Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3_เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย

3_เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย

Published by THE FOURTH, 2021-07-12 02:33:01

Description: 3_เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย

Search

Read the Text Version

โครงสร้างเศรษฐกจิ ไทยกอ่ นการใช้แผนพฒั นาเศรษฐกจิ สนธิสญั ญาเบาวร์ ิงมี ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ ไทย ขอ้ มลู จากเพจ THE STANDARD.

สนธสิ ัญญาเบาวร์ ิงมผี ลกระทบตอ่ เศรษฐกิจไทย

ประเทศไทยไดพ้ ฒั นาเศรษฐกิจและสังคมตามแผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ เปน็ แนวทางในการพัฒนาประเทศแล้ว ๑๒ แผน ปัจจบุ นั อยใู่ นชว่ งของแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนพฒั นาแตล่ ะฉบบั มแี นวคิด วตั ถุประสงคแ์ ละแนวทาง ในการพฒั นาแตกต่างกัน เพราะปจั จยั ในการทา แผนพัฒนาแต่ละยคุ สมัยเปลย่ี นแปลงไป

สง่ ผลให้ เศรษฐกิจในประเทศดขี น้ึ มีธรุ กจิ ใหมๆ่ ประชาชนมรี ายไดม้ ากขน้ึ มีการจ้างงานเพม่ิ มากข้นึ วิถกี ารดาเนนิ ชีวติ มกี าร เปล่ยี นแปลงจากเดิม

ความสาคัญของการพฒั นาเศรษฐกจิ

“ ัปจ ัจย ่ีทไม่เ ่กียว ้ของกับเศรษฐกิจ” ทุน ทีด่ ิน แรงงาน ตลาด ความก้าวหน้าทางวิทยาการ



...ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ...

(Nation income) หรอื ผลติ ภณั ฑ์ ประชาชาติ (Nation product) ซึ่งไดแ้ ก่ ซึง่ ตวั เลขสถติ ิเหลา่ น้แี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสามารถ ในการผลิตและการบรโิ ภคของประเทศ รวมไปถึง ฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ

อตั ราการเพิม่ ขน้ึ ของท่ีอยอู่ าศยั การเพม่ิ ข้ึนของเครื่องรับสง่ วิทยุโทรทัศน์ การใชบ้ ริการไปรษณยี ์ เปน็ ต้น

แผนพัฒนาสงั คมและเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ความสาคญั ของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๔) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม ฉบบั ท่ี ๙ นโยบายสาคัญ (พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๙) • เพิ่มกาลังการผลิตของประเทศและรายได้ประชาชาติ • พฒั นากาลงั คน นโยบายสาคญั • สนบั สนนุ ความกา้ วหนา้ ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ • รักษาเสถียรภาพการเงนิ การคลัง • สนับสนุนการเพ่ิมปริมาณการผลติ ภายในประเทศ • สง่ เสริมการผลิตด้านการเกษตรท้งั ปรมิ าณและคุณภาพ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๓ • ส่งเสรมิ การออมทรพั ย์และลงทนุ ในอุตสาหกรรมของ (พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๑๙) เอกชน • พฒั นากาลังคน นโยบายสาคญั • สง่ เสรมิ สมรรถภาพของการทางานและมาตรฐานของงาน • พัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐาน • เรง่ แกไ้ ขปัญหาด้านเศรษฐกิจ • แก้ปัญหาดุลการชาระเงนิ • ยกระดับรายไดข้ องประชากร • ลดอัตราการเพ่มิ ของประชากร • ยกระดับการมีงานทา

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๔ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๒๔) (พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๒๙) นโยบายสาคัญ นโยบายสาคญั • เร่งฟนื้ ฟเู ศรษฐกิจของประเทศ • ฟ้นื ฟภู าวะเศรษฐกจิ และการเงินของประเทศ • ลดช่องวา่ งทางเศรษฐกิจและสังคมให้นอ้ ยลง • ปรบั โครงสรา้ ง เพิม่ ประสิทธภิ าพทางเศรษฐกจิ • ลดอัตราการเพมิ่ ประชากร • พัฒนาและกระจายบรกิ ารทางสงั คม • ปรับปรงุ การบริหารทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อมของชาติ • แก้ปญั หาความยากจนในชนบท • สนับสนนุ ขดี ความสามารถในการปอ้ งกนั ประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๔) นโยบายสาคัญ • พัฒนาสหกรณใ์ หม้ ีความเขม้ แขง็ • ปรบั ปรงุ การผลติ และการตลาดของสหกรณ์ • สง่ เสรมิ สหกรณใ์ ห้มอี งค์กรชั้นสงู • สง่ เสริมการจดั ตงั้ สหกรณ์ใหม่

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๓๙) (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๔) นโยบายสาคัญ นโยบายสาคญั • รักษาอตั ราขยายตวั ทางเศรษฐกจิ • เสริมสร้างศกั ยภาพของคน • การกระจายรายไดส้ ชู่ นบท • พัฒนาสิง่ แวดล้อมของสังคม • พัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ • พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหม้ เี สถยี รภาพ • ปรับระบบบริหารจดั การ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙) นโยบายสาคัญ • สรา้ งความเขม้ แข็งของชมุ ชน • พฒั นาเมอื งน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ • พฒั นาความเชอ่ื มโยงชนบทและเมอื งอยา่ งเกอื้ กลู

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔) (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) นโยบายสาคัญ นโยบายสาคัญ • พฒั นาคนใหม้ ีคุณภาพ คณุ ธรรม • พฒั นาคนสสู่ งั คมแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ อยา่ งยัง่ ยนื • เสรมิ สร้างเศรษฐกิจใหม้ เี สถยี รภาพและเปน็ ธรรม • สรา้ งความเขม้ แขง็ ภาคเกษตร รวมถึงความมั่นคงของ • สร้างความมนั่ คงทางทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ ม • พฒั นาระบบบริหารจัดการประเทศใหเ้ กดิ ธรรมาภิบาล อาหารและพลงั งาน • ปรับโครงสร้างเศรษฐกจิ ให้เตบิ โตอย่างมคี ุณภาพและ ยั่งยนื • สร้างความเชือ่ มโยงกับประเทศในภมู ิภาค เพื่อความมัน่ คงทางเศรษฐกิจและสงั คม

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔

แผนพัฒนาฉบับท่ี ๙ ซึ่งแนวทางหลกั ในการสร้างภมู ิคมุ้ กัน ประกอบด้วย ได้ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยกาหนดวสิ ัยทัศนว์ ่า ๑.การพัฒนาคนและสงั คมไทยสู่สงั คมคุณภาพ ๒.การปรบั โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ สทู่ ศิ ทางการเตบิ โตอยา่ งมีคณุ ภาพและยัง่ ยืน “สงั คมอย่รู ว่ มกนั อย่างมคี วามสขุ ๓.การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งย่ังยนื ด้วยความเสมอภาค เปน็ ธรรม และมีภมู คิ มุ้ กัน ต่อการเปลยี่ นแปลง”

ความสาคญั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอ่ สังคมและเศรษฐกจิ ของไทย การพฒั นาคนและสังคมไทยส่สู ังคมคุณภาพ สามารถจดั การกบั ความเสี่ยงและปรับตวั เข้ากับการเปลีย่ นแปลง ในขณะเดียวกันกส็ ่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม และการเมืองของประเทศอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และมุง่ พัฒนาทรพั ยากรบุคคล อนั มแี นวทางสาคัญ ได้แก่ การสร้างความเปน็ ธรรมในสังคม การพัฒนาคนส่สู ังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต

การปรบั โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจส่ทู ศิ ทางการเตบิ โตอยา่ งมีคณุ ภาพและยัง่ ยืน เน้น



ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงกับการประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพียงสาหรับประชาชนท่ัวไป



เศรษฐกจิ พอเพยี งสาหรบั ภาคอุตสาหกรรม การค้าและบรกิ าร “ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในภาคอุตสาหกรรม”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook