หน้า 2 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 7. อบั ดลุ เดนิ สารวจปา่ บรเิ วณเชิงเขาใกลห้ มบู่ า้ น พบกอ้ นหนิ ลักษณะกลมมน มีขนาดใหญเ่ ลก็ คละกนั จานวนมาก ทับถม เป็นแนวยาวไปจนจรดเชงิ เขา จงึ เก็บก้อนหินมาจานวนหนง่ึ เพอื่ จะถามครูในวนั ร่งุ ขึ้น ในชัน้ เรยี นมีความเหน็ แตกต่างกนั เกย่ี วกบั ก้อนหนิ เหล่านี้ นักเรียนคดิ ว่าความเหน็ ใดนา่ จะถูกต้องท่ีสดุ (ONET’2555) 1. ภเู ขาบริเวณน้นั น่าจะเป็นภูเขาไฟทด่ี บั แลว้ 2. แตเ่ ดมิ บรเิ วณนน้ั น่าจะเปน็ ลาธารทมี่ นี ้าไหลเช่ียว 3. อาจจะมชี าวป่าหรือคนโบราณ นาหนิ เหล่านนั้ มากองเปน็ แนวในพิธกี รรมบางอยา่ ง 4. มีผ้ลู ักลอบขุดหาแร่ทองคา ขดุ หนิ ขึ้นมาเตรียมขนยา้ ยออกไปนอกพืน้ ท่ี 8. ตารางระดับความแข็งของแร่ชนิดต่าง ๆ ในหนิ เรียงลาดบั จากน้อยไปมาก (ระดับ 1 ไป ระดบั 10) ชนดิ แร่ ระดบั ความแขง็ ชนดิ แร่ ระดับความแขง็ ทัลค์ 1 หนิ ฟันม้า 6 ยิปซัม 2 ควอตซ์ 7 แคลไซต์ 3 โทแพส 8 ฟลอู อไรด์ 4 คอรนั ดมั 9 อะพาไทต์ 5 10 เพชร พิจารณาจากตาราง ขอ้ สรปุ เกย่ี วกับความแขง็ ของแร่ ข้อใดถกู ตอ้ ง (ONET’2559) 1. แรห่ ินฟนั ม้าและแร่อะพาไทต์มรี ะดบั ความแขง็ ปานกลาง ขูดกันไม่เปน็ รอย 2. แร่ทลั ค์และแรย่ ปิ ซัมขดู แร่แคลไซตเ์ ป็นรอย 3. แร่ฟลูออไรด์ขูดแร่ยปิ ซัมไม่เป็นรอย 4. แร่ทัลคข์ ูดแร่ควอตซไ์ มเ่ ป็นรอย 9. ข้อมูลแสดงลักษณะของตวั อย่างหนิ 4 ชนดิ เป็นดังนี้ ชนิดหิน ลกั ษณะของหิน A เนื้อหยาบ สีเทาอ่อนจุดสดี า มีผลกึ แรข่ นาดใหญ่ ประสานกันแน่น B เน้ือแก้ว สีเทาออ่ นเกือบบาง มีรพู รุนจานวนมาก C เนือ้ หยาบ สีขาว ประกอบด้วยเม็ดทรายขนาดเล็กจานวนมาก ยดึ ติดกันแนน่ D เนอ้ื ละเอียด สดี า กะเทาะออกเปน็ แผน่ ได้งา่ ย จากข้อมลู ขอ้ สรุปใดตอ่ ไปนี้ไมถ่ กู ต้อง (ONET’2561) 1. หิน C เกดิ จากการทับถมของตะกอน 2. เมือ่ หยดด้วยกรดเกลอื หนิ B จะเกดิ ฟองแกส๊ 3. เมอื่ นาหินไปลอยนา้ หนิ D จะจมลงกน้ ภาชนะใสน่ ้า 4. หนิ A นาไปใชป้ ระโยชน์ในการก่อสรา้ งทต่ี อ้ งการความคงทนได้ สรุปวิทยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเขา้ ม.1 จดั ทาโดย เพจวิทยาศาสตร์ ป.6 ครูกานต์
หน้า 3 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 10. ตาราง สมบตั ขิ องหนิ ชนิดตา่ ง ๆ จากข้อมลู ในตาราง ควรเลอื กใชห้ ินชนิดใดปูพ้นื หอ้ งปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์ (ONET’2550) 1. A 2. B 3. C 4. D 11. มาลสี ารวจหินในพ้นื ทห่ี นึ่ง พบซากดกึ ดาบรรพ์ดัชนขี องปะการงั X Y และ Z ในลาดบั ช้ันหนิ ตะกอน ดงั ภาพ ขอ้ ใดคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของพ้นื ท่นี ้ี และเรียงลาดับอายขุ องซากดึกดาบรรพ์ดัชนี ของปะการงั จากมากไปน้อยได้ถูกตอ้ ง (ONET’2563) สภาพแวดล้อมในอดีต อายุของซากดึกดาบรรพด์ ชั นีของปะการัง จากมากไปน้อย 1. แหลง่ นา้ จืด 2. แหลง่ นา้ จืด ZXY 3. ทะเลนา้ ตน้ื 4. ทะเลนา้ ตื้น YXZ ZXY YXZ สรุปวทิ ยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเขา้ ม.1 จดั ทาโดย เพจวทิ ยาศาสตร์ ป.6 ครกู านต์
หนา้ 4 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 12. นักเรียนคนหนง่ึ สังเกตลกั ษณะเน้อื หนิ 3 ชนิด และการเปลีย่ นแปลงของหนิ เมื่อหยดกรดเกลือได้ผลดังนี้ ชนิดหิน ลกั ษณะเน้ือหิน การเปลย่ี นแปลงเมื่อหยดกรดเกลอื A แบง่ เปน็ ช้นั ๆ ไมเ่ ปลี่ยนแปลง B สขี าวมีลวดลาย เกิดฟองแก๊ส C เป็นผลกึ หยาบมสี ามสี ไมเ่ ปลี่ยนแปลง จากข้อมลู ขอ้ สรุปใดตอ่ ไปนถี้ ูกตอ้ ง (ONET’2560) 1. หนิ A เกิดจากการทบั ถมของหนิ ปูน หนิ B มีหนิ ปนู เปน็ องค์ประกอบ และหิน C เกดิ จากการเย็นตวั ของหนิ ทีร่ อ้ นและหลอมเหลว 2. หิน A เกดิ จากการทับถมของตะกอน หนิ B เกดิ จากการแประสภาพของหนิ ปูน และหิน C เกิดจากการเยน็ ตวั ของหินที่รอ้ นและหลอมเหลว 3. หนิ A เกิดจากการทบั ถมของตะกอน หนิ B เกดิ จากการทับถมของหนิ ปูน และหิน C เกิดจากการทบั ถม ของหนิ ตา่ งกันสามชนดิ 4. หนิ A เกดิ จากการทับถมของตะกอน หนิ B เกดิ จากการแปรสภาพของหนิ ปูน และหนิ C เกดิ จากการทับ ถมของหินตา่ งกันสามชนิด 13. ตาราง ระดับความแข็งของแร่ชนิดตา่ ง ๆ ในหิน เรยี งลาดับจากน้อยไปมาก ชนดิ แร่ในหิน ระดับความแข็ง (1 - 10) เมอ่ื นาหิน 2 กอ้ นท่ีมีแร่เหลา่ นีเ้ ป็นองค์ประกอบ ทลั ก์ 1 มาทดลองไดผ้ ลดงั นี้ ยิปซมั 2 แคลไซต์ 3 ก. หิน A ขูดหนิ B เป็นรอย 4 ข. หนิ A และหนิ B ขดู แคลไซตเ์ ป็นรอย ฟลูออไรต์ 5 ค. โทแพซ ขดู หิน A และหนิ B เป็นรอย อะพาไทต์ 6 ง. หนิ A ขูดควอตซไ์ มเ่ ปน็ รอย หินฟันมา้ 7 จ. ฟลูออไรต์ขดู หนิ B ไมเ่ ปน็ รอย ควอตซ์ 8 โทแพซ 9 ข้อใดน่าจะเป็นไปได้ คอรนั ดมั 10 1. หนิ A คอื หนิ ฟันม้า หนิ B คอื อะพาไทต์ 2. หิน A คอื อะพาไทต์ หนิ B คอื หินฟนั มา้ เพชร 3. หนิ A คอื คอรนั ดัม หนิ B คือ ยปิ ซัม 4. หนิ A คอื ยปิ ซมั หิน B คือ คอรันดมั สรุปวทิ ยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเขา้ ม.1 จัดทาโดย เพจวทิ ยาศาสตร์ ป.6 ครูกานต์
Ī SCIENCE BY TEACHER KARN หนา้ 1 เน้ือหาหน่วยที่ 14 มาตรฐานและตัวช้วี ัด การขึ้นตกของดวงจันทร์ การเปล่ยี นแปลงรปู รา่ งของดวงจนั ทร์ ระบบสรุ ยิ ะ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ ว 3.1 ป.4/1-3 การขึ้นตกของกลุม่ ดาวฤกษ์ การเกิดสุรยิ ปุ ราคา การเกิดสรุ ยิ ปุ ราคา เทคโนโลยอี วกาศ ว 3.1 ป.5/1-2 1. แผนภาพ ลาดบั ข้ันตอนการเกดิ ขา้ งข้นึ ขา้ งแรมของดวงจันทร์ ว 3.1 ป.6/1-2 จากแผนภาพ ลกั ษณะของดวงจันทร์ลาดับที่ 3 ควรเป็นแบบใด (ONET’2552) 1. 2. 3. 4. 2. ขอ้ ใดกล่าวถึงดวงจันทร์ของโลกอยา่ งถูกตอ้ ง (ONET’2552) 1. มีส่งิ มชี ีวิตชน้ั ต่าอาศยั อย่บู นดวงจันทร์ 2. ผวิ ของดวงจันทร์มเี มฆปกคลมุ 3. ดวงจันทร์หันดา้ นเดมิ เข้าหาโลกตลอดเวลา 4. ดวงจันทรโ์ คจรเปน็ วงกลมรอบดวงอาทติ ย์ 3. รปู จาลองการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก 1 รอบและโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ (ONET’2556) ถ้านกั เรียนอยูบ่ นโลก ณ ตาแหนง่ ทก่ี าหนด โดยหนั หน้าไปทางทศิ เหนือ นกั เรยี นมองเห็น ดวงจันทร์ ในตาแหน่ง ท่ี 2 เหมือนกับข้อใด 1. 2. 3. 4. 4. แสงจากดวงจันทรม์ ีลกั ษณะการเกดิ เหมือนแสงในขอ้ ใด (ONET’2551) 1. แสงจากดาวตกในท้องฟา้ 2. แสงจากหลอดไฟรถยนต์ 3. แสงของเปลวเทียน 4. แสงอาทติ ย์ที่สะท้อนจากผิวน้า 5. เพราะเหตใุ ดดาวตกส่วนใหญจ่ ึงตกลงมาไม่ถึงพ้ืนโลก (ONET’2550) 1. ดาวตกถกู ดดู โดยดาวเคราะห์อ่ืน 2. ดาวตกลุกไหม้หมดกอ่ นถงึ พื้นโลก 3. ดาวตกเคล่อื นทดี่ ้วยความเร็วมากกว่าแสง 4. ดาวตกปะทะบรรยากาศของโลกจงึ เคลื่อนทช่ี ้าลง สรุปวิทยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเขา้ ม.1 จดั ทาโดย เพจวทิ ยาศาสตร์ ป.6 ครูกานต์
หน้า 2 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 6. ดวงจันทร์เปน็ ดาวท่ไี ม่มแี สงในตัวเอง ไดร้ ับแสงจากดวงอาทิตย์ ทาไมเวลากลางคืน เราสามารถมองเหน็ ดวงจนั ทร์ ด้านท่ไี ดร้ บั แสงจากดวงอาทติ ย์ได้ (ONET’2557) 1. แสงหักเหจากดวงจันทรม์ าสตู่ าเรา 2. แสงสะทอ้ นจากดวงจนั ทรม์ าสตู่ าเรา 3. แสงกระจายจากดวงจันทร์มาสู่ตาเรา 4. แสงเดินผา่ นดวงจันทร์มาสตู่ าเรา 7. ตาราง เวลาทดี่ วงอาทิตย์ข้ึนและตก ณ สถานทแ่ี หง่ หนงึ่ ในวนั เดอื น ปี ตา่ งกัน วัน เดอื น ปี เวลาทดี่ วงอาทิตยข์ ึ้น เวลาท่ีดวงอาทิตย์ตก 1 มถิ นุ ายน 2548 4.16 น. 19.32 น. 15 มถิ ุนายน 2548 4.13 น. 19.36 น. 1 กรกฎาคม 2548 4.19 น. 19.38 น. 15 กรกฎาคม 2548 4.29 น. 19.28 น. จากขอ้ มูลในตาราง วันทมี่ ชี ว่ งเวลากลางคนื ยาวท่สี ุดคือข้อใด (ONET’2550) 1. 1 มิถนุ ายน 2548 2. 15 มิถนุ ายน 2548 3. 1 กรกฎาคม 2548 4. 15 กรกฎาคม 2548 8. ถา้ เราเฝา้ มองดดู าวบนท้องฟ้าตลอดท้ังคืน เราเห็นดาวบนท้องฟ้าเคลื่อนผ่านท้องฟ้าซีกหน่ึงไปยังอีกซีกหน่ึงเนื่องจาก เหตใุ ด (ONET’2556) 1. ดาวโคจรรอบโลก 2. โลกหมนุ รอบตัวเอง 3. โลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ 4. ดาวโคจรรอบดวงอาทติ ย์ 9. ถ้ายนื หนั หนา้ ไปทางดวงอาทิตยใ์ นตอนเช้า ด้านหลงั จะเป็นทิศอะไร (ONET’2550) 1. ทิศใต้ 2. ทศิ เหนอื 3. ทศิ ตะวนั ตก 4. ทศิ ตะวนั ออก 10. เด็กหญงิ นนั ทวรรณสงั เกตดูดาวดวงหนงึ่ พบวา่ สามารถวดั มุมเงยของดาวดวงนไ้ี ด้โดยการกามือเพือ่ วดั ดงั รปู (ONET’2558) ดาวดวงนอ้ี ยสู่ งู จากพ้ืนเป็นมมุ เงยประมาณเท่าใด 1. 20 องศา 2. 40 องศา 3. 60 องศา 4. 80 องศา 11. เดก็ ชายกบสนใจการดดู าวมากจึงออกไปยืนดูดาวบนทอ้ งฟ้า ซงึ่ จะเห็นทอ้ งฟ้าเปน็ เสมอื นครงึ่ ทรงกลมครอบอย่รู อบตวั ดังรูป เส้นประท่อี ยู่รอบ ๆ ตัวของเดก็ ชายกบในรปู มชี ื่อเรียกวา่ อะไร (ONET’2557) 1. เส้นขอบฟา้ 2. เส้นเมริเดยี น 3. เส้นศนู ย์สตู รหรอื เสน้ แนวแบง่ โลกเปน็ ซีกโลกเหนอื ซีกโลกใต้ 4. เสน้ ลองจจิ ูดหรือเสน้ แนวแบง่ โลกทลี่ ากจากข้วั โลกเหนือสขู่ ัว้ โลกใต้ สรปุ วิทยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเขา้ ม.1 จดั ทาโดย เพจวิทยาศาสตร์ ป.6 ครกู านต์
หนา้ 3 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 12. เด็กชายคนหนึ่งตอ้ งการระบุตาแหน่งของดาวฤกษ์ 2 ดวง ซึง่ ปรากฏอยูบ่ นซีกฟา้ เหนอื ในทศิ ตรงข้ามกบั ทศิ ทีด่ วงอาทิตย์ตก โดยใช้มอื วดั มมุ เงยได้ผลดังตาราง ผลการวัดมุมเงยโดยใชม้ ือในข้อใดสรปุ ได้ถูกต้อง (ONET’2560) 1. ดาวฤกษ์ A ทามมุ 15 องศา ทางทิศตะวันตก 2. ดาวฤกษ์ B ทามุมเงย 20 องศา ทางทศิ ตะวนั ออก 3. ดาวฤกษ์ A และดาวฤกษ์ B อยูห่ า่ งกัน 5 องศา ทางทศิ ตะวันตก 4. ดาวฤกษ์ A และดาวฤกษ์ B อย่หู า่ งกัน 3 องศา ทางทิศตะวนั ออก 13. ถา้ เกดิ จนั ทรุปราคา คนบนโลกทีต่ าแหน่ง E จะเหน็ จันทรปุ ราคาเต็มดวงเมอ่ื ดวงจันทรอ์ ย่ตู าแหนง่ ใด (ONET’2551) 1. ตาแหนง่ A 2. ตาแหนง่ B 3. ตาแหน่ง C 4. ตาแหนง่ D 14. นกั เรียนกาลังยืนสังเกตดาวในคืนหนง่ึ โดยใชแ้ ผนทีด่ าว ดงั รูป 1 ประกอบการสังเกตซงึ่ สามารถจาลองคร่ึงทรงกลม ณ สถานทีข่ ณะที่นกั เรียนคนนย้ี นื อยู่ ดงั รูป 2 (ONET’2559) นักเรยี นกาลงั ดดู าวดวงหนงึ่ ด้วยมมุ เงย B เมือ่ ดูทแ่ี ผนทดี่ าว มุมเงย B ตรงกบั ตวั อกั ษรใดในรูป 1 1. ก 2. ข 3. ค 4. ง สรปุ วทิ ยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเข้า ม.1 จัดทาโดย เพจวทิ ยาศาสตร์ ป.6 ครูกานต์
หน้า 4 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 15. ภาพแสดงตาแหน่งของดาว 3 ดวง บนแผนที่ดาวทิศใต้ เวลา 19.00 น. ในคืนหน่ึงเปน็ ดงั ภาพ จากภาพ ดาวดวงใดตกลับขอบฟ้าเป็นลาดบั แรกและลาดับ สุดทา้ ยของคนื น้ี ตามลาดับ (ONET’2561) 1. ดาว A และ ดาว C 2. ดาว B และ ดาว C 3. ดาว C และ ดาว B 4. ดาว C และ ดาว A 16. แบบจาลองแสดงตาแหน่งของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และโลก ขณะเกิดสุรยิ ปุ ราคาคร้ังหนึง่ ซง่ึ A และ B เป็น ตาแหน่งของผูส้ ังเกตการเกิดสุริยุปราคาบนพืน้ ผิวโลกท่ีเวลาเดียวกัน เป็นดังภาพ จากภาพ ผู้สังเกต ณ ตาแหนง่ A และ B จะเห็นปรากฎการณส์ รุ ยิ ปุ ราคาแบบใด ตามลาดบั (ONET’2561) 1. สรุ ิยุปราคาวงแหวน สุรยิ ปุ ราคาเตม็ ดวง 2. สรุ ยิ ุปราคาบางส่วน สรุ ยิ ุปราคาเต็มดวง 3. สรุ ยิ ุปราคาวงแหวน สุริยปุ ราคาบางส่วน 4. สุรยิ ปุ ราคาบางส่วน สรุ ิยุปราคาวงแหวน 17. ขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการใช้ประโยชน์ของดาวเทียม 2 ดวง เปน็ ดังน้ี ดาวเทียม ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการใชป้ ระโยชน์ดาวเทียม A ภาพถ่ายแสดงปรมิ าณและสัดส่วนของพื้นท่ีปา่ ไม้ ปรมิ าณและสดั สว่ นของแหล่งน้า และ ลักษณะภูมิประเทศ B ภาพถ่ายแสดงอณุ หภูมิของพ้ืนผิวโลก อุณหภูมขิ องชั้นบรรยากาศ ความหนาแนน่ ของเมฆ ลักษณะของพายุหมนุ เขตรอ้ น และทศิ ทางการเคล่อื นทขี่ องพายุ จากขอ้ มลู ดาวเทยี ม A และ B เป็นดาวเทยี มประเภทใด ตามลาดับ (ONET’2561) 1. ดาวเทยี มสือ่ สาร และดาวเทยี มอุตุนิยมวทิ ยา 2. ดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก และดาวเทยี มอุตนุ ิยมวิทยา 3. ดาวเทียมอุตุนยิ มวิทยา และดาวเทียมดาราศาสตร์ 4. ดาวเทยี มสารวจทรพั ยากรโลก และดาวเทยี มดาราศาสตร์ 18. ข้อมลู ใดตอ่ ไปน้ี ได้มาจากการสารวจอวกาศโดยใช้กลอ้ งจนั ทรา (ONET’2560) 1. การตรวจสอบพบคลนื่ วทิ ยุทีแ่ ผ่มาจากบรเิ วณรอบ ๆ ทางชา้ งเผอื ก 2. ภาพดาราจักรทีเ่ กดิ จากสองดาราจกั รพงุ่ ชนกัน ประกอบด้วย แกส๊ ฝนุ่ และดาวฤกษ์ 3. การตรวจพบแหลง่ กาเนดิ รังสีเอกซ์บริเวณหลุมดาที่อยู่ใจกลางกาแลก็ ซที างชา้ งเผือก 4. ภาพพื้นผิวของดวงจนั ทร์ทม่ี ีลักษณะเปน็ หลมุ บ่อ หบุ เหว และภเู ขาใหญ่นอ้ ยจานวนมาก สรุปวิทยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเขา้ ม.1 จัดทาโดย เพจวทิ ยาศาสตร์ ป.6 ครูกานต์
หน้า 5 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 19. ภาพแสดงตาแหน่งที่สมั พนั ธก์ ันของโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ยใ์ นเวลาท่แี ตกต่างกนั ภาพใดแสดงการเกดิ สุริยปุ ราคา (ONET’2555) 3. ค 4. ง 1. ก 2. ข 20. เพราะเหตุใดมนษุ ยจ์ ึงมีสภาพไรน้ า้ หนกั เม่ืออยูใ่ นอวกาศ (ONET’2551) 1. ชดุ อวกาศมีน้าหนักเบา 2. ในอวกาศไมม่ ีแก๊สออกซเิ จน 3. ในอวกาศมแี รงโน้มถว่ งน้อยมาก 4. ในอวกาศมีอากาศหนาแน่นนอ้ ยมาก 21. ใน พ.ศ.2500 สภาพโซเวยี ตส่งยานสปุตนิก ซ่งึ เปน็ ดาวเทยี ม ดวงแรกขน้ึ ไปโคจรในอวกาศ ตอ่ มาพ.ศ.2504 มนุษยอ์ วกาศสหภาพโซเวียต ชือ่ ยรู ิ กาการนิ ขน้ึ ไปสารวจอวกาศเปน็ คนแรกใน พ.ศ.2512 สหรัฐอเมริกาไดส้ ่งยาน อวกาศอพอลโล 11 พร้อมมนุษยอ์ วกาศไปลงบนดวงจนั ทร์ และอกี 8 ปตี ่อมามกี ารสง่ ยานอวกาศวอยเอเจอร์ 2 ไปสารวจ ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยเู รนสั และเนปจูน จากขอ้ มูลขา้ งบน ในปีใดท่ีมีการส่งยานอวกาศไปสารวจดาวท่ีเปน็ บรวิ ารของดาวเคราะห์ (ONET’2551) 1. พ.ศ. 2500 2. พ.ศ. 2504 3. พ.ศ. 2512 4. พ.ศ. 2520 22. “ไทยคม 4 หรือ ไอพีสตาร์ เปน็ ดาวเทยี มทีอ่ อกแบบมาเพื่อให้บรกิ ารอนิ เตอร์เน็ตความเรว็ สูง เปน็ ดาวเทียมส่อื สาร เชงิ พาณิชยท์ มี่ ขี นาดใหญ่ และมนี ้าหนกั มากถงึ 6,486 กโิ ลกรมั และทนั สมัยท่สี ุดในปจั จบุ นั ส่งขึ้นสวู่ งโคจรเมื่อ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2548 มีอายุการใชง้ านประมาณ 12 ปี” จากขอ้ ความข้างตน้ เทคโนโลยอี วกาศไดเ้ ข้ามามีส่วนชว่ ย พัฒนาในหลายๆ เรอื่ ง เร่อื งใดทเี่ กยี่ วข้องน้อยท่ีสุด (ONET’2553) 1. การศกึ ษาคน้ ควา้ 2. การถ่ายทอดสญั ญาณโทรทศั น์ 3. การเกษตร 4. การคมนาคม 23. ดาวเทียมท่ีใชใ้ นการสือ่ สารระหว่างประเทศ คือ ดาวเทียมดวงใด (ONET’2551) 1. ดาวเทยี มอตุ ุนยิ มวทิ ยา 2. ดาวเทยี มโทรคมนาคม 3. ดาวเทียมสารวจทรัพยากร 4. ดาวเทียมสารวจภมู ิศาสตร์ 24. นกั เรียนใช้ส่ิงใดในการศกึ ษาวตั ถบุ นท้องฟ้าด้วยตนเอง (ONET’2550) 1. จรวด 2. ยานอวกาศ 3. ดาวเทียมส่ือสาร 4. กล้องโทรทรรศน์ สรปุ วทิ ยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเข้า ม.1 จัดทาโดย เพจวิทยาศาสตร์ ป.6 ครกู านต์
หน้า 6 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 25. แบบจาลองแสดงตาแหน่งของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ขณะเกดิ สุริยุปราคาโดยมีเงามดื และเงามัวของดวง จันทร์ตกลงบนพน้ื โลก ดงั ภาพ กาหนดให้ A B C และ D เป็นตาแหน่งของผ้สู ังเกตการเกดิ สุริยปุ ราคาบนพ้นื โลก หมายเหตุ : ภาพไมไ่ ดส้ ดั สว่ นตามความเป็นจริง ตาแหน่งใดทผ่ี สู้ ังเกตบนพ้นื โลกจะเห็นสรุ ิยุปราคาบางสว่ น และอยูใ่ นชว่ งฤดรู อ้ น (ONET’2562) 1. ตาแหนง่ A 2. ตาแหน่ง B 3. ตาแหนง่ C 4. ตาแหน่ง D 26. มนิ ตราสงั เกตดวงจนั ทรบ์ นท้องฟ้าทป่ี ลอดโปรง่ ในตอนกลางคนื เป็นเวลา 3 คืน ตอ่ เนื่องกนั และบนั ทึกผลการ สังเกตได้ดังน้ี คนื ท่ีสังเกต ผลการสังเกต 1 ไม่พบส่วนสวา่ งของดวงจันทร์ 2 เร่ิมปรากฏเสย้ี วสว่างเปน็ เส้ียวเลก็ ๆ 3 เหน็ เสี้ยวสว่างเปน็ เสี้ยวใหญ่ข้ึน หากตอ้ งการเห็นดวงจันทร์สว่างเต็มดวง มนิ ตราควรสงั เกตทอ้ งฟ้าอีกครั้งประมาณก่วี นั นบั จากคนื ที่ 1 และวันดงั กล่าว จะตรงกับวนั ขา้ งขึน้ ขา้ งแรมใด (ONET’2563) วนั ทีส่ ังเกตทอ้ งฟ้าอกี ครง้ั ตรงกบั วันข้างขน้ึ ขา้ งแรม 1. 15 วัน ถัดไป วนั ขนึ้ 15 ค่า 2. 15 วนั ถัดไป วันแรม 15 คา่ 3. 30 วนั ถัดไป วนั ขน้ึ 15 คา่ 4. 30 วนั ถัดไป วนั แรม 15 คา่ สรปุ วทิ ยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเขา้ ม.1 จัดทาโดย เพจวิทยาศาสตร์ ป.6 ครูกานต์
หนา้ 7 Ī SCIENCE BY TEACHER KARN 27. มายยืนสงั เกตตาแหนง่ ของดาว 2 ดวง บนทอ้ งฟ้าทางซีกฟ้าเหนอื ของประเทศไทยในเวลา 21:00 น. เปน็ ดงั ภาพ จากข้อมูล ข้อใดระบุมมุ เงยของดาวทงั้ สองดวงได้ถูกตอ้ ง และดาวดวงใดจะตกลับขอบฟา้ ก่อน (ONET’2563) มุมเงยของดาว ก มมุ เงยของดาว ข ดาวทตี่ กลับขอบฟ้าก่อน 1. 45 องศา 30 องศา ดาว ก 2. 45 องศา 30 องศา ดาว ข 3. 315 องศา 45 องศา ดาว ก 4. 315 องศา 45 องศา ดาว ข สรุปวิทยาศาสตร์ O-NET ป.6 & สอบเข้า ม.1 จดั ทาโดย เพจวิทยาศาสตร์ ป.6 ครกู านต์
Search