ กั ของผอู้ า่ น ism). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาแหง.

• บทวจิ ารณห์ นงั สอื ค • บทความทวี่ พิ ากษ์วจิ ารณเ์ นอ้ื หาสาร บทความ หรอื ผลงานดา้ นศลิ ปะ ทเี่ ก ปรัชญา เชน่ นทิ รรศนการ ทศั นศลิ ป์ หลกั วชิ าการและดลุ ยพนิ จิ อนั เหมาะส ผา่ นการประเมนิ จากผทู ้ รงคณุ วฒุ ิ • วารสารบณั ฑิตศกึ ษาปรทิ รรศน์ • https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JGSR/

วารสารบณั ฑิตศึกษาปริทรรศน์ อ (book review) คอื ระคณุ คา่ และคณุ ูปการของหนังสอื กยี่ วขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนา หรอื ป และการสรา้ งละครหรอื ดนตรโี ดยใช ้ สม ซง่ึ บทวจิ ารณน์ ี้ ไมจ่ ําเป็ นตอ้ ง /about

วารส • บทวจิ ารณ์หนงั สอื (Book Re • คอื การวพิ ากษ์วจิ ารณเ์ นือ้ หาสาระใหเ้ ห็นค จะตอ้ งกลา่ วถงึ รายละเอยี ดของหนังสอื อนั พมิ พ์ ครัง้ ทพี่ มิ พแ์ ละสถานทพี่ มิ พใ์ หช้ ดั เจ • 1) บทนํา (Introduction) • 2) เน้ือหา (Content) • 3) บทวจิ ารณ์ (Discussion) • 4) บทสรปุ (Conclusion) • 5) เอกสารอา้ งองิ หรอื บรรณานุกรม (R

สารปณิธาน มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ eview) คณุ คา่ ของหนังสอื โดยบทวจิ ารณห์ นังสอื นประกอบดว้ ยชอื่ ผเู ้ ขยี น จํานวนหนา้ ปีท่ี จน ใหเ้ รยี งลําดบั หวั ขอ้ ดงั นี้ References)

วารสารศ • ปรทิ ศั นห์ นงั สอื • ประกอบดว้ ยการวเิ คราะหว์ จิ ารณห์ นัง อยา่ งเป็ นวชิ าการ • บทวจิ ารณค์ วรประกอบดว้ ย • องคป์ ระกอบหรอื โครงสรา้ งของหนังสอื • เนื้อหาของหนังสอื ในภาพรวม • เนือ้ หาของแตล่ ะสว่ นโดยยอ่ • ขอ้ ดี ขอ้ ดอ้ ย และ/หรอื ประโยชนข์ อง