Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter6

chapter6

Published by ปราโมทย์ พรหมขันธ์, 2018-09-30 21:33:02

Description: chapter6

Search

Read the Text Version

129 บทท่ี 6 การออกแบบ สราง พฒั นาและประยุกตใ ชนวตั กรรมการศึกษา การออกแบบ สราง พัฒนา และประยุกตใชนวัตกรรมการศึกษา ผูเขียนนําผลการวิจัยเรื่อง การพัฒนาความสามารถของครูดานการออกแบบและสรางนวัตกรรมการศกึ ษาโดยใชก ารวจิ ัยเปนฐาน (ปราโมทย พรหมขันธ, 2556) ที่พบวา กระบวนการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ประกอบดวย 4 ข้ันตอน ไดแก ข้ันการออกแบบ ข้ันการพัฒนา ข้ันการนําไปทดลองใชและขั้นการประเมินผล โดยมีภาระงานเพื่อกําหนดกิจกรรม จํานวน 16 ใบงาน มาปรับเปนเนื้อหาสาํ หรบั บทนี้ กระบวนการออกแบบและพัฒนานวตั กรรมการศกึ ษา แสดงเปน ภาพไดด ังตอ ไปนี้ ภาพที่ 6.1 กระบวนการออกแบบและพฒั นานวัตกรรมการศกึ ษา ท่มี า: ปราโมทย พรหมขันธ, 2556: 111

130การออกแบบนวัตกรรมการศกึ ษา (designing) การออกแบบนวัตกรรมการศึกษาเร่ิมจากการวิเคราะหปญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียน แลวเลือกปญหาสําคัญเรงดวนเพ่ือมาแกไข จากนั้นกําหนดแนวทางในการแกไขปญหาหรือพัฒนาการการเรียนรูของผูเรยี น เลือกประเภทของนวัตกรรมการศกึ ษา ทฤษฏีการเรยี นรูและกลยทุ ธการสอนท่ีเหมาะสม กําหนดวัตถุประสงคการเรยี นรูท่ีตองการใหเกิดข้ึนกับผูเรียน วเิ คราะหลักษณะของผูเรียนวาเปนลีลาการเรียนรูอยางไร มีพื้นฐานความรูเดิมหรือทักษะอยูในระดับใด จากน้ันวิเคราะหภาระงานที่จะนําผูเรียนไปสูผลลัพธการเรียนรูท่ีผูสอนกําหนวัตถุประสงคไว ภาระงานที่ผูเ รยี นตองปฏิบตั ิประกอบไปดว ยใบงานท่ี 1-12 ดังภาพท่ี 6.2 ภาพที่ 6.2 ขนั้ ตอนการออกแบบนวตั กรรมการศึกษา ท่มี า: ปราโมทย พรหมขนั ธ, 2556: 111

131 จากภาพท่ี 6.2 สามารถนําเสนอรายละเอียดของข้ันตอน ภาระงาน และกิจกรรม ในการออกแบบนวัตกรรมการศกึ ษา เปน ตารางกิจกรรม ไดดังน้ีตารางที่ 6.1 ใบงานท่ี 1 การวิเคราะหปญ หาการเรยี นการสอนในชน้ั เรยี นขน้ั ตอนที่ ภาระงาน กิจกรรม1 การวเิ คราะหปญหาการเรียนการสอนในชั้นเรยี น ใหนักศึกษาครูวิเคราะหปญหา การเรียนการสอนในช้ันเรียนใน ส ถ า น ศึ ก ษ า จ ริ ง (unguided project)คําอธิบายใบงานที่ 1 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานน้ี คอื ใหนักศึกษาครูศึกษาลักษณะของปญหาการเรยี นการสอนในช้ันเรียน ของนกั เรียน ในสถานศกึ ษาจริง โดยสามารถวเิ คราะหปญหาได 3 แนวทางไดแก 1) การสํารวจชั้นเรียน 2) การวิเคราะหพฤติกรรมในช้ันเรียน 3) การศึกษาเฉพาะกรณี โดยการวเิ คราะหปญหา อยา งนอ ย 3 ลกั ษณะ ไดแก 1) ปญ หาการเรียนการสอนท่ีเกดิ ข้ึนจากผเู รยี น 2) ปญ หาท่ีเกิดขึน้ จากการจัดการเรียนการสอนตามปกติ และ 3) ความตองการของผูสอนที่ตอ งการพัฒนาการเรียนการสอนดว ยวธิ ีการ แนวคิด หลกั การ หรอื ทฤษฎีการเรยี นรูแบบใหม ควรระมัดระวังวา ปญหาการเรียนการสอนท่ีนักศึกษาครูวิเคราะห เปนอุปสรรค ขอจํากัด หรือเปนปญหาการเรียนการสอนท่ีแทจริง ซ่ึงสามารถแกไ ขปญหาการเรยี นการสอนไดดว ยนวัตกรรมการศกึ ษา

132ตารางท่ี 6.2 ใบงานที่ 2 การจดั ลําดบั ความสาํ คญั ของปญหาการเรียนการสอนในชน้ั เรยี นขนั้ ตอนที่ ภาระงาน กจิ กรรม2 การจดั ลําดบั ความสาํ คัญของปญหาการเรยี นการสอน ใ ห นั ก ศึ ก ษ า ค รู จั ด ลํ า ดั บ ในชนั้ เรยี น ความสําคัญของปญหาการเรียน การสอน ท่ีท่ีพ บจากขอมูลใน ข้ันตอนท่ี 1 เมื่อนํามาเรียงลําดับ ความสําคัญวา ปญหาการเรียน การสอนใดควรนํามาแกไขกอน และหลังตามลําดับ และใหเลือก เพียงปญ หาที่สําคัญที่สุดหน่ึง ปญหาคาํ อธบิ ายใบงานที่ 2 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานนี้ คือ ใหนกั ศึกษาครูจัดลําดบั ความสาํ คญั ของปญ หาการเรยี นการสอนที่พบจากขอ มูลในใบงานท่ี 1 แลว นํามาเรยี งลาํ ดบั ความสาํ คญั วา ปญ หาการเรยี นการสอนใดควรนาํ มาแกไ ขกอ นและหลงั ตามลําดับ และใหเลือกเพียงปญ หาทส่ี าํ คัญท่ีสดุ เพยี งปญหาเดียว วธิ ีการนาํ เสนอคือ การสรางตาราง 2 คอลัมน แลวนาํ ช่ือปญหาที่เปนขอ ความเขยี นลงในคอลัมนดานซา ยมือ และดา นขวามอื ใสต วั เลขลาํ ดบั ความสําคัญ โดยไมตองเรยี งลาํ ดับกันกไ็ ด

133ตารางท่ี 6.3 ใบงานท่ี 3 การวิเคราะหส าเหตุของปญ หาการเรยี นการสอนในช้ันเรยี นขัน้ ตอนท่ี ภาระงาน กจิ กรรม3 การวเิ คราะหสาเหตุของปญ หาการเรยี นการสอนในชั้น ใน ขั้น ตอน น้ี ให นักศึกษ าครู เรยี นทเี่ ลอื กแกไ ขหรอื พฒั นา วิเคราะหถึงสาเหตุของปญหาที่ เลือกจากข้ันตอนท่ี 2 วาเกิดมา จากอะไรบางคําอธิบายใบงานที่ 3 : ภาระงานท่ีมอบหมายในใบงานนี้ คือ ใหนกั ศึกษาครูวิเคราะหปญหาทเี่ ลือกวามีสาเหตุมาจากอะไรบาง โดยผูสอนบรรยายเนื้อหาทเี่ กี่ยวกับการคนหาสาเหตกุ ารเรยี นการสอนท่ีคํานงึ ถึงผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ทน่ี วัตกรรมการศกึ ษาจะสามารถแกไขหรอื พัฒนาได โดยชี้ใหเห็นถึงขอแตกตา งของพฤติกรรมที่สงผลถึงการเรียนรูของผูเรียน วาพฤติกรรมดานใดบางที่ถือวาเปนปญหาทางการเรียนการสอน และพฤติกรรมดานอื่นท่ีควรจัดใหเปนอปุ สรรคตอการเรียนรู ซ่งึ หากแกไขอุปสรรคนั้นไดแ ลวก็

134จะไมใชป ญ หาการเรียนการสอนตอไปตารางที่ 6.4 ใบงานท่ี 4 สรปุ ผลการคดั เลือกปญ หาการเรยี นการสอนในชั้นเรยี นขัน้ ตอนท่ี ภาระงาน กจิ กรรม4 สรุปผลการคดั เลือกปญหาการเรยี นการสอนในช้นั ใหนักศึกษาครูสรุปปญหาการ เรยี นท่ตี อ งการแกไขหรือพัฒนา เรียนการสอนที่เลือกมาพิจารณา แกไขหรือพัฒนาดวยนวัตกรรม การศึกษา 3ประเดน็ ไดแ ก 1) ส่ิง ที่คาดหวัง หรือสภาพที่ควรจะ เปน 2) ชื่อปญหาการเรียนการ สอน และ 3) สภาพที่เปนอยูใน ปจ จุบันคําอธิบายใบงานที่ 4 : ภาระงานท่ีมอบหมายในใบงานน้ี คือ ใหนักศึกษาครูสรุปปญหาการเรียนการสอนท่ีเลือกมาพิจารณาแกไขหรือพัฒนาดวยนวัตกรรมการศึกษา มีขอบขายการสรุป 3 ประเด็น โดยไมตองเรียงลําดับกอนหลัง ไดแก 1) สิ่งท่ีคาดหวัง หรือสภาพที่ควรจะเปน หมายถึง ส่ิงที่นักศึกษาครูวิเคราะหปญหาแลวพบวา มีแนวทางท่ีสามารถแกไขหรือพัฒนาผูเรียนใหมีศักยภาพสูงข้ึนได 2) ช่ือปญหาท่ีไดขัดเกลา เรียบเรียงทําใหเปนประโยคท่ีส่ือความหมายและสะทอนถึงปญหาไดชัดเจนวาตองการสรางนวัตกรรมการศึกษาและนําไปทดลองใชเพ่ือแกไขปญหา หรือพัฒนาผูเรียนในดานใด เชนดานความรู ความสามารถ ทักษะ หรือ เจตคติ 3) สภาพที่เปนอยูใ นปจจุบัน หมายถึง สภาพของการ

135จดั การเรยี นการสอนในปจจุบันตามการรบั รขู องนกั ศกึ ษาครูตารางที่ 6.5 ใบงานที่ 5 แนวทางในการออกแบบและพัฒนานวตั กรรมการศกึ ษาขั้นตอนท่ี ภาระงาน กิจกรรม5 แนวทางในการออกแบบและพัฒนานวัตกรรม ใหนักศึกษาครูสรุปประเด็นดาน การศึกษาเพ่อื พัฒนาหรือแกไ ขปญ หาการเรยี นการสอน แนวทางในการออกแบบและ ในชน้ั เรียน พฒั นานวัตกรรมการศึกษา พรอ ม ทั้งใหเหตุผลวา ทําไมแนวทาง ดังกลาวจะสามารถพัฒนาหรือ แกไขปญหาการเรียนการสอนท่ี นกั ศึกษาครูเลือกไดคาํ อธบิ ายใบงานท่ี 5 : ภาระงานท่ีมอบหมายในใบงานนี้ คอื ใหนกั ศึกษาครูขอสรุปแนวทางในการแกไขหรือพัฒนาปญหาการเรียนการสอนโดยใชนวัตกรรมการศกึ ษา พรอ มท้ังใหเ หตุผลวา ทําไมแนวทางแตล ะแนวทางดังกลาวจะสามารถแกไ ขหรอื พัฒนาปญหาการเรยี นการสอนที่นักศกึ ษาครูกาํ หนดได

136ตารางท่ี 6.6 ใบงานท่ี 6 การเลือกนวัตกรรมการศกึ ษาใบงานที่ ภาระงาน กิจกรรม6 การเลอื กนวัตกรรมการศกึ ษาเพอ่ื การแกไ ขหรือพฒั นา ให นั กศึกษ าครูวางแผน ที่จ ะ ปญหาการเรียนการสอนในช้ันเรียน สรางสรรคนวัตกรรมการศึกษาท่ี สามารถ แกไขหรอื พัฒนา ปญหา การเรียนการสอนท่ีนักศึกษาครู กําหนดไดคําอธิบายใบงานท่ี 6 : ภาระงานท่ีมอบหมายในใบงานนี้ คอื ใหนักศึกษาครูวางแผนท่ีจะสรางสรรคนวัตกรรมการศึกษาที่สามารถ แกไข/พัฒนา ปญหาการเรียนการสอนที่นักศึกษาครูกําหนดได โดยการเลือกนวัตกรรมการศึกษา ท่ีอาจมีผูเผยแพร แลวนํานวัตกรรมน้ันมาทดลองใช หรือ ประดิษฐคิดคน ดัดแปลงสิ่งท่ีมีอยูเดิม หรือสรา งสรรคน วัตกรรมการศึกษาขนึ้ มาใหมก็ได และนักศึกษาครตู อ งระบุลักษณะและรายละเอียดของนวตั กรรมที่จะสรา งสรรคว าเปนอยางไร มลี ักษณะทเ่ี ปน รปู ธรรมแบบใด หรือเปนวิธีการ แนวคิดเชนใด ในข้ันน้ีผูสอนไมไดชี้นําถึงนวัตกรรมที่มีอยูในปจจุบัน ซึ่งอาจจะสอดคลองกับโครงงานการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาของนักศึกษาครูแตละคน โดยมีวัตถปุ ระสงคเพื่อใหนักศึกษาครูพยายามคิดทีจ่ ะสรางสรรคง านโดยเปนผูรเิ ริ่มเอง ไมเลียนแบบแนวคดิจากผอู น่ื

137ตารางที่ 6.7 ใบงานท่ี 7 การวเิ คราะหเนอ้ื หาใบงานท่ี ภาระงาน กจิ กรรม7 การวิเคราะหเน้ือหาเพื่อการแกไ ขปญ หาการเรยี นการ ใหนักศึกษาครูวิเคราะหเนื้อหาท่ี จะใชสําหรบั นวัตกรรมการศกึ ษาท่ี สอนในช้ันเรียน สามารถ แกไข/พัฒนา ปญหาการ เรียนการสอน โดยนําเสนอใน รู ป แ บ บ ข อ ง Mind Map ซึ่ ง ผูสอนไดช้ีแนะแนวทางโดยการ นําเสนอเปน ใบงานที่ 7 ดังภาพคําอธิบายใบงานที่ 7 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานนี้ คือ ใหนักศึกษาครูวิเคราะหเน้ือหาที่จะใชสําหรบั นวัตกรรมการศึกษาท่ีสามารถ แกไข/พัฒนา ปญหาการเรียนการสอน โดยผสู อนจะบรรยายและใหแนวทางเกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษาที่เก่ียวของกับรายวิชาท่ีนักศึกษาครูรับผิดชอบ ในลักษณะของภาพรวม และมอบหมายใหดาํ เนนิ การสืบคน จากอินเทอรเนต็ และคน ควา จากแหลงเรียนรตู างๆเพม่ิ เตมิ

138ตารางท่ี 6.8 ใบงานที่ 8 การคัดเลอื กเนื้อหาใบงานที่ ภาระงาน กจิ กรรม8 การคดั เลอื กเน้ือหาเพ่อื การแกไ ขปญ หาการเรยี นการ ให นั กศึกษ าครูเลือกเน้ือหาท่ี เหมาะสมเพียง 1 หัวขอเร่ืองจาก สอนในช้นั เรยี น ใบงานท่ี 7คําอธิบายใบงานท่ี 8 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานน้ี คือ ใหนักศึกษาครูเลือกเน้ือหาที่เหมาะสมเพียง 1 หัวขอเร่ือง จากใบงานที่ 7 เน่อื งจากหากใชเนื้อหาทัง้ หมดของรายวิชาที่กลุมเปาหมายเรียนทั้งภาคการศึกษาจะไมสามารถนํานวัตกรรมไปทดลองใชกับเนื้อหาทั้งหมดได โดยมีแนวความคิดท่ีวาหากนักศกึ ษาครูสามารถนําเนื้อหาที่เลือกแลวบรรจุไวในนวัตกรรมที่นักศึกษาครูออกแบบและพัฒนาไดแ ลวเพียง 1 หนวยการเรียนรู ดังน้ันเน้ือหาสวนอื่นๆทั้งหมด นักศึกษาครูก็จะสามารถทําไดเชนกัน โดยอาจเปลีย่ นแปลงนวตั กรรมหรอื แนวทางในการออกแบบไดอ ยา งสรางสรรค

139ตารางที่ 6.9 ใบงานท่ี 9 แนวคดิ การหรือทฤษฏีการเรียนรูใบงานที่ ภาระงาน กจิ กรรม9 แนวคดิ หรอื ทฤษฏกี ารเรียนรทู ีน่ ํามาใช ใ ห ก ลุ ม นั ก ศึ ก ษ า ค รู ร ว ม มื อ กั น ป รึ ก ษ า ห า รื อ แ ล ก เป ลี่ ย น ความคิด เกี่ยวกับแนวคิดหรือ ทฤษฎีการเรียนรูท่ีนําจะมาใชกับ นวัตกรรมการศกึ ษาคําอธิบายใบงานที่ 9 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานนี้ คือ ใหนักศึกษาครูแยกลุม แลวรวมมือกันปรึกษา หารือ แลกเปลีย่ นความคดิ เกยี่ วกับแนวคิดหรือทฤษฎีการเรยี นรูทน่ี ําจะมาใชรว มกับการทดลองใชนวัตกรรมการศึกษา ผูสอนบรรยายแนวคิดและหลักการของทฤษฎีที่เกี่ยวกับการเรียนรู 3 หลักการไดแก กลุมพฤตกิ รรมนยิ ม กลุมปญญานิยม และกลุมคอนสตรัคตวิ ิสต จากน้ันนกั ศึกษาครูแตละคนสรุปเน้ือหาของแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู โดยใหระบุวาเกี่ยวของกับทฤษฎีการเรียนรูแบบใด มีหลักการวัตถุประสงคและมีข้ันตอนอยางไร กรณีที่นักศึกษาครูเลือกรูปแบบการสอน (model) ควรสรุปองคประกอบ และผลทผี่ เู รยี นจะไดรับจากการเรียนตามรูปแบบนน้ั ๆ เพมิ่ เตมิ ดวย

140ตารางที่ 6.10 ใบงานที่ 10 การกาํ หนดวัตถุประสงคข องการเรยี นรูใบงานที่ ภาระงาน กิจกรรม10 การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคข องการเรยี นรู ให ส ม า ชิ ก ก ลุ ม ร ว ม กั น กําหนดวัตถุประสงคเชิง พฤติกรรม ที่ผูเรียนจะ เรียน รูผานน วัตกรรม การศกึ ษาที่ออกแบบและ สรางขึน้คําอธิบายใบงานท่ี 10 : ภาระงานท่มี อบหมายในใบงานนี้ คือ ใหนักศึกษาครูกําหนดวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของการเรียนรู ที่ผูเรียนจะเรียนรูผานนวัตกรรมการศึกษาท่ีออกแบบและพัฒนาข้ึน โดยสามารถตรวจสอบไดจากพฤตกิ รรม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หรือคะแนนจากการทดสอบท้ังกอนและหลงั เรยี นรเู นอ้ื หาผา นนวตั กรรมการศกึ ษา

141ตารางที่ 6.11 ใบงานที่ 11 การวเิ คราะหผ เู รียนที่เปนกลุมเปา หมายใบงานที่ ภาระงาน กิจกรรม11 การวเิ คราะหผเู รียนท่เี ปน กลุมเปา หมาย ใหสมาชิกกลุมศึกษาและวิเคราะห ข อ มู ล พื้ น ฐ า น ข อ ง ผู เ รี ย น ท่ี เ ป น ก ลุ ม เป า ห ม า ย สํ า ห รั บ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม การศกึ ษาคาํ อธิบายใบงานที่ 11 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานน้ี คอื ใหนกั ศึกษาครูศึกษาและวิเคราะหขอมลูพนื้ ฐานของผูเรียนรายบุคคลท่ีเปนกลุมเปาหมาย สําหรับการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาเชน จํานวนของผเู รียน อายุ เพศ ระดับความรพู ื้นฐานในรายวชิ า และอาจรวมถึง ภูมิหลังทางครอบครัวบุคลิกภาพ สุขภาพ ความสนใจของผูเรียน ความถนัด ลักษณะนิสัย ลีลาการเรียนรู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ซ่งึ เปน ขอ มลู ที่นักศึกษาครูควรรูเกี่ยวกับผเู รียน เปนตน

142ตารางท่ี 6.12 ใบงานท่ี 12 การวิเคราะหงานใบงานที่ ภาระงาน กจิ กรรม12 การวเิ คราะหงาน ใหนักศึกษาครูวิเคราะหงานที่ผูเรียน ตองปฏิบัติใน ขณ ะนําน วัตกรรม การศกึ ษาไปทดลองใชจ ริงคาํ อธิบายใบงานที่ 12 : ภาระงานท่ีมอบหมายในใบงานนี้ คอื ใหนักศกึ ษาครวู เิ คราะหงานท่ผี เู รยี นตองทําในขณะนํานวัตกรรมการศึกษาไปทดลองใชจริง ทั้งน้ีนักศึกษาครูตองดําเนินการทดสอบนวัตกรรมกับกลุมเปาหมายบางสว นกอ น หรอื เลือกกลุมเปา หมายอ่นื ท่ีมีคณุ ลกั ษณะท่ีใกลเคยี งกับกลุมเปาหมายจรงิ เพ่ือทดสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรมและปรบั ปรุงนวตั กรรมใหส มบูรณกอนนําไปทดลองใชจ ริง

143การสรา ง พัฒนาและประยุกตใชนวัตกรรมการศกึ ษา (creatiing, developing andapplying in innovational education) การสรางนวัตกรรมการศกึ ษา หมายถึง การประดษิ ฐตนแบบของนวตั กรรม อาจเปน การคิดข้ึนมาใหมท้ังหมด หรือนําเทคโนโลยีมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนทางการศึกษา สวนกระบวนการพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษา เปนการนําของเกามาดัดแปลงหรือปรบั ปรุง เพ่ือใหสามารถแกปญหาการเรียนการสอนและทาํ ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผูเขียนไดกําหนดใหการสรางนวัตกรรมการศึกษา เปนขั้นตอนของการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ดังนั้น การสรางนวัตกรรมการศึกษาในความหมายของผเู ขียน คือ การสรา งนวตั กรรมที่คิดขึ้นมาใหมห รือปรบั ปรุงของเดิม ผานข้ันตอนของการพัฒนานวัตกรรม ประกอบไปดวย การนําไปทดลองใช ศึกษาผลการทดลองใช ปรับปรุงแกไขและหาประสทิ ธิภาพของนวตั กรรม นําไปเผยแพรเพ่อื จนเกิดการยอมรบั ในวงการศกึ ษา จนกลายเปนเทคโนโลยกี ารศกึ ษาตอ ไป นวตั กรรมอาจอยูในรปู แบบตางๆ กนั แลว แตลักษณะของปญหาการเรียนการสอน อาจมีลักษณะเปนแนวความคิด หลักการ แนวทาง ระบบ รูปแบบ วิธีการ เทคนิคกระบวนการ หรือส่งิ ประดิษฐและเทคโนโลยี นวัตกรรมการศกึ ษาจะประกอบไปดวย หลักการ วัตถุประสงค โครงสรา งรายละเอียดในการใชนวัตกรรมนั้นใหไดผล การสรางนวัตกรรมการศึกษา ผูสรางตองกําหนดเปาหมายในการจัดทํา ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการสราง วิธีการสรา ง การนําไปประยุกตใชใหมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลผล รวมถึงความคุมคาตอการนําไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผูเขียนศึกษางานของ ทิศนา แขมมณี (2548) สุคนธ สินธพานนท (2551) พิมพันธ เดชะคุปตและ พเยาว ยินดีสุข (2551) และ ณัฐกร สงคราม (2553) นําเสนอแนวทางการสรางนวัตกรรมการศกึ ษา ดังตวั อยา งตอไปน้ีลาํ ดับที่ ประเภทนวัตกรรม ชอ่ื นวตั กรรม 1 วสั ดหุ ลักสตู ร ชุดการเรยี นการสอน 2 วสั ดหุ ลกั สูตร หนงั สืออานเพ่มิ เตมิ 3 วัสดุหลกั สูตร หนังสือการต ูน 4 การเขยี นเชงิ สรางสรรค หนังสือนทิ าน 5 ชดุ กิจกรรม แบบฝก ทกั ษะ 6 ชดุ กิจกรรม บทเรียนคอมพิวเตอรม ัลติมีเดีย 7 เทคนิคการสอน วธิ ีสอนโดยใชเ ทคนิคแบบหมวกหกใบ 8 วธิ สี อน การใชเ กมประกอบการสอน 9 วิธีสอน วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา 10 วิธีสอน วธิ ีสอนโดยการจัดการเรยี นรูแบบ 4 MAT

144ตารางที่ 6.13 แนวทางการสราง พฒั นาและประยกุ ตใ ชน วตั กรรมชดุ การเรียนการสอนช่อื นวัตกรรม องคประกอบ ขั้นตอนกชดุ การเรยี นการสอน 1. หวั ขอ 1. เลอื กหวั ขอ1. สาํ หรบั ครู 2. หวั ขอยอย 2. กําหนดเนอ้ื หา2. สาํ หรับกจิ กรรมกลุม 3. จุดมงุ หมายหรือเหตผุ ล 3. เขยี นจดุ ประสงคเ ชงิ พ3. สาํ หรบั รายบุคคล 4. จดุ ประสงคเ ชงิ พฤติกรรม 4. สรางแบบทดสอบ4. แบบผสม 5. การทดสอบกอนเรยี น 4.1 แบบทดสอบวัดค 6. การประเมินตนเอง 4.2 แบบทดสอบยอ ย 7. การทดสอบยอ ย 4.3 แบบทดสอบวดั ผ 8. การทดสอบหลังเรยี น 5. จดั ทาํ ชดุ การสอน ปร 5.1 บัตรคาํ ส่ัง 5.2 บัตรปฏิบัติการแ 5.3 บัตรเนอื้ หา 5.4 บัตรฝกหดั และบ 5.5 บัตรทดสอบและ 6. วางแผนจัดกจิ กรรมก - ผูเรยี นทาํ กิจกรรมด - จัดกิจกรรมหลากห 7. การรวบรวมและจดั ท

น การจดั กิจกรรม 144การสรา ง ขั้นท่ี 1 เราความสนใจของผเู รยี น เชน ทบทวนความรเู ดิมพฤตกิ รรม ใชเ กม ปรศิ นา และคําถาม เปนตน ขัน้ ที่ 2 แจง จุดประสงคการเรยี นรูความรเู ดมิ ขั้นที่ 3 ใหผูเ รยี นศกึ ษาชดุ การเรียนการสอน ดงั น้ียผลสมั ฤทธ์ิ 3.1 ศกึ ษาคาํ ช้ีแจงและปฏิบตั ิตามอยางเครง ครดัระกอบดวย 3.2 ศกึ ษาบัตรคําสัง่ 3.3 ศกึ ษาและปฏิบัตกิ จิ กรรมและบตั รเฉลย 3.4 ศกึ ษาบตั รเนือ้ หา 3.5 ทาํ บัตรฝก หดั และตรวจสอบคาํ ตอบเฉลยบตั รเฉลย 3.6 ทาํ บัตรทดสอบะบัตรเฉลย 3.7 ประเมินตนเองจากบตั รเฉลยและใหคะแนนการเรยี นการสอน ขัน้ ที่ 4 ผูเรียนและผสู อนสรปุ ทบทวนความรูดว ยตนเองหลายและมสี ว นรว มทํานวัตกรรมการศึกษา

145ตารางที่ 6.14 แนวทางการสรา ง พฒั นาและประยุกตใชน วตั กรรมหนงั สอื อา นเพิม่ เติมชอ่ื นวตั กรรม หลักการสรางหนังสหนังสืออา นเพ่ิมเตมิ คือหนังสือที่สรา งข้ึน 1. โครงสรางหรือรูปแบบของขอความ หมสํ า ห รั บ ก า ร อ า น ศึ ก ษ า ค น ค ว า ความคดิ ใหผอู า นเขาใจไดดที ี่สุด ดว ยระบประกอบการเรียนในกลุมสาระตางๆ ที่มี คดิ และธรรมชาติความสัมพันธของความคเน้อื หาสาระเพิ่มเตมิ จากหลักสตู รใหลึกซ้ึง สาขาวิชาที่ผเู ขยี นตอ งการนําเสนอและกวางขวางยิ่งขน้ึ แบง เปน 2. เอกภาพ หมายถึง ความเปนอนั หน่ึงอั5.1 หนงั สือเรยี น และเสนอเนื้อหาใหสอดคลอ งกับวัตถุประ5.2 หนงั สือเสรมิ ประสบการณ แบงเปน 3. สัมพันธภาพ หมายถึง การเชื่อมโยงค5.2.1 หนงั สืออานนอกเวลา ต้ังแตความคิดยอย ขยายออกไปสูความ5.2.2 หนงั สืออา นเพ่ิมเตมิ ใหผูอานสามารถเขาใจเชื่อมโยงของแตล5.2.3 หนงั สืออเุ ทศ (หนงั สอื สาํ หรับใช เขา ใจจดุ มงุ หมายของผูเขียนคนควา อางองิ เรียบเรยี งเชิงวิชาการ) 4. จุดเนน ผูเขียนตองมีวิธีเนนหรอแนะให5.2.4 หนังสอื สงเสรมิ การอา น ยอย อะไรเปนความคิดหลักหรือความ5.2.5 แบบฝกหดั ขอ ความสาํ คญั ไวเปนประโยคแรกหรือปร เนอื้ หามากกวาสวนอน่ื 5. ความสามารถหรือคุณสมบัติของผูอ สติปญญา ความรูและประสบการณเดิมข

มสอื อา นเพิ่มเติม ขั้นตอนการเขียนหนังสอื อา นเพิ่มเติมมายถงึ การกาํ หนดเนื้อหาสาระและ 1. กําหนดจดุ มุง หมายของการเขยี นใหชัดเจนบบหรือวธิ กี ารจัดหรือเรยี บเรียงความ 2. กําหนดช่ือเร่ืองหรือหัวเรื่อง ใหครอบคลุมคดิ เหลานั้น หลกั การหรอื ทฤษฎีของ เนื้อหาของเร่ืองท่ีจะเขียนโดยตองมีความรูหรือมี หนังสือ ตาํ ราเอก สารอางอิงเพียงพอทจ่ี ะเขียนนเดยี วกัน คือ ผเู ขียนตองเรียบเรียง 3. กาํ หนดแนวทางการเขยี นหนังสอื เชนะสงคท ต่ี ั้งไว 3.1 เนน ทฤษฎีหรอื เนอื้ หาสาระเปน หลกัความคิดหน่ึงเขากับอีกความคิดหนึ่ง 3.2 เนนภาคปฏบิ ัตแิ ละมีเนอื้ หาเปนสวนเสรมิคิดหลักของเร่ืองในลักษณะที่จะทํา 3.3 เนนทัง้ ทฤษฎแี ละภาคปฏิบัติ 145ละความคิดท่ีมีความสัมพันธใกลชิด 3.4 เนนท้ังทฤษฎีและภาคปฏิบัติ แทรกคติ หรอื ขอคิดตางๆ รวมถงึ แบบฝก หัดหผูอา นแยกไดว า อะไรเปนความคดิ 4. กําหนดโครงเรอ่ื งของหนังสือมคิดสําคัญของเร่ือง โดยการเสนอ 5. กําหนดขอบขายเนือ้ หาระโยคสดุ ทา ยของยอหนา หรือเสนอ 6. เขยี นรา งตน ฉบับ 7. ใหผูเ ชี่ยวชาญ ตรวจสอบตนฉบับอาน วัยวุฒิ ภาวะ พัฒนาการทาง 8. ปรบั ปรุงแกไขตนฉบับตามคําแนะนําของผอู านเปนสาํ คญั

146ตารางที่ 6.15 แนวทางการสราง พฒั นาและประยกุ ตใชน วตั กรรมหนงั สือการต นู ช่อื นวตั กรรม หลกั การสรางหนหนังสือการตูน คือ ภาพวาดหรือชุดของ 1. ขั้นวางแผน มีขั้นตอนยอย คือ 1) ศึกภาพ วา ดที่ มี เร่ืองราวห รือขอ ควา ม 2) กําหนดจุดประสงคในการสราง 3) กําประกอบภาพ ทําใหผูอานรูสึกขบขัน 5) เขียนโครงเรอ่ื ง 6) กําหนดดาํ เนนิ เรื่องสนุกสนานและเขาใจเหตุการณตางๆ ได ตัวละครอยางชัดเจน 8) สรางรายละเอียแบงเปน 9) กาํ หนดจาํ นวนหนาของหนังสือ 10) ตร1. การต นู ประเภทลอ เลยี น 2. ขน้ั การเขียนเรอ่ื งและทบทวนการเขียน2. การตนู ประเภทขาํ ขัน 3. ข้ันการเขียนภาพการตูน อาจเขียนเ3. การต ูนเร่อื ง ข้นั ตอนยอ ยดงั นี้4. การต นู ประกอบเรอื่ ง 1) แบงเน้ือเร่อื งเปนหนาๆ ตามจํานวนหน 2) เขียนบทสคริปตเ ปนเน้ือเร่อื งแตล ะหน 3) เขยี นภาพหยาบๆ เปน ลกั ษณะของ sto 4) วาดภาพตาม storyboard อยา งละเอ 5) เม่ือวาดภาพเสร็จแลว ใสตัวหนงั สือลง

นังสือการตูน สว นประกอบสาํ คัญของหนังสือการตูนกษาความรูเก่ียวกับการสรางการตูน 1. ภาษาไทยในหนังสือ โดยใชคําท่ีคุนเคย คําท่ีาหนดแกนเรื่อง 4) กําหนดโครงเร่อื ง เปนมาตรฐาน หลีกเล่ียงคําซ้ําๆ และภาษางตั้งแตต น จนจบ 7) สรางอุปนิสยั ของ ตางชาติ เขียนอยางเปนธรรมชาติ สรางประโยคยดฉาก สถานท่ี ชุดแตงกาย เปนตน ที่ส่ือความหมาย ใชคําอุปมาอุปไมยใหนอยที่สุดรวจสอบโครงเร่อื งและแกไ ข ไมใชคําแสลง ไมเสนอความคิดเห็นสวนตัว และนเรอื่ งใหมีความสมั พนั ธก นั ขอ ความไมควรยาวเกินไปเองหรือสงใหนักวาดการตูน โดยมี 2) ตัวอักษรและสัญลักษณ โดยสามารถเขียน 146 ตวั อักษรเปนลายมือหรือการพิมพ ท่อี านงาย เริม่นา ทก่ี ําหนดไว จากซายไปขวา จากบนลงลาง ไมออกนอกกรอบนา คําพูดอยูในสัญลักษณบอลลูน และอยูในกรอบoryboard ภาพเดียวกบั การตนู นนั้ ๆอียด 3. ภาพการตูน ควรใชภาพสีธรรมชาติ เพราะงในภาพ ตรวจการใชภาษาใหถ ูกตอ ง ดึงดูดความสนใจไดดีกวาภาพขาวดําหรือโทนสี เดียว ภาพควรมีขนาดใหญ และควรใชการตูน แบบหลายชองในหนึง่ หนา จะสามารถแสดงการ เคล่อื นไหวไดช ดั เจนกวา จาํ นวนชองนอ ย

147ตารางที่ 6.16 แนวทางการสรา ง พฒั นาและประยุกตใชน วตั กรรมหนังสือนิทานช่อื นวัตกรรม คณุ คาของนหนังสือนิทาน คือ เรื่องราวท่ีเลาสืบทอด 1. เดก็ เกิดความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ จากกันมาหรือเปนเรื่องที่แตงข้ึนเพื่อใหผูฟง 2. เด็กไดพัฒนาการดานภาษาจากการฟเกิดความสนุกสนาน และไดขอคิดเตอื นใจ สามารถเขียนสรุปขอ คิดจากนทิ านไดดานคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม เพื่อ 3. ชวยสงเสริมพัฒนาการดานอารมณจากใชเปนแนวทางในการปฏิบัติตนในการ ปฏิสัมพันธกับผูเลา เชน พอ แม ครู เพดํารงชีวิตอยางเหมาะสม แบงเปน 5 และรูจักแสดงออกอยา งเหมาะสมประเภท ไดแ ก 4. ชว ยใหเดก็ เกดิ จินตนาการจากเรือ่ งราว1. นทิ านภาษติ 5. เน้ือหาสาระของนิทานบางเร่ืองชวย2. นทิ านเทพนิยาย คานยิ มท่ดี งี ามแกเดก็3. นทิ านปรัมปรา 6. ชวยเสริมสรางประสบการณใหแกเด็ก4. นทิ านชาดก ตัวอยางการปฏิบัติตนของตัวละครท่ีเป5. นิทานชาวบา น ตางๆ ใหเ ดก็ ไดท ําตาม 7. ผสู อนทเี่ ลานิทานใหเด็กฟง เสมอๆ จะช ฟง หลงั ฟงจบแลวผูสอนสามารถฝกใหเด สาํ คญั สําหรับตนเอง จากนทิ านได

นทิ าน ขั้นตอนการเขียนนิทานกการฟงหรืออานนิทาน 1. กําหนดจุดมุงหมายในการเขียนท่ัวไป เชนฟง การอาน การพูดเลาเร่ือง และ เขียนเปนนิทานส้นั ๆ หรอื เปนนิทานทอ งถน่ิ 2. กําหนดจุดมุงหมายเฉพาะ เชน เพื่อปลูกฝงกการฟงนิทานทาํ ใหรสู กึ อบอนุ ไดมี คุณธรรม ความซ่ือสัตย ความสามัคคี และพ่ือน และเปนการฝกใหเปนผูฟงที่ดี ระเบยี บวินยั เปนตน 3. วิเคราะหคุณสมบัติของผูอาน วาอยูในวัยใดวทฟ่ี ง ระดับช้ันใด เพ่ือเขียนเน้ือหาสาระแลสํานวนได 147ยปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมและ ตรงกับความตอ งการของผูอ า น 4. กาํ หนดเคาโครงเรื่อง ประกอบไปดว ย การเปดก เพราะบางเรื่องมีเกร็ดความรูและ เรื่อง การดําเนินเร่ือง และการปดเร่ือง มีแกนนแบบอยางในการกระทํากิจกรรม ของเร่ืองท่ีชัดเจน นอกจากน้ันตองกําหนดตัว ละคร ฉาก และลลี าการใชสํานวนภาษาชวยใหเด็กมีสมาธจิ ดจออยูกบั เร่อื งท่ี 5. กาํ หนดการประเมนิ ผลเม่อื เลานทิ านจบแลว มีด็กฝกทักษะการคิดวิเคราะห ขอคิด ความรคู วามเขาใจและมีพฤติกรรมตามที่กําหนด ไวล ว งหนา หรอื ไม 6.ยกรางตนฉบับ ตรวจสอบและปรับปรุงแกไ ข

148ตารางที่ 6.17 แนวทางการสราง พฒั นาและประยุกตใชน วตั กรรมแบบฝก ทักษะชือ่ นวตั กรรม หลกั การสรา งแบบฝกทักษะ คือ สื่อที่ 1. จัดเน้ือหาสาระในการฝกทักษะใหตรงตาม 1. ทสรางขึ้นเพื่อใหนักเรียน จุดประสงคการเรยี นรู 2. ทไดทํากิจกรรมที่เปนการ 2. เนื้อหาสาระและกิจกรรมการฝกเหมาะสมกับวัย 3. ทท บ ท ว น ห รื อ เส ริ ม และความสามารถของผเู รยี น (เพ่ิ มเติมความรูใหแก 3. การวางรูปแบบของแบบฝกทักษะมีความสัมพันธผูเรยี น กบั โครงเรอื่ งและเนอื้ หาสาระของเรอื่ ง 4. แบบฝกทักษะตองมีคําชี้แจงงายๆ ส้ันๆ เพื่อให ผูเรียนอานเขาใจ เรียนจากงายไปยาก มีแบบฝก ทั ก ษ ะ ที่ น า ส น ใจ แ ล ะ ท า ท า ย ให ผู เรี ย น ไ ด แ ส ด ง ความสามารถ 5. มคี วามถูกตอง ผูสอนตองตรวจสอบแบบฝก ทกั ษะ ไมใหม ีขอ ผิดพลาดเกดิ ขนึ้ 6. กําหนดเวลาที่ใชแบบฝกทักษะแตละตอนอยาง เหมาะสม

หลกั จิตวิทยาทีเ่ กี่ยวขอ ง ขนั้ ตอนการสรา งทฤษฎีการเรยี นรขู องบรเู นอร 1. ศึกษาหลกั การและจดุ มุงหมายของหลกั สตู รทฤษฎกี ารเช่อื มโยง 2. วเิ คราะหมาตรฐานการเรียนรูข องกลุมสาระการทฤษฎกี ารเรียนรกู ารวางเง่ือนไข เรียนรู วิเคราะหเนอ้ื หาในแตล ะแบบฝก ทักษะ(ดูรายละเอียดในบทท่ี 5) 3. จัดทําโครงสรา งและชุดฝกในแตล ะชดุ 4. ออกแบบ แบบฝกทักษะในแตละชุดใหม ีรูปแบบ ทห่ี ลากหลายและนา สนใจ 5. สรางแบบฝกในแตละชุด ออกขอสอบกอนและ 148 หลังเรียนใหสอดคลองกับเน้ือหาและจุดประสงค การเรยี นรู 6. นําไปใหผูเช่ียวชาญตรวจสอบ 7. นําแบบฝกทักษะไปทดลองใช กับกลุมท่ี ไมใช เปาหมายจริงแตมีคุณสมบัติเหมือนกัน บันทึกผล แลวปรบั ปรุงแกไ ขสวนทีบ่ กพรอ ง 8. ปรับปรงุ แบบฝก ทักษะใหมีประสิทธิภาพ 9. นําไปใชกบั กลุม เปา หมายจริงและเผยแพรต อไป

149ตารางที่ 6.18 แนวทางการสรา ง พฒั นาและประยุกตใ ชน วตั กรรมบทเรยี นคอมพิวเตอชื่อนวตั กรรม องคประกอบบทเรยี นคอมพิวเตอรช วยสอน 1. สวนนํา 1. กาํ หนดเปาหแบงเปน 7 ประเภท ไดแ ก 2. สว นช้ีแจงบทเรยี น (หัวขอของง1. การสอน/การทบทวน 3. สวนวตั ถุประสงค เปนผใู ช แล(tutorial instruction) 4. สวนเมนู 2. การวิเคราะห2. การฝก หดั 5. สวนเนอื้ หา 2.1 เน้อื หาว(drill and practice) 6. สวนฝก ปฏบิ ตั ิ 2.2 การเลือ3. การจําลอง 7. สว นสรปุ เน้ือหา การมีสวนรวม(simulation) 8. สว นแบบทดสอบ กบั ผใู ช4. เกมเพื่อการสอน 2.3 วิธีการป(instruction games) โครงสรางของบทเรียน 3. การเขียนสค5. การคน พบ 1. แบบเสนตรง 3.1 การเขยี น (discovery) (linear structure) 3.2 การจัดท 2. แบบไมเปน เสน ตรง 4. การเตรียมขอ6. การแกปญหา (problem-solving) (non-linear structure) ไดแ ก การจดั 5. การสรางโปร7. การทดสอบ 6. การทดสอบโ (tests) 7. การทําเอกส

อรชว ยสอนขัน้ ตอนการสรา ง การจัดกจิ กรรมในบทเรียนหมายการสรา งบทเรียนชวยสอน กิจกรรมการเรียนรูระหวางผูเรียนกับบทเรียนงาน,วัตถุประสงค,กลุมเปาหมายท่ี ชวยสอนถกู ออกแบบและกําหนดไวล วงหนาแลวละผลท่คี าดวาจะไดร บั จากบทเรียน) ในข้ันตอนของการสราง โดยใชห ลกั การออกแบบหเนอื้ หา ในประเดน็ ตอไปน้ี การเรียนการสอน 9 ขั้น ของกานเย ไดแ กวิธีการและระยะเวลาการนําเสนอ 1. ข้นั เรา ความสนใจอกส่ือ การเสริมแรง การเราใจและ 2. ขน้ั แจงวัตถุประสงคและวิธีการโตตอบระหวา งบทเรียน 3. ขั้นทบทวนความรเู ดมิ 149 4. ขน้ั นาํ เสนอเน้ือหาและความรใู หมประเมินผลผเู รยี น 5. ข้ันช้ีแนะแนวทางการเรียนรูครปิ ตด าํ เนนิ เรอ่ื ง 6. ขน้ั กระตนุ การตอบสนองนผังงาน (flow chart) 7. ขั้นใหขอมลู ปอ นกลบัทาํ แบบบทเร่อื ง (storyboard) 8. ขนั้ ทดสอบความรูขอมลู สําหรับ storyboard 9. ข้ันสง เสริมความจาํ และนาํ ไปใชดเตรยี มภาพและเสียงรแกรม (authoring)โปรแกรมสารประกอบบทเรยี น

150ตารางที่ 6.19 แนวทางการสราง พัฒนาและประยุกตใ ชน วตั กรรมวิธสี อนโดยใชเทคนคิหลักการ ความหมายของสเอ็ดเวอรด เดอ โบโน มีความเห็นวาคนเรา หมวกสีขาว เปบางคร้ังคดิ มากหรือคิดนอยเกินไป ศัตรูของการ สีขาว เปน ปรนยั เกีย่ วขคิ ด ข อ ง เร า คื อ ค ว า ม ซั บ ซ อ น จ น นํ า ไป สู ค ว า มสบั สน แตเม่ือใดเราคิดไดทะลุปรุโปรง หลายมิติ ตัวเลข ผูสวมหมอยางรอบดาน โดยไมยึดติดกับความคิดใด ใหผูอื่นบอกขอเความคิดหน่ึง เราก็จะสนุกกับการคิดมากขึ้น เขา ขอ มลู แกส มาชิกจึ ง พั ฒ น า เท ค นิ ค ก า ร คิ ด โด ย ใช ห ม ว ก แ ส ด งบทบาทเพือ่ การคิด 6 ใบ โดยมีวัตถุประสงค คือ หมวกสีแดง เปน1) เพื่อทําใหเกิดความคิดโดยงาย ตามบทบาทที่ สีแดง โกรธ ฉุนเฉียว แสวมหมวกแตละสี และ 2) เพื่ อทําใหผูคิดสามารถเริ่มและเลิกคิดได เมื่อผูเรียนไดพบกับ อารมณเปนหลักสถานการณหน่งึ นั้น จะสามารถคิดไดหลายแบบ ตองการใหผูอื่นเปนหนทางนาํ ไปสกู ารตดั สินใจแกปญหาไดอยาง ตนตอ เรือ่ งราวตามีประสิทธิภาพ เปนการฝกใหคิดอยางรอบคอบ ไมชอบ ดี หรือไมคิดหลายๆดา น แลว จึงสรุปผล หมวกสีแดง เป ดานลบ เปนการ ลบ ความคิดไม สีดํา ความตองการให ข อ เสี ย ข อ จํ า ขอผดิ พลาด

คแบบหมวกหกใบ ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรมการเรยี นรูสหี มวก ขน้ั นํา แนะนาํ ใหทราบถงึ ส่งิ ท่จี ะสอนปนสีที่เปนกลางและขอ งกบั ความจริง และ ขัน้ ชแ้ี จง อธบิ ายรายละเอียดเกยี่ วกับส่ิงท่จี ะสอนมวกน้ีมีความตองการ รายละเอียด และความหมายของหมวกแตล ะใบเท็จจริง ความรูหรือ ขน้ั สาธติ สาธิตการใชห มวกหกใบ 150นสีที่บงบอกถึงความ ผเู รียนฝกฝนการใชหมวกหกใบแสดงความเห็นโดยใช ขั้นฝก ผสู วมหมวกนี้มีความ ปฏิบัติแสดงความรูสึกของางๆ เชน ไมชอบ หรือ ข้ันหารายละเอยี ด สนทนาหารายละเอียดเพม่ิ เติมมดี เปนตน เพิ่มเตมิปนสีเศราหมองหรือ ข้นั สรุป สรุปกระบวนการใชหมวกหกใบรแสดงความคิดในแงมดี ผูสวมหมวกน้ีมีหสมาชิกคนอื่นบอกา กั ด ข อ บ ก พ ร อ ง

151ตารางที่ 6.19 แนวทางการสรา ง พฒั นาและประยกุ ตใชน วตั กรรมวธิ ีสอนโดยใชเทคนคิหลกั การ ความหมายของส สีเหลือง หมวกสีเหลือง เ สีเขยี ว และเปนสีดานบ ความตองการใหผ สีน้าํ เงิน คุณคา คณุ ประโย หมวกสีเขียว เป แ ล ะ ค ว า ม อุ ด ม ความคิดสรางส ใหมๆ ผสู วมหมว ผูอ่ืนแสดงความ เปนไปไดแ ละเปน หมวกสีน้ําเงิน และทองฟา เหน โลก เปนการแส การควบคุมและก ผูสวมหมวกนี้มีห และบทบาทขอ ดาํ เนนิ ไปดวยดี

คแบบหมวกหกใบ (ตอ ) ขั้นตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรูสีหมวก 151เปนสขี องแสงอาทิตยบวก ผูสวมหมวกน้ีมีผูอน่ื บอกขอดี ขอ เดนยชนปนสีของหญา ตนไมมสมบู รณ จึงแสดงสรรค และความคิดวกนมี้ ีความตองการใหมคิดใหมๆ แปลกๆ ที่นประโยชนตอสงั คม เปนสีของความเย็นนือทุกส่ิงทุกอยางบนสดงความคิดเกี่ยวกับการจัดระบบความคิดหนาท่ีควบคุมการคิดอ ง ส ม า ชิ ก ใ น ก ลุ ม ใ ห

152ตารางที่ 6.20 แนวทางการสราง พฒั นาและประยุกตใชน วตั กรรมการใชเกมประกอบก ช่อื นวัตกรรม หลักการเลอื กเกมการใชเ กมประกอบการสอน 1. ควรเลือกเกมที่เหมาะสมกับสภาพชั้นเกม เปนกิจกรรมที่สรางความสนใจ ของนักเรียน เวลา เน้ือหาสาระท่ีเรยี น แลและความสนุกสนานใหแกผูเรียน มี 2.คาํ นึงถึงความสนใจ ความพอใจ ความสกฎเกณฑ กตกิ า สง เสรมิ ใหผเู รียนเกดิ การ 3. คาํ นงึ ถงึ ความมงุ หมายของการเลน เกมเรยี นรู แบงประเภทของเกมไดด ังน้ี 4. เปด โอกาสใหผ ูเรียนมีสว นรว มในการเล1. เกมทัว่ ไปท่เี ลน เปนบุคคลหรือกลมุ 5. ผูสอนควรปรับปรุงและดัดแปลงเกมต2. เกมแบบผลดั แขง ขันระหวางกลมุ และสภาพแวดลอมในการเลน3. เกมทดสอบ ใชเ ลน นาํ เขา สูบทเรียน 6. เปดโอกาสใหผูเรียนไดเลนอยางเสมอประกอบบทเรยี นหรือสรุปบทเรยี น ระหวา งบคุ คล เปดโอกาสใหผูเรยี นเปนผูน4. เกมทดสอบประสาท ทําใหเกิดความ 7. ในกรณีท่ีช้ันเรียนมีผูเรียนจํานวนมากวองไว ปฏิกริ ิยาโตต อบท่ีรวดเร็ว คละความสามารถของผูเรยี นในแตล ะกลมุ5. เกมเลนเปนทมี แบงเปน 2 ทมี หรือ 8. ควรคํานงึ ถึงความปลอดภัย คุมคาในกมากกวา เรยี นและเหมาะสมกบั บทเรยี น6. เกมเงียบ ใชแ ขง ขันคนเดยี วหรือกลุม 9. ควรคาํ นึงถงึ หลกั จติ วทิ ยาแบะพฒั นากหา มใชเ สียง 10. อปุ กรณการเลน หางา ย ทํางาย หรอื ม7. เกมการเคลอื่ นไหวประกอบเพลง

การสอนมในการสอน ขน้ั ตอนการใชเ กมประกอบการสอนนเรียน จํานวนผูเรียน อายุ ระดับช้ัน 1. บอกช่ือเกมและจุดประสงคของการเลนใหละจุดประสงคก ารเรยี นรู ผูเรยี นทราบสามารถของผเู รยี นภายในช้ันเรียน 2. จัดสภาพของผูเรียนหรือชั้นเรียนในลักษณะที่มในแตละชนิด ตองการลือกเกมในการเลน 3. อธบิ ายวธิ กี ารเลน กฎ กตกิ าการเลน และเวลาตางๆ ใหเหมาะสมกับความตองการ ในการเลน 4. ผูสอนสาธิตใหดูเพื่อใหผูเรียนเขาใจและตอบอภาค และพิจารณาความแตกตาง คาํ ถามในกรณีท่ผี ูเรียนไมเขาใจ 152นําและผูต ามในขณะเลนเกม 5. เริ่มเลนเกมโดยคาํ นึงถึงการใหผูเรียนทุกคนมีก ควรเปนเกมที่แขงขันเปนทีม และ สว นรว ม เนน ความยตุ ธิ รรมมใหม ีความสามารถใกลเคียงกัน 6. เม่ือจบเกมแลว ประกาศผลผูชนะและใหการลงทุนในวัสดุอุปกรณทีใ่ ชในการ รางวัล มีการสรุปประเด็นหรือแงคิดท่ีไดจากเกม ทันทีการของผูเรยี นทจ่ี ะเลน เกมมีราคาไมแ พง

153ตารางที่ 6.21 แนวทางการสรา ง พฒั นาและประยุกตใชน วตั กรรมวิธีสอนแบบโมเดลซความหมาย หลกั การโมเดล CIPPA : ทิศนา แขมมณี (2548) ทิศนา แขมมณี ไดพัฒนารปู แบบC : construct คือ การใหผูเรียนสรางความรูดวย ไดใชแนวคิดทางการศึกษาตางตนเอง โดยกระบวนการแสวงหาขอมูล ทําความ เวลากวา 30 ป และพบวามแี นวเขาใจ คิดวิเคราะห ตีความ แปลความ สราง ไดผลดีในการเรียนการสอนตลอความหมาย สงั เคราะหขอ มูลและสรปุ ความรู น้ันมาประสานกัน ทําใหเกิดเปI : interaction คือ การใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธตอ ดังกลาวไดแก 1) แนวคิดการสกัน เรียนรูจากกัน แลกเปลี่ยนขอมูล ความคดิ และ เกี่ยวกับกระบวนการกลุมและก แนวคิดเกี่ยวกับความพรอมในประสบการณแกกันและกัน เกี่ยวกับการเรียนรูกระบวนการP : participation คือ การใหผูเรียนมีบทบาท มี ถายโอนความรู ลกั ษณะนี้เปนการใหผูเรียนสรา งสว นรว มในการเรยี นรใู หม ากทสี่ ดุ ปฏิสัมพนั ธกับกลุมเพ่ือน บุคลอ ซ่ึงตองใชทักษะกระบวนการ เปP : process skills คือ การใหผูเรียนไดเรียนรู อยางกระฉับกระเฉง ไมเ ฉอื่ ยชาแ ความหมาย ความรูความเขาใจทักษะกระบวนการ เพื่อเปนเครื่องมือในการสราง คงทนมากขึ้น หากผูเรียนมีโความรูA : application คือ การใหผ ูเรยี นนําความรูไปใชใหเ ปนประโยชนในชีวติ ประจําวนั ประยุกตใ ชใ นสถานการณทห่ี ลาก

ซิปปา (CIPPA MODEL) 153ร ข้ันตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูบนข้ี ึ้นจากประสบการณท่ี ข้ันที่ 1 การทบทวนความรูเดิม เปนการดึงเอาความรูเดิมงๆ มาใชในการสอนเปน และพรอมเช่ือมโยงกบั ความรูใ หมข องผูเรียนวคดิ จํานวนหนึ่งสามารถใช ข้นั ที่ 2 การแสวงหาความรใู หม โดยผูสอนอาจจัดเตรียมมาอดมา จึงนําแนวคิดเหลาน ใหผ ูเรียนหรือใหผูเ รยี นไปแสวงหาเอง จากแหลงขอมลู ตางๆปนแบบแผนข้ึน แนวคิด ข้ันที่ 3 การเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิม ผูเรียนสรางความรู 2) แนวคิด จะตองสรางความหมายของขอมูล/ประสบการณใหมๆ โดยการเรียนรูแบบรวมมือ 3) ใชก ระบวนการตางๆ ดว ยตนเองนการเรียนรู 4) แนวคิด ขน้ั ท่ี 4 การแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุม เปนการร 5) แนวคิดเก่ียวกับการ ตรวจสอบความรคู วามเขา ใจของตนเองแบงปนกับกลุม ข้นั ที่ 5 การสรุปและจัดระเบียบความรู เปนการสรุปความรูงความรูดวยตนเอง และมี เดิมและความรูใหมแ ละจัดใหเปน ระเบียบเพือ่ ใหจดจําไดงายอื่นและส่ิงแวดลอมรอบตัว ข้ันท่ี 6 การปฏิบัติ/แสดงผลงาน เปนการชวยใหผูเรียนปนเคร่ืองมือสรางความรู ตรวจสอบความรูค วามเขาใจของตนโดยการปฏิบัติและหรือและเปนการเรียนรูอยางมี แสดงผลงานจท่ีเกิดขึ้นจะลึกซึ้งและอยู ข้นั ที่ 7 การประยุกตใชความรู เปนการนําความรูและความโอกาสนําความรูนั้นไป เขาใจของตนเองไปใชในสถานการณตา งๆ ที่หลากหลายเพื่อกหลายในชีวติ ประจาํ วัน ความชาํ นาญ ความเขา ใจ ในการแกไขปญหาน้นั ๆ

154ตารางที่ 6.22 แนวทางการสราง พฒั นาและประยกุ ตใชน วตั กรรมวิธสี อนโดยการจดั กความเปนมาและหลักการ กการเรียนรูแบบ 4 MAT ไดพัฒนาจากการคนควาของ เบอรนิส แมคคารธี ซึ่งเชื่อวาศักยภาพของผู เรีย นวามี ค วาม แ ตก ตางกัน ต อ มาได นํ าแนวความคิดของเดวิด คอลป ซึ่งอธิบายวาการเรียนรูเกิดข้ึนจากความสัมพันธของ 2 มิติ คือการรับรู และกระบวนการจัดกระทําขอมูล แลวเขียนเปนวงกลมและแบง พ้ืนทเี่ ปน 4 สวน แทนลักษณะการเรียนรูส่ีแบบ หรือ 4 MAT ทําใหเกิดเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยมใชคาํ ถามหลัก 4 คาํ ถาม คือ why, what, how และif เรยี กวา วฎั จกั รการเรียนรู 4 MAT

การเรยี นรูแบบ 4 MATการจดั การเรียนการสอนตามวา วัฎจักรการเรยี นรู 4 MAT 154

155การนํานวตั กรรมการศึกษาไปทดลองใช (testing) การนาํ นวัตกรรมการศกึ ษาไปทดลองใชเพ่อื แกไขปญหาการเรยี นการสอน พัฒนาคุณภาพของผูเรียน หรอื เพื่อสรางองคความรูดวยการวิจัย มีข้ันตอนในการดําเนินการ คือ การนาํ ไปทดสอบหาประสิทธิภาพ การทดลองใชกับกลุมทั่วไปและการปรับปรุงแกไข และการศึกษาผลการการนํานวัตกรรมการศึกษาไปทดลองใชกับกลุมตวั อยาง ดงั ภาพท่ี 6.3 ขน้ั การนําไปทดลองใช (testing) การในบํางไปานทด1ส3อบหาประสทิ ธิภาพ ทดลองใชกบั กลุมท่วั ไป การปรบั ปรุงแกไข การนํานวตั กรรมการศึกษา ไปทดลองใชก บั กลมุ ตวั อยาง ใบงานที่ ศึกษาผลการทดลองใช  ภาพที่ 6.3 การนาํ นวตั กรรมการศึกษาไปทดลองใช ท่ีมา: ปราโมทย พรหมขนั ธ, 2556: 111 1. การนําไปทดสอบหาประสิทธิภาพ เปนการนํานวัตกรรมการศึกษาท่ีสรางข้ึนไปประเมินคุณภาพ เริ่มจากการนําไปใหผเู ชีย่ วชาญดานเนื้อหาและดานส่ือ พิจารณาความถกู ตอง ความสมบูรณ และความเหมาะสม ของบทเรยี นแลวจึงนํามาปรับปรุงแกไข กอนจะนําไปทดลองใชส อนกับกลุมเปาหมายจริง เร่ิมจากการทดลองในลักษณะนํารอง (Pilot Testing) กับกลุมตัวอยาง 1-30 คนหากพบขอผิดพลาด ก็ปรับปรุงแกไขใหสมบูรณ จากนั้นจึงนําไปทดลองภาคสนาม (Field Testing)กบั กลมุ เปาหมายขนาดใหญ โดยพจิ ารณาจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรยี นและความคิดเห็นท่ีมีตอ การเรยี นขัน้ ตอนการประเมินและปรับปรุงแกไ ข ประกอบดว ย (ณฐั กร สงคราม, 2553)

156 1.1 การป ระเมินคุณ ภาพโดยผูเชี่ยวชาญ (Expert Evaluation) เปนการนํานวัตกรรมการศึกษาไปใหผเู ชี่ยวชาญดานเน้ือหาและดานสื่อตรวจสอบ ควรใหผูเช่ียวชาญมากกวา 1คนเปนผูตรวจสอบ จากนั้นนําขอเสนอและคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญมาทําการปรับปรุงแกไข การประเมินคุณภาพโดยผูเชี่ยวชาญอาจใชวิธีการสัมภาษณผูเช่ียวชาญหลังจากใหทดลองใชนวัตกรรมการศกึ ษาแลว หรอื ใหตรวจสอบจากแบบประเมินคณุ ภาพ แนวทางการประเมนิ ในแตละดา น มดี งั น้ี 1.1.1 การประเมินดานเนื้อหา ควรใหผูเ ชี่ยวชาญดานเน้ือหาประเมนิ ครอบคลุมในหลายประเด็นเชน ความถูกตองสมบูรณ ความทันสมัย ปริมาณเน้ือหา โครงสรางและการแบงหมวดหมูเนื้อหา การใชภาษาความยากงา ย รวมท้ังขอคําถามในแบบทดสอบ เปน ตน 1.1.2 การประเมนิ ดา นสื่อ ควรใหผเู ชยี่ วชาญดา นสือ่ ประเมนิ คณุ ภาพของสือ่ ใน3 ดาน ไดแก 1) ดานการออกแบบการเรียนการสอน พิจารณาเกี่ยวกับ วัตถุประสงคของบทเรยี นการออกแบบวิธีนําเสนอท่ีเอ้ือตอการเรียนรู ความเหมาะสมกับความรูความสามารถของผูเรียน รูปแบบปฏิสัมพันธ การตอบสนองตอความตองการของผูเรียนที่มีลักษณะแตกตางกัน และวิธกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิของผูเรียน 2) กรณีที่เปนนวัตกรรมการศึกษาท่ีนําเสนอโดยคอมพิวเตอร ตองประเมินดา นการออกแบบหนาจอ พจิ ารณาเกี่ยวกับการออกแบบขอ ความ ภาพ กราฟกเสียง วีดิทศั นการจัดวางองคป ระกอบในหนา จอ รวมทั้งการออกแบบปุมการควบคุมบทเรียน 3) ดานการใชงาน พิจารณาเกี่ยวกับความเหมาะสมในการนํานวัตกรรมการศึกษาไปใชงาน คูมือการใชงานสําหรับผูสอนและผูเรียน เอกสารประกอบการเรียน รวมทง้ั การออกแบบกลองบรรจภุ ณั ฑ 1.2 การทดลองใชกับกลุม ทั่วไปและการปรับปรงุ แกไข (Learner Try-out) ถงึ แมวาไดนําขอเสนอแนะจากผเู ชี่ยวชาญมาปรับปรุงแกไข แตยังตองหาประสทิ ธิภาพเพ่ิมเติม โดยการนําไปทดลองใชก ับผเู รียนที่เปนกลมุ ท่วั ไปในสถานศกึ ษาจริง แบงเปน 2 ขนั้ ตอน คอื 1.2.1 การทดลองนํารอง เปนขั้นตอนแรกในการทดลองใชกลุมผูเรียนทั่วไปที่มีคุณลักษณะใกลเคียงกับกลมุ ผูเรียนทีเ่ ปน กลมุ ตัวอยางจริง 3 คน ซ่ึงเปนนักเรียนทมี่ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี ปานกลาง และออน การเลือกกลุมตัวอยางที่คละกันจะชวยใหผูออกแบบนวัตกรรมการศึกษาไดเห็นปญหาท่ีอาจเกิดขึ้นกับผูเรียนแตละระดับความสามารถชัดเจนขึ้น ขณะทดลองใชนวัตกรรมการศึกษา ผูทดลองควรสังเกตพฤติกรรมการเรียน การตอบคําถาม การปฏิบัติตามกจิ กรรมการเรียนการสอน และเวลาทใี่ ชในการเรียนของแตละคน โดยกอนการทดลองผเู รียนควรไดร บั ทราบเหตผุ ลของการเรยี นทั้งน้ีเพ่ือผูเรยี นจะไดสังเกตและใหคาํ แนะนําโดยละเอียดและชัดเจนขน้ึ ผลการประเมินหากพบวานวตั กรรมการศกึ ษามีจุดใดบกพรอ ง ควรดาํ เนินการแกไ ขปรบั ปรุงตอ ไป 1.2.2 การทดลองภาคสนาม เปนข้ันตอนภายหลังการปรับปรงุ แกไขนวัตกรรมการศึกษาแลว และทดลองใหมกับผูเรียนท่ีมีคุณลักษณะใกลเคยี งกับกลุมตัวอยางจรงิ จํานวนไมนอยกวา 30 คน เพื่อวัดประสิทธิภาพของบทเรยี นโดยพยายามจัดสภาพการณใหเหมือนกับการใชงานจริงกอนการทดลองควรใหผูสอนชี้แจงวัตถุประสงคของการเรียนรูดวยนวัตกรรมการศึกษา และแนะนําขัน้ ตอนและกจิ กรรมท่ผี ูเ รียนตอ งปฏบิ ัติ แลวใหผูเรยี นทดลองเรยี นรจู ากนวัตกรรมการศกึ ษาน้ัน

157 สําหรบั การหาประสทิ ธิภาพของนวัตกรรมการศึกษา ปจจุบันนิยมใชหลักเกณฑเดียวกันกับการหาประสิทธิภาพส่ือและวิเคราะหผลการตรวจสอบสื่อ รายละเอียดไดนําเสนอแลวในบทที่ 3 1.3 การศึกษาผลการนํานวัตกรรมการศึกษาไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง มีจดุ ประสงคเ พอื่ ศึกษาผลการทดลองใชน วัตกรรมการศึกษา 3 ประการ ดงั นี้ 1.3.1 การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู โดยพิจารณาจากคะแนนการทําแบบทดสอบของผูเรียน หลังจากที่ไดทดลองใชนวัตกรรมการศกึ ษาแลว หากทําการทดสอบหลังเรียนเพียงอยางเดียว อาจใชวิธีเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับเกณฑท่ีตั้งไววาผานหรือไม โดยพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยของผูเรียนทั้งหมดวาสูงหรือต่ํากวาเกณฑ เชน ตั้งเกณฑไววาผูเรียนตองทําคะแนนได75% ของคะแนนเตม็ ขึ้นไป หากคะแนนเฉลี่ยของผเู รียนท้ังหมดไดเทากับหรือมากกวา 75% แสดงวานวัตกรรมการศึกษาท่ีเราออกแบบและสรางขึ้นมีประสิทธิภาพตอการเรียนรู เปนตน หรือหากมกี ารทดสอบความรูเดิมของผูเรยี นกอนการเรียนจากนวัตกรรมการศึกษา แลว นํามาเปรียบเทียบกับผลการทดสอบหลังเรียนวาผูเรียนมีความกาวหนาหรือมีความรูสูงข้ึนหรอื ไม เนื่องจากผูเรียนอาจมีความรูในเนื้อหาเรื่องน้ันมาบางแลว วิธีการทางสถิติที่นิยมใชคือ การเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนวามีความแตกตางอยางมนี ัยสําคัญทางสถติ ิหรอื ไม โดยการวิเคราะหคาการแจกแจงคา ที (t-test)สําหรับกลุมตัวอยางที่ไมเปนอิสระตอกัน ใชสูตรการคํานวณหาคาทีแบบจับคู (Matched-paired t-test) โดยใชส ตู รดงั นี้ โดยที่ df = n – 1 D หมายถึง ความแตกตางระหวางคะแนนแตละคู (D = y – x โดยที่ x เปน คะแนน Pretest y เปนคะแนน Posttest) n หมายถงึ จํานวนคู 1.3.2 การวัดความพึงพอใจที่มีตอนวัตกรรมการศึกษา เปนการใหผูเรียนท่ีเปนกลุมตัวอยางทําแบบสอบถามหลังจากทดลองเรียนจากนวัตกรรมการศึกษาแลว ซ่ึงโดยท่ัวไปแบบสอบถามที่นิยมใชมี 2 รูปแบบ คือ แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) และแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) เพื่อนําผลที่ไดมาวิเคราะหหาระดับความพึงพอใจในการใชงาน และพจิ ารณาจุดดจี ดุ ดอ ยของนวัตกรรมการศกึ ษา โดยดูจากคะแนนเฉลย่ี ของระดับความพงึ พอใจในแตล ะขอทส่ี อบถาม 1.3.3 การสังเกตผูเรียน โดยใชจดบันทึกพฤติกรรมของผูเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรมการเรยี นดว ยนวตั กรรมการศกึ ษา และการสมั ภาษณเพือ่ ทดสอบความรู ความเขาใจ

158ตารางที่ 6.23 ใบงานท่ี 13 ผลการนาํ นวัตกรรมการศกึ ษาไปทดลองใชการประเมนิ ผลนวตั กรรมการศกึ ษา (evaluation)ใบงานท่ี ภาระงาน กจิ กรรม13 ผลการนาํ นวัตกรรมการศกึ ษาไปทดลองใช ใหนักศึกษาครูนํานวัตกรรมที่ผาน การออกแบบและพัฒนาแลว ไป ทดลองใชคําอธิบายใบงานท่ี 13 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานนี้ คอื ใหนกั ศกึ ษาครูนาํ นวตั กรรมการศึกษาทผ่ี านการออกแบบและพัฒนาแลว ไปทดลองใชจรงิ กับกลมุ เปาหมายท่ีกําหนดไวในใบงานท่ี 11 เพื่อทดลองวานวตั กรรมการศึกษานนั้ สามารถทําใหผูเรียนบรรลผุ ลตามวตั ถุประสงคทต่ี ัง้ ไวหรอื ไม

159 การประเมินผลนวัตกรรมการศึกษา มีข้ันตอนในการดําเนินการ คือ การประเมินผลการทดลองใช การสรปุ ปญหาและอปุ สรรค และขอเสนอแนะในการนํานวัตกรรมการศึกษาไปใช ดังภาพ ขน้ั การประเมินผล (evaluation)  การประเมินผลการทดลองใช ใบงาน 15 สรุปปญหาและอปุ สรรค ใบงาน 16 ขอเสนอแนะ ในการนํานวตั กรรมการศกึ ษาไปใช ภาพท่ี 6.4 การประเมินผลนวัตกรรมการศกึ ษา ทม่ี า: ปราโมทย พรหมขันธ, 2556: 111 การประเมนิ ผลนวัตกรรมการศกึ ษา คอื การหาประสิทธภิ าพกระบวนการตอ ประสทิ ธภิ าพผลลัพธ คือการนํ าผลที่ไดจากการนํานวัตกรรมการศึกษาไปทดลองใชมาตีความหมาย(Interpretation) และตัดสินคณุ คา เพื่อทราบวา นวัตกรรมการศกึ ษานนั้ ทําหนาที่ตามท่ีวตั ถุประสงคกาํ หนดไวในระดับใด มคี ณุ ภาพดีหรือไมเ พียงใด มีลักษณะถูกตองตรงตามท่ตี องการหรอื ไมป ระการใดดงั น้นั ขอมูลที่ไดจ ากการประเมินจึงมีความสําคัญ เพราะเปนสิ่งท่ีจะแสดงใหเหน็ ถงึ ความเที่ยงตรงของการประเมนิ นวตั กรรมการศกึ ษานอกจากน้ียงั มคี วามหมายรวมไปถึง การกาํ หนดตัวเลขหรอื สญั ลักษณอยางมีกฎเกณฑใหกับนวัตกรรมการศึกษา สําหรับเครอ่ื งมือที่ใชในการวัดและประเมินผลนวัตกรรมการศกึ ษามีหลายรูปแบบ ที่นิยมใชกันมาก ไดแก แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ และแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) การตรวจสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรมการศึกษา มีเปาหมายในการตรวจดูประสิทธิผลของนวัตกรรมน้ันวาเม่ือนําไปทดลองใชกับผูเรียนที่เปน กลุมตัวอยาง ผูเรียนสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวขอใดบาง ขั้นตอนนี้ ผูประเมินผลจะนําแบบทดสอบกอนเรยี นของผูเรยี นแตล ะคนมาตรวจใหคะแนน เชน ใหคะแนน 1 คะแนนสําหรับคําตอบถูก และให 0 สําหรบัคําตอบที่ผิด แลวบันทึกลงในแบบประเมินผลการทดลองใชนวัตกรรมการศึกษา โดยใชกระบวนการ

160พิจารณาผลการเรียนรูเปนรายบุคคล เหมือนกับการหาคาประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 90/90ดงั ตวั อยางตอ ไปนี้ตารางท่ี 6.24 แบบประเมนิ ผลกอ นการทดลองใชนวัตกรรมการศึกษา วัตถุประสงค 12นักเรยี น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวมคะแนน (%) ขอสอบ 8 4 ดํา 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 10 7 แดง 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 6 35 เขยี ว 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 (70 %) ขาว 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 นวล 1 1 1 0 1 1 0 0 1 0รวมคะแนน 5 5 5 4 4 4 3 1 3 1รวมคะแนน (%) 23 (92 %) 12 (48 %) จากตารางจะเห็นวา ชองขวามือสุดเปนคะแนนรวมของผเู รียนแตล ะคนเม่ือคาํ นวณคะแนนรวมเฉลี่ยคิดเปนรอยละของกลุม พบวา มีคาเทากับ 70 แตเมื่อพิจารณาคะแนนรวมเฉล่ียคิดของผูเ รียนในแตละวตั ถปุ ระสงค โดยคดิ เปน รอ ยละ พบวา ผเู รียนมคี ะแนนรวมคดิ เปน รอ ยละ 92 สาํ หรับวัตถปุ ระสงคทีห่ น่ึง และรอยละ 48 สาํ หรบั วัตถปุ ระสงคท ่ีสอง ผลการวิเคราะหน ีแ้ สดงวาผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคท่ีสองไดไมถึงคร่ึงหน่ึง การพิจารณานี้ช้ีใหเห็นวา หากทดลองใชนวัตกรรมการศึกษาที่แกไ ขปญ หาการเรยี นรูในวตั ถปุ ระสงคท ส่ี องแลว คะแนนของผูเรียนจะตอ งเพ่มิ ขนึ้ ตามเกณฑท ่ตี ัง้ ไว เม่อื นาํ นวัตกรรมการศกึ ษาไปทดลองใชกับกลมุ ตัวอยาง ภายหลังจากการทดลองใชและใหทาํ การทดสอบแลว นําผลการทดสอบมาประเมนิ เหมือนกันกับคร้งั แรก หากนวัตกรรมการศกึ ษานั้นมีประสิทธิภาพ การทําแบบทดสอบเพื่อการวัดผลวัตถุประสงคที่สองก็จะปรับตัวสูงข้ึน ผูประเมินสามารถสรุปไดวา นวัตกรรมการศึกษานี้มีคุณภาพไดในระดับ 90/90 ซ่ึงหมายถึงเกณฑมาตรฐานกลาวคือ90 ตัวแรก หมายถึง คะแนนรวมเฉล่ียของกลมุ (Class Mean) คิดเปนรอยละ 9090 ตวั หลงั หมายถึง รอ ยละ 90 ของผเู รยี นบรรลุวตั ถุประสงคแ ตล ะขอ ของสอื่ การเรยี นการสอน

161ตารางที่ 6.25 ตัวอยางผลการประเมินการทดลองใชนวัตกรรมการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามเกณฑ มาตรฐาน 90/90 วัตถุประสงค 12นักเรยี น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวมคะแนน (%) ขอสอบ 9 10 เขียน 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 9 9 วาด 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 . แวว 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 . . อบ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 . (94 %) อิ่ม 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 : .......... : .......... : ..........รวมคะแนน . . . . . . . . . .รวมคะแนน (%) (96 %) (92 %) เมื่อทดลองใชนวัตกรรมการศึกษาเสร็จส้ิน และมีการประเมินผลการทดลองใชแลวผอู อกแบบและสราง ควรสรุปปญหาและอปุ สรรคท่ีเกิดขึ้น ในการนํานวัตกรรมการศกึ ษาไปทดลองใชณ สถานศึกษาจริง โดยรวบรวมขอมูลและขอคิดเห็น ในประเด็นดานปญหาและอุปสรรคในการนํานวตั กรรมการศกึ ษาไปทดลองใชจ ริง เพือ่ สรุปเปน บทเรยี นในการเรียนรขู องตนเอง

162ตารางที่ 6.26 ใบงานที่ 14 การประเมินผลนวัตกรรมการศกึ ษาใบงานที่ ภาระงาน กิจกรรม14 การประเมนิ ผลนวัตกรรมการศึกษา ใหสมาชิกของกลุมนักศึกษารวมกัน ประเมินผลนวัตกรรมการศึกษาใน ขณะท่ีทดลองใชจริง และจดบันทึก ขอมูลของผูเรียนท่ีไดจากการสังเกต หรือสัมภาษณ การประเมินผลนวัตกรรมการศึกษา 1. การสงั เกตผเู รยี น เชน 1.1 ความสนในใจการเรียนรู 1.2 การตอบสนองตอนวัตกรรม 2. การสัมภาษณ เชน 2.1 ความรู 2.2 ความเขา ใจเน้อื หา 2.3 การบรรลวุ ตั ถุประสงคก ารเรยี นรขู องผูเรียนคําอธิบายใบงานท่ี 14 : ภาระงานที่มอบหมายในใบงานนี้ คือ ใหนักศึกษาครูประเมินผลนวัตกรรมการศกึ ษาในขณะท่ีทดลองใชจรงิ และจดบันทกึ ขอมูลของผูเรียนทีไ่ ดจากการสังเกต หรือสมั ภาษณ ซ่ึงเปนการประเมินผลเบ้ืองตน ทั้งนี้นกั ศึกษาครอู าจใชแ บบทดสอบผลการเรียนรหู ลังจากทดลองใชนวัตกรรม และใชค า สถติ ิ เชน รอยละ คา เฉลยี่ ในการนาํ เสนอผลการประเมนิ นอกจากน้ี นักศกึ ษาครูอาจใชแนวทางในการประเมินนวตั กรรม ตามที่ผสู อนไดเสนอไวในบทที่ 2 ซึ่งเปน ลกั ษณะของการประเมินนวัตกรรมการศกึ ษาดวยตนเอง ซ่ึงเปนการประเมนิ ที่นักศึกษาครผู ูอ อกแบบและพัฒนานวัตกรรม ตรวจสอบกระบวนการสรางและความกาวหนา ในการสรา งนวัตกรรมของตน จากเกณฑการประเมินท่ีกําหนด เพ่ือนําผลไปใชใ นการปรบั ปรงุพัฒนาการดําเนนิ งานใหบรรลุวัตถปุ ระสงคแ ละเปา หมายของการสรา งนวตั กรรมในคร้งั ตอ ไป

163ตารางที่ 6.27 ปญหาและอปุ สรรคในการนํานวัตกรรมการศึกษาไปทดลองใชใบงานที่ ภาระงาน กจิ กรรม 15 ปญ หาและอปุ สรรคในการนํานวัตกรรมการศกึ ษาไป ใหนักศึกษาครูรวบรวมขอมูลและ ทดลองใช ขอ คดิ เห็น ในประเดน็ ดานปญ หาและ อุ ป ส ร ร ค ใน ก า ร นํ า น วั ต ก ร ร ม การศึกษาไปทดลองใชจริง เพื่อสรุป เปนบทเรยี นในการเรียนรูข องตนเองคําอธิบายใบงานที่ 15 : ภาระงานท่ีมอบหมายในใบงานนี้ คือ ใหนักศึกษาครูสะทอนผลกลับจากสิ่งท่ีคนพบ ภายหลังการนํานวัตกรรมการศึกษา ไปทดลองใช สามารถทาํ ไดด ังน้ี 1) บรรยายสภาพที่เกิดข้ึน 2)ผลการประเมินผูเรียน ทําไมถึงบรรลุหรือไมบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีวางไว 3) ขอคน พบท่เี ปนความรูใหมและ 4) ประสบการณห รอื ความประทบั ใจทีไ่ ดรบั จากการนํานวัตกรรมนวัตกรรมการศกึ ษาไปทดลองใช

164ตารางที่ 6.28 ขอเสนอแนะในการนาํ นวตั กรรมการศกึ ษาไปใชต อ ไปใบงานที่ ภาระงาน กจิ กรรม16 ขอเสนอแนะในการนํานวตั กรรมการศกึ ษาไปใชตอไป ใหนกั ศึกษาครสู รุปขอ เสนอแนะใน กรณี ที่ ผูอื่น สนใจแน วคิดและ นวัตกรรมการศึกษาของนักศึกษา ครู ไป ใช พั ฒ น า ห รื อแ ก ไข ป ญ ห า การเรียนการสอนในช้ันเรียน ที่มี ลักษณะของปญ หาท่ีใกลเ คยี งกันอธิบายใบงานที่ 16: ภาระงานท่ีมอบหมายในใบงานนี้ คือ ใหนักศึกษาครูสรุปขอเสนอแนะในการที่ผอู ื่นทีส่ นใจแนวคดิ การเรยี นรแู ละนวัตกรรมการศึกษาของนักศกึ ษาครูไปใชแ กไ ขปญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียน ท่ีมีลักษณะของปญหาที่ใกลเคียงกันหรือเหมือนกัน ผูสอนชี้แจงถึงแนวทางในการใหขอเสนอแนะในการนํานวัตกรรมไปใชตอไป เชน คําแนะนําในการบํารุงรักษานวัตกรรม คูมือหรือคําแนะนาํ ในการใชน วัตกรรม ขอเดน หรือขอควรระวงั ในการใชน วัตกรรมการศกึ ษา เปนตน

165 บทสรุป ใบงาน 16 ใบงาน ในการออกแบบ สราง พัฒนาและประยุกตใชนวัตกรรมการศึกษา เริ่มจากใบงานท่ี 1-12 เปนขั้นตอนของการออกแบบนวัตกรรมการศึกษา ประกอบดวยการวิเคราะหปญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียน การเลือกปญหา การกําหนดแนวทางในการแกไขปญหาหรือพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน การเลือกประเภทของนวัตกรรมการศึกษา การเลือกทฤษฏีการเรียนรูและกลยุทธการสอนท่ีเหมาะสม การกําหนดวัตถุประสงคการเรียนรู การวิเคราะหผูเรียนและการวิเคราะหภาระงาน ข้ันการสราง พัฒนาและประยุกตใชนวัตกรรมการศึกษา ผูเขียนไดยกตัวอยางนวัตกรรมการศึกษา ประเภทวัสดุหลักสูตร การเขียนเชิงสรางสรรค ชุดกิจกรรม เทคนิคการสอน และวิธีสอน เพ่ือเปนแนวทางการสรางนวัตกรรมการศึกษา เมื่อสรางนวัตกรรมตามที่ออกแบบไวแลว ขั้นตอไปในใบงานที่ 13-14 เปนการการนํานวัตกรรมการศึกษาไปทดลองใช ณสถานศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ นําไปทดสอบหาประสิทธิภาพ ทดลองใชกับกลุมท่ัวไปที่ไมไชกลุมเปาหมายหรอื กลุมตัวอยาง และการปรับปรงุ แกไข และ ศึกษาผลการการนํานวัตกรรมการศึกษาไปทดลองใชกับกลุมเปาหมายหรือกลุมตัวอยางจริง ขั้นตอนสุดทายในใบงานท่ี 15-16 เปนการประเมินผลนวัตกรรมการศึกษา ปญหาและอุปสรรคในการนํานวัตกรรมการศึกษาไปทดลองใช และขอเสนอแนะในการนํานวตั กรรมการศกึ ษาไปใชตอ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook