Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore auto bak

auto bak

Published by ณัฐวุฒิ พิงคะสัน, 2021-01-24 15:53:28

Description: auto bak

Search

Read the Text Version

ระบบเบรก ระบบเบรกประกอบดวยสวนประกอบตอไปน้ี

แมปมเบรก แมปมเบรกประกอบดวยสวนประกอบตอ ไปน้ี

ลักษณะการทาํ งาน -เปนอุปกรณที่เปลี่ยนแรงเหยียบจากแปนเบรกไปเปน แรงดนั ไฮดรอลิก -ปจจบุ นั ใชแมป มเบรกแบบคซู ึง่ มลี กู สูบสองลกู เพื่อสรา งแรงดนั ไฮดรอลิก -แรงดันไฮดรอลิกจะถูกสงไปยังคาลิปเปอรดิสกเบรกหรือกระบอกเบรกของดรัม เบรก -กระปุกน้ํามันทําหนาท่ีรองรับปริมาณน้ํามันเบรกที่เปล่ียนแปลงเนื่องจากการ เปลีย่ นแปลงอุณหภูมนิ ํา้ มนั -มีตัวแบงภายในท่ีทําหนาทีแ่ บง กระปกุ น้ํามันออกเปนสวนหนา และสวนหลัง -การออกแบบกระปุกน้ํามันเปนสองสวนน้ีทําใหแนใจไดวา ถาวงจรใดวงจรหน่ึง ไมทํางานเนอ่ื งจากมี น้าํ มนั รว่ั อกี วงจรหนงึ่ จะยังทาํ งานเพือ่ หยดุ รถ

- เซ็นเซอรว ดั ระดบั นํ้ามันจะตรวจจับเมือ่ ระดับนํ้ามันในกระปุกน้ํามันลดลง ต่ํากวาระดับตํา่ สดุ จากน้ันจะใชไฟเตือนระบบเบรกเพื่อเตือนคนขบั

หลกั การ เม่ือเหยียบแปนเบรก แมปมเบรกจะเปล่ียนแรงนี้ไปเปนแรงดันไฮดรอลิกการ ทํางานของแปนเบรกใชหลักการของคานดีดคานงัด โดยการเปล่ียนแรงเล็กนอย ท่ีออกจากแปนไปเปนแรงที่มากขึ้นไปยังแมปมเบรก จากกฎของปาสคาล แรงไฮดรอลิกท่ีเกิดขึ้นในแมปมเบรกจะถูกสงผานทางทอนํ้ามันเบรกไปยัง กระบอกเบรกแตละตัวซ่ึงจะสงไปยังผาเบรกและผาดิสกเบรกเพื่อสรางแรงเบรก ตามกฎของปาสคาล แรงดันจากภายนอกที่อัดน้ํามันจํานวนจํากัดจะถูกสงเปน หนวยเดียวไปยังทุกทิศทางเม่ือใชหลักการนี้กับวงจรไฮดรอลิกในระบบเบรก แรงดันท่ีเกิดขึ้นในแมปมเบรกจะถูกสงไปยังทุกกระบอกเบรกเทาๆ กัน แรง เบรกจะแตกตางกันขึ้นอยูกับขนาดเสนผานศูนยกลางของกระบอกเบรก เชน ถา รูปแบบของรถตองการแรงเบรกมากท่ีลอหนา นักออกแบบจะกําหนดให กระบอกเบรกดา นหนา มขี นาดใหญกวา

ชนดิ ของทอนํ้ามันเบรก

หลักการ ถาทอน้ํามันเบรกแตกร่ัวและมีนํ้ามันเบรกรั่วออกมา เบรกจะไมทํางานดวยเหตุนี้ ระบบไฮดรอลิกในเบรกจึงแบงทอนํ้ามันเบรกออกเปนสองระบบ แรงดันไฮดรอลิกที่ สงไปยังระบบท้ังสองจากแมปมเบรกจะถูกสงตอไปยังคาลิปเปอรดิสกเบรกหรือ กระบอกเบรกตําแหนงของทอนํ้ามันเบรกจะแตกตางกันในระหวางรถ FR กับรถ FF ในรถ FR ทอนํ้ามันเบรกจะแบงออกเปนระบบของลอหนาและระบบของลอหลัง แต ในรถ FF จะใชทอในแนวทแยง เน่ืองจากภาระที่ลอหนาของรถ FF จะมาก จึงตองใช แรงเบรกที่ลอหนามากกวาท่ีลอหลังดวยเหตุนี้ ถาใชระบบทอนํ้ามันเบรกของรถ FR กับรถ FF แรงเบรกจะนอยเกินไปเม่ือระบบเบรกของลอหนาไมทํางาน ดังนั้น จึงใช ระบบทอในแนวทแยงสําหรับลอหนาดานขวากับลอหลังดานซายเปนหน่ึงระบบ และ สําหรับลอหนาดานซายกับลอหลังดานขวาเปนอีกหน่ึงระบบ ทั้งนี้หากระบบหนึ่งไม ทาํ งาน อีกระบบหนึง่ จะยงั คงสามารถรกั ษาระดับแรงเบรกไวไ ด

การทาํ งาน เมื่อเหยียบแปนเบรก แรงจะถูกสงผานทางกานดันไปยังแมปมเบรกเพื่อไปดัน ลูกสูบ แรงจากแรงดันไฮดรอลิกที่เกิดข้ึนภายในแมปมเบรกจะถูกสงผานทาง ทอนํา้ มันเบรกไปยงั กระบอกเบรกแตละตัว

การทํางานปกติ เม่อื ไมไดเ หยียบเบรก ลูกยางเบรกของลูกสูบหมายเลข 1 และ 2 อยูระหวางชองเขากับชองชดเชย ทําใหเกิดชอง ระหวางแมปมเบรกกับกระปุกน้ํามัน ลูกสูบหมายเลข 2 จะถูกดันไปทางขวาโดยแรงสปริงดึง กลบั หมายเลข 2 แตจ ะถูกกนั ไมใหเลอื่ นไปมากกวานีโ้ ดยโบลทตัวกัน

เมื่อเหยียบแปน เบรก ลูกสูบหมายเลข 1 จะเล่ือนไปทางซายและลูกยางเบรกจะอุดชองชดเชยเพ่ือก้ันชองระหวาง กระบอกเบรกกับกระปุกน้ํามันเม่ือลูกสูบถูกดันตอ มันจะเพ่ิมแรงดันไฮดรอลิกภายในแมปม เบรกแรงดันน้ีจะสงไปยังกระบอกเบรกดานหลังเนื่องจากแรงดันไฮดรอลิกเดียวกันนี้ยังดัน ลูกสูบหมายเลข 2 ลูกสูบหมายเลข 2 จะทํางานแบบเดียวกับลูกสูบหมายเลข 1 และไปยัง กระบอกเบรกดานหนา

เมือ่ ปลอ ยแปน เบรก ลูกสูบจะกลับไปยังตําแหนงเดิมโดยแรงดันไฮดรอลิกและแรงสปริงดึงกลับอยางไรก็ตาม เน่ืองจากนํ้ามันเบรกไมไดไหลกลับจากกระบอกเบรกทันที แรงดันไฮดรอลิกภายในแม ปมเบรกจะลดลงช่ัวขณะ (เกิดสุญญากาศ)ผลก็คือ น้ํามันเบรกภายในกระปุกน้ํามันจะไหล เขาไปในแมปมเบรกผานทางชองเขา และผานรูน้ํามันจํานวนมากบนหัวลูกสูบและรอบๆ เสนรอบลูกยางเบรกหลังจากลูกสูบกลับไปยังตําแหนงเดิมแลว น้ํามันเบรกจะคอยๆ ไหล กลับจากกระบอกเบรกไปยังแมปมเบรก แลวไหลเขาไปในกระปุกนํ้ามันผานชองชดเชย ชองชดเชยจะดูดซับการเปล่ียนแปลงในปริมาณน้ํามันเบรกท่ีเกิดข้ึนภายในกระบอกเบรก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิซ่ึงจะปองกันไมใหแรงดันไฮดรอลิกเพิ่มข้ึน เมื่อไมได ใชเ บรก

เมอื่ ปลอ ยแปน เบรก

ถา นํา้ มันร่ัวในระบบใดระบบหน่ึง

น้ํามันรวั่ ทด่ี า นหลงั เม่ือเหยียบแปนเบรก ลูกสูบหมายเลข 1 จะเลื่อนไปทางซาย แตไมสรางแรงดันไฮดรอลิก ที่ดานหลังจากนั้น ลูกสูบหมายเลข 1 จะดันสปริงดึงกลับไปสัมผัสกับลูกสูบหมายเลข 2 แลวดันลูกสูบหมายเลข 2 เพ่ือเพิ่มแรงดันไฮดรอลิกท่ีปลายดานหนาแมปมเบรก ทําให เบรกสองตวั ทาํ งานจากดา นหนา ของแมป ม เบรก

น้ํามันรว่ั ทด่ี า นหนา เน่ืองจากแรงดันไฮดรอลิกไมไดเกิดขึ้นที่ดานหนา ลูกสูบหมายเลข 2 จะเล่ือนไปจนสัมผัส กับผนังที่ปลายแมปมเบรกเมื่อลูกสูบหมายเลข 1 ถูกดันออกออกจากตําแหนงนี้ไปทางซาย แรงดันไฮดรอลิกจะเพ่ิมข้ึนที่ดานหลังของแมปมเบรก ซ่ึงทําใหเบรกสองตัวทํางานจาก ดานหลังของแมป ม เบรก

หมอลมเบรก หมอลมเบรกเปนอุปกรณท่ีใชความแตกตางระหวางสุญญากาศเคร่ืองยนตกับแรงดัน บรรยากาศเพื่อสรางแรงที่มากข้ึน (แรงดันเสริม) โดยเปนสัดสวนกับแรงเหยียบแปนเพื่อให เบรกทํางาน หมอลมเบรกใชสุญญากาศท่ีเกิดข้ึนในทอรวมไอดี (ปมสุญญากาศในกรณีที่ เปน เครอื่ งยนตด ีเซล)

หมอ ลมเบรกคู หมอลมเบรกคูเปนอุปกรณทีม่ ีสุญญากาศสองหองตอ กันแบบอนุกรมเพ่ือเพิม่ แรงดัน เสรมิ โดยไมตอ งเพิม่ ขนาดลกู สูบ

การทํางาน

ไมเหยียบเบรก

หลักการ วาลวลมตออยูกับกานควบคุมวาลว และจะถูกดึงไปทางขวาโดยสปริงดึงกลับของวาลว ลมวาลวควบคุมถูกดันไปทางซายโดยสปริงวาลวควบคุมทําใหวาลวลมไปสัมผัสกับ วาลวควบคุมซ่ึงจะปองกันไมใหอากาศภายนอกท่ีผานสวนกรองอากาศเขาไปในหอง แรงดันแปรผันวาลวสุญญากาศของเรือนวาลวจะแยกออกจากวาลวควบคุมในสภาวะน้ี ทําใหเกิดชองระหวางชอง A กับชอง B และเน่ืองจากจะมีสุญญากาศในหองแรงดัน คงที่อยูเสมอ ทําใหมีสุญญากาศในหองแรงดันแปรผันดวยผลก็คือ ลูกสูบจะถูกดันไป ทางขวาโดยสปริงไดอะแฟรม

เหยยี บเบรก

หลักการ เมื่อเหยียบแปนเบรก กานควบคุมวาลวจะดันวาลวลมทําใหวาลวลมเล่ือนไปทางซาย วาลวควบคุมท่ีถูกสปริงวาลวควบคุมดันไปชนวาลวลมก็จะเล่ือนไปทางซายจนกระท่ัง สมั ผัสกบั วาลวสุญญากาศซ่ึงจะไปกั้นชองระหวางชอง A กับ B เม่ือวาลวลมเลื่อนตอไป ทางซาย วาลวลมจะเลื่อนออกไปจากวาลวควบคุมซึ่งจะปลอยอากาศภายนอกไหลเขาสู หองแรงดันแปรผนั ผา นชอง B (หลังจากผา นสวนกรองอากาศ)ความแตกตางของแรงดัน ระหวางหองแรงดันคงที่กับหองแรงดันแปรผันจะทําใหลูกสูบเลื่อนไปทางซายและ ในทางกลับกัน ก็จะทําใหแผนรับแรงตานเล่ือนกานดันหมอลมเบรกไปทางซาย และเพิ่ม แรงเบรก

เหยียบเบรกคางไวค ร่ึงหนึ่ง

หลักการ ถาเหยียบแปนเบรกครึ่งหน่ึง กานควบคุมวาลวและวาลวลมจะหยุดเคลื่อนที่ แต ลูกสูบจะเล่ือนตอไปทางซายเนื่องจากความแตกตางในแรงดันวาลวควบคุมจะ ยังคงติดอยูกับวาลวสุญญากาศดวยสปริงวาลวควบคุม แตจะเล่ือนไปตามลูกสูบ เนื่องจากวาลวควบคุมเลื่อนไปทางซายและสัมผัสกับวาลวลม ทําใหอากาศ ภายนอกไมสามารถเขาไปในหองแรงดันแปรผันได ดังนั้นแรงดันในหอง แรงดันแปรผันจะคงที่ผลก็คือ เกิดความแตกตางในแรงดันคงท่ีระหวางหอง แรงดันคงที่กับหองแรงดันแปรผันจากน้ัน ลูกสูบจะหยุดเล่ือนและรักษาระดับ แรงเบรกปจ จบุ นั

เหยยี บเบรกเต็มที่

หลกั การ ถาเหยียบแปนเบรกจนสุด วาลวลมจะเล่ือนออกจากวาลวควบคุม จนหมดในสภาวะนี้ หองแรงดันแปรผันมีอากาศภายนอกอยูเต็ม และความแตกตางในแรงดันระหวางหองแรงดันคงที่กับหอง แรงดันแปรผันจะถึงจุดสูงสุดซึ่งทําใหเกิดแรงดันสูงสุดไปยัง ลูกสูบแมวาจะเหยียบแปนเบรกแรงมากข้ึนอีก แรงท่ีไปยังลูกสูบ จะไมเปล่ียนแปลง และแรงท่ีเหยียบเพ่ิมไปน้ันจะสงไปยังกานดัน หมอ ลมเบรกแลวสงตอ ไปยังแมป ม เบรกเทานั้น

สภาวะไมเปนสุญญากาศ

หลกั การ ถา ไมมสี ุญญากาศในหมอลมเบรกดวยเหตุผลใดกต็ าม จะไมเกดิ ความแตกตางในแรงดัน ระหวางหองแรงดันคงทกี่ ับหองแรงดันแปรผัน (เนื่องจากทั้งสองหองมีอากาศภายนอก อยเู ตม็ )เมอื่ หมอ ลมเบรกอยใู นตาํ แหนง \"ปด\" ลูกสูบจะถกู ดนั กลบั ไปทางขวาโดยสปรงิ ไดอะแฟรมอยางไรก็ตาม เม่อื เหยียบแปน เบรก กานควบคมุ วาลวจะเลือ่ นไปทางซา ยและ ไปดันวาลวลม แผน รับแรงตาน และกา นดนั หมอลมเบรกซ่ึงทาํ ใหลูกสบู แมป มเบรกสง แรงเบรกไปยังเบรกในขณะเดียวกัน วาลวลมจะดันสลักลอ็ ควาลวซึ่งสอดอยูในเรือน วาลว ลูกสูบจะเอาชนะสปริงไดอะแฟรม และเลื่อนไปทางซายจากนน้ั เบรกจะทาํ งาน แมว าจะไมมีสญุ ญากาศไปยงั หมอ ลมเบรกอยางไรก็ตาม เนื่องจากหมอ ลมเบรกไม ทาํ งาน แปนเบรกจะรูสึก \"หนกั \"

กลไกตอบสนอง กลไกน้ีสรางข้ึนเพื่อลดการคืนตัวกลับอยางรวดเร็วของแปนเบรกเพ่ือเพิ่ม \"ความรูสึก\" ท่ี แปนเบรก โดยจะลดแรงดันท่ียอนกลับไปยังแปนเหลือเพียงคร่ึงหน่ึง (อีกครึ่งหนึ่งจะถูก ดูดซบั โดยลกู สบู หมอ ลมเบรก)

การทํางาน กลไกตอบสนองแสดงอยูทางดานซายกานดันหมอลมเบรก แผนรับแรงตาน และวาลว ลมจะเล่ือนอยูภายในเรือนวาลวเน่ืองจากแผนรับแรงตานทํามาจากยางเนื้อนิ่ม จึงอาจ ถือเปน นา้ํ มันแบบบีบอัดไมไ ดดวยเหตนุ ี้ เมือ่ กา นดนั หมอลมเบรกถูกดันไปทางขวา มัน จะพยายามอัดแผน รับแรงตา น แตเน่ืองจากไมสามารถทําได แรงจะถูกสงตอไปยังวาลว ลมและเรือนวาลวดังนั้น แรงถูกสงระหวางวาลวลมกับเรือนวาลวจะเปนสัดสวนกับ พื้นท่ีหนาสัมผัสสมมติวามีแรง 100 N (9.8 kgf, 21.6 lbf) ไปยังกานดันหมอลมเบรก ดังท่ีแสดงน้ีเน่ืองจากอัตราสวนของพ้ืนที่วาลวลมกับเรือนวาลวเปน 4 ตอ 1 แรง 80 N (7.8 kgf; 17.2 lbf) ถูกสงไปยังเรือนวาลวและอีก 20 N (2.0 kgf, 4.4 lbf) จะไปยัง วาลวลม

การปรับตง้ั ระยะหางของกานดนั ตองปรับตง้ั ความยาวของกานดนั หมอ ลมเบรกกอนทําการประกอบแมปมเบรกและหมอลม เบรกซ่ึงจะตองทําเพื่อใหไดระยะหางที่เหมาะสมระหวางลูกสูบแมปมเบรกกับกานดันหมอ ลมเบรก หลังจากมีการถอดประกอบใหมใหใชเคร่ืองมือพิเศษเพ่ือปรับตั้งระยะหางในรถ รุ น ใ ห ม ๆ จ ะ มี ตั ว คู ณ เ ม่ื อ ต อ ง ใ ช เ ก จ วั ด ค ว า ม ห น า ใ ห ดู ไ ด จ า ก คู มื อ ซ อ ม

การตรวจสอบการทํางาน ห ม อ ล ม เ บ ร ก ใ ช ค ว า ม แ ต ก ต า ง ระหวางสุญญากาศเคร่ืองยนตกับ แรงดันบรรยากาศเพ่ือสรางแรงดัน เสริม

สามารถตรวจสอบการทาํ งานของหมอ ลมเบรกไดด งั น้ี การตรวจสอบการทํางานของการปด ผนึกอากาศ การสรางแรงดันเสริมตองใหมีสุญญากาศภายในหมอลมเบรก และหองแรงดันคงท่ีและ หองแรงดันแปรผัน ตองปดสนิทโดยวาลวสุญญากาศ และอากาศตองไหลจากวาลวลม (1) ดับเครื่องยนตหลังจากปลอยใหทํางานเปนเวลา 1 ถึง 2 นาทีจะมีสุญญากาศเขาไป ในหมอลมเบรก (2)เหยียบแปนเบรกหลายๆ คร้ังเม่ือทําเชนน้ี ถาตําแหนงของแปนในคร้ังที่ 2 หรือ 3 สูงข้ึนกวาในคร้ังที่ 1 ลิ้นกันกลับหรือวาลวสุญญากาศปด วาลวลมเปด และมีอากาศเขา ไปขา งใน จากการตรวจสอบน้สี ามารถบอกไดวาการผนึกของวาลว แตล ะตวั เปนปกติ

การตรวจสอบการทํางาน ถาสตารทเครอื่ งยนตข ณะท่ไี มม สี ญุ ญากาศในหมอลมเบรก วาลว สญุ ญากาศจะปด และวาลว ลมจะเปด จะมีสญุ ญากาศเขาไปในหองแรงดันคงที่คุณสามารถใชสภาพ แปนเบรกในขณะน้เี พ่ือตรวจสอบการทํางานของแรงดนั เสริม (1)โดยดบั เคร่ืองยนต เหยียบแปนเบรกหลายๆ ครั้งจะมีอากาศเขาไปในหอ งแรงดัน คงที่ (2)สตารทเครอ่ื งยนตโ ดยที่เหยียบแปนเบรกไวจะเกดิ สุญญากาศขนึ้ ทาํ ใหมีความ แตกตางในแรงดนั ระหวา งหอ งแรงดนั คงทก่ี บั หอ งแรงดนั แปรผนั ถาแปน เบรกจม ลงเลก็ นอยในเวลานี้ จะสามารถบอกไดวามีการสรา งแรงดนั เสริมตามปกติขน้ึ แลว

การตรวจสอบการทาํ งานของการปดผนึกอากาศภาระ ถาดบั เครื่องยนตโดยท่ีเหยียบแปนเบรกไว จะสามารถใชสภาพแปน เบรกนี้เพื่อ ตรวจหาการรัว่ ของสญุ ญากาศออกจากหอ งแรงดนั คงที่ (1)เหยยี บแปนเบรกขณะที่เครือ่ งยนตกําลงั ทาํ งาน (2)ดับเครื่องยนตโดยท่ีเหยียบแปนเบรกไวในขณะที่เหยียบเบรกคางไวน้ี ความ แตกตางในแรงดันระหวางหอ งแรงดันคงทีก่ ับหองแรงดันแปรผันจะยังคงท่ีดังน้ัน ถาไมมีการเปลี่ยนแปลงความสูงของแปนเบรก โดยที่เหยียบเบรกคางไวเปนเวลา 30 วินาที จะสามารถบอกไดวาลิ้นกันกลับและวาลวสุญญากาศปดปกติ และไมมี ปญหาที่หอ งแรงดนั คงที่

วาลว ปรับแรงดัน วาลวปรับแรงดันนํ้ามันเบรก (วาลว P) อยูระหวาง แมปมเบรกกับกระบอกเบรก’ของลอหลัง อุปกรณ นี้จะสรางแรงเบรกที่เหมาะสมเพ่ือลดระยะเบรก โดยวิธีการกระจายแรงเบรกไปยังลอหนาและลอ หลังที่ดีที่สุดเพ่ือปองกันไมใหลอหลังล็อคกอน ในขณะเบรกฉุกเฉิน (เมื่อภาระสงถายไปท่ี ดานหนา) ฯลฯเม่ือการกระจายแรงเหมือนกับท่ี แสดงใน (a) แรงเบรกเริ่มมากทําใหแรงเบรกที่ลอ หลังมากเกินกวาที่กําหนดในเสนโคงทําใหลอหลัง ล็อคไดงายและรถจะสูญเสียการทรงตัวนอกจากนี้ เม่ือการกระจายแรงเหมือนกับที่แสดงใน (b) แรง เบรกโดยรวมจะเร่ิมนอย ซึ่งทําใหลอหนาล็อคได งา ยและรถจะสญู เสยี การควบคุม

การทํางาน แรงดันไฮดรอลิกท่ีเกิดข้ึนโดยแมปมเบรกจะสงไปยังเบรกหนาและเบรกหลังเบรก หลังจะถูกควบคุมจนแรงดันไฮดรอลิกเทากับในแมปมเบรกจนถึงจุดแบง จากน้ัน จะลดลงต่ํากวาในแมปมเบรกหลังจากจุดแบง สภาพการทํางานของวาลว P จะ แสดงอยูด า นลา ง

การทาํ งานจนถึงจุดแบง แรงสปริงจะดันลูกสูบไปทางขวาแรงดันไฮดรอลิกจากแมปมเบรกจะผาน ชองระหวางลูกสูบกับถวยกระบอกเบรกเพื่อสงแรงที่เทาๆ กันไปยัง กระบอกเบรกลอหนาและลอหลังในเวลาเดียวกัน แรงจะเล่ือนลูกสูบไป ทางซายโดยใชความแตกตางในแรงดันบริเวณพื้นท่ีหนาสัมผัส แตจะไม สามารถเอาชนะแรงสปรงิ ไดจึงไมเ ลอ่ื นไป

การทาํ งานของจุดแบง เม่ือแรงดันไฮดรอลกิ ที่สงไปยังกระบอกเบรกลอหลงั เพ่ิมข้นึ แรงดนั ท่ดี ันลกู สูบไปทางซาย จะเอาชนะแรงสปริงทําใหลกู สูบเลือ่ นไปทางซายและปดวงจรน้าํ มัน

การทาํ งานหลงั จากจดุ แบง เม่ือแรงดนั ไฮดรอลิกจากแมป ม เบรกเพิ่มยิง่ ขึ้นไปอีก แรงดันที่เพิ่มขึน้ นี้จะดนั ลูกสบู ไป ทางขวาเพ่อื เปด วงจรนาํ้ มนั จากนั้น แรงดันไฮดรอลิกทไ่ี ปยงั กระบอกเบรกลอหลงั จะเริ่ม สูงขน้ึ และแรงดันท่ดี นั ลกู สบู ไปทางซา ยจะเรม่ิ เพ่มิ ข้นึ ดังน้ัน กอ นทแี่ รงดันไฮดรอลิกท่ี ไปยังกระบอกเบรกลอ หลงั จะเพ่ิมสูงสุด ลูกสูบจะเลือ่ นไปทางซายและปดวงจรนํา้ มัน วาลว จะทาํ งานซ้ําเพอ่ื รกั ษาแรงดันไฮดรอลกิ ทด่ี านลอหลัง เนื่องจากการเพมิ่ ที่มากกวา ท่ี ดา นลอ หนา

การทํางานเม่ือปลอ ยแปนเบรก เม่ือแรงดันไฮดรอลิกจากแมปมเบรกลดลง นํ้ามัน ที่ดานกระบอกเบรกลอหลังจะ ผา นทางดา นนอกของถว ยกระบอกเบรก และไหลกลับไปทด่ี า นแมปม เบรก

ชนดิ ของวาลวปรบั แรงดัน

ชนดิ ของวาลวปรับแรงดัน 1.วาลว P คู วาลว P คูจ ะใชกบั ทอ ในแนวทแยงในรถ FFโดยทัว่ ไป อาจจะกลา วไดวา วาลว P คูจะทาํ งานรว มกนั วาลว P แตล ะตวั ทํางานจะในลกั ษณะเดยี วกันกับลิน้ ปรบั แรงดนั ทวั่ ไป 2.วาลวบายพาส&และปรับแรงดนั นา้ํ มันเบรก (P & BV) P & BV ทําหนาที่สองอยา งอยางแรก ทําหนาที่เปน วาลวปรบั แรงดนั ทัว่ ไปอกี อยา งหนึง่ คือ ถา วงจรไฮดรอลกิ สําหรับลอ หนา ไมท าํ งานดวยเหตุผลใดกต็ าม วาลว นจี้ ะทําหนา ทห่ี ยุดการทํางานของวาลว P (แมวา แรงดนั ไฮดรอลิกของแม ปมเบรกจะเพ่มิ ขึน้ แรงดนั เดียวกนั นี้จะถกู สงไปยังลอ หลัง)

วาลว ปรับแรงดนั น้ํามันเบรกตามน้าํ หนักบรรทกุ (LSPV)

วาลวปรับแรงดนั น้ํามันเบรกตามน้ําหนักบรรทกุ (LSPV) -LSPV เปน อุปกรณท่ีทําหนา ที่เหมือนกับวาลว P แตจ ะสามารถปรบั ตั้งจุดแบงของ วาลว P ใหเพียงพอกับนาํ้ หนักบรรทุกทีล่ อหลงั -LSPV ปองกันเบรกหลังจากการเบรกเกิน การลอ็ ค การล่ืน และทําใหไ ดแรงเบรกท่มี าก ขึ้น เมื่อมนี ํา้ หนกั บรรทุกที่ดานหลังมาก -นิยมใชใ นรถหลายประเภท เชน รถบรรทกุ ซ่ึงสมดุลของน้ําหนักบรรทุกที่ลอ หนา และ ลอ หลังจะเปลีย่ นแปลงมากเมื่อรถมีน้ําหนกั บรรทุกและไมม นี าํ้ หนักบรรทุก -นา้ํ หนักบรรทุกจะถูกตรวจวัดโดยสปริงที่ปรบั ตวั ตามนํ้าหนกั บรรทกุ อยูระหวางเสอ้ื เพลาหลังกับโครง (หรือตัวถัง)จดุ แบงสามารถปรบั ต้ังโดยการปรบั ความแขง็ ของสปริง บางครง้ั จะมีการใช LSPV แบบคกู ับทอในแนวทแยงในรถ FF

ดิสกเบรก ดิสกเบรกจะดันลูกสูบโดยใชแรงดันไฮดรอลิกท่ีสงผานทางทอนํ้ามันเบรกมาจากแมปมเบรก เพ่ือทําใหผาดิสกเบรกหนีบท้ังสองดานของโรเตอรดิสกเบรก และหยุดลอไมใหหมุนและ เนื่องจากโรเตอรดิสกเบรกและผาดิสกเบรกจะตองเสียดสีกัน จึงทําใหเกิดความรอนเน่ืองจาก แรงเสียดทานอยางไรก็ตาม เนื่องจากโรเตอรดิสกเบรกและเรือนเบรกเปดออกดานนอกความ รอนเนอื่ งจากแรงเสียดทานทเ่ี กดิ ขึ้นจะลดลงไดงา ย

การปรับต้ังเบรก เน่ืองจากระยะหางเบรกจะถูกปรับตั้งอัตโนมัติโดย ซีลลูกสูบ (ยาง) จึงไมจําเปนตองปรับตั้ง ระยะหางเบรกดวยมือ เม่ือเหยียบแปนเบรก แรงดันไฮดรอลิกจะเลื่อนลูกสูบ และดันผาดิสก เบรกใหติดกับโรเตอรดิสกเบรกในขณะเดียวกัน ลูกสูบจะเลื่อนไปทําใหซีลลูกสูบเปล่ียนรูป เมื่อปลอยแปนเบรก ซีลลูกสูบจะกลับคืนรูปเดิมซึ่งจะเลื่อนลูกสูบใหออกหางจากผาดิสกเบรก ดังน้ัน แมวาผาดิสกเบรกจะสึกหรอและลูกสูบถูกเล่ือนออกไป ระยะท่ีลูกสูบเลื่อนกลับมาจะ เทาเดมิ เสมอ ทําใหชอ งระหวา งผา ดสิ กเบรกกบั โรเตอรด สิ กเ บรกจะมรี ะยะหา งเทา เดิม

การลดน้ํามันเบรก ปริมาณนํ้ามันเบรกในกระปุกน้ํามันเบรกจะลดลงเนื่องจากการสึกหรอของผาดิสกเบรกหรือ ผาเบรกดังนั้น สภาพการสึกหรอกของผาดิสกเบรกหรือผาเบรกสามารถประเมินไดโดยการ ตรวจสอบระดบั นาํ้ มันในกระปุกน้ํามัน เน่ืองจากลูกสูบมีเสนผาศูนยกลางขนาดใหญ การสึก หรอของผา ดสิ กเบรกจะทําใหระดบั นาํ้ มันในกระปุกนํ้ามันลดลงมากกวาของดรัมเบรก

แผนเตือนผา เบรกสึก เมื่อความหนาของผา เบรกลดลงถงึ ความหนาทก่ี ลา วถงึ ขา งตน แผน เตือนผาเบรกสึกท่ียึดอยู กับแผนรองหลังของผา เบรกจะเขามาสีกบั โรเตอรด ิสกเบรก และทําใหเกดิ เสียงแหลมดงั ขณะขบั รถ

ชนดิ ของคาลิปเปอรดสิ กเบรก ( 1) แ บ บ ค า ลิ ป เ ป อ ร ยึ ด กั บ ที่ แบบคาลิปเปอรยึดกับท่ีจะมีลูกสูบคู เพอื่ ดนั โรเตอรด ิสกเ บรกทง้ั สองดา น ( 2) แ บ บ ค า ลิ ป เ ป อ ร ล อ ย ตั ว แ บ บ ค า ลิ ป เ ป อ ร ล อ ย ตั ว จ ะ ติ ด กั บ ลู ก สู บ เ พี ย ง ด า น เ ดี ย ว ลู ก สู บ จ ะ ใ ช แรงดันไฮดรอลิกถาผาดิสกเบรกถูก ดัน คาลิปเปอรจะเลื่อนเขาไปในทิศ ทางตรงขามกับลูกสูบ และดันโรเตอร ดิสกเบรกจากทั้งสองดานผลก็คือ คา ลิปเปอรจะหยุดการหมุนของลอคาลิป เปอรแบบลอยตัวจะมีอีกหลายชนิด ขึ้นอยูกับวิธีติดคาลิปเปอรเขากับแผน รบั แรงบิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook