Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา วปท

รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา วปท

Published by tknow007, 2022-08-18 06:33:50

Description: รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา วปท

Search

Read the Text Version

2.แตง่ ตง้ั คณะทำงาน 3.วางแผนการปฏิบัตงิ าน - เคารพธงชาติ สวดมนต์ ไหว้ พระ สงบนงิ่ แผ่เมตตา - ตกั บาตร,ฟงั ธรรมทุกวันพระ - ทำสมาธิก่อนเรียน - สวดมนตส์ รภัญญะทุกวัน ศุกรช์ ว่ั โมงสดุ ทา้ ย - กิจกรรมวนั สำคญั ต่างๆ - พฒั นาชมุ ชนและวดั - ยกยอ่ งผทู้ ำดี , ต้นไม้พดู ได้ 4. ดำเนนิ งานตามแผน 5. ตดิ ตามและประเมนิ ผล 6. สรปุ และรายงานผลการ ดำเนนิ งานตามโครงการ 3

นอ้ งไหวพ้ ี่ หนา้ เสาธง 33

สรุปผลการประเมนิ จากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ โรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) ตั้งอยู่ที่เลขที่ 64 หมู่ที่ 1 ตำบลปากท่อ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต ๑ เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ๑ ถึงชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้ประเมินได้ตรวจเยี่ยมสถานศึกษาเม่ือวันที่ 20-22 มกราคม ๒๕57 โดยมีผลการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ดงั นี้ สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕4 – ๒๕58) ๑. การศกึ ษาปฐมวัย 34

การศึกษาปฐมวัย(ต่อ) 35

จดุ เดน่ 1. ดา้ นผลการจดั การศกึ ษา เดก็ มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย อารมณแ์ ละจติ ใจ สงั คม มคี วามทจ่ี ะศกึ ษาต่อในขัน้ ต่อไป 2. ด้านบรหิ ารการจัดการศกึ ษา ผู้บริหารจัดสภาพแวดล้อมบรรยากาศในห้องเรียนและภายนอกห้องเรียนโดยมีสถานศึกษาจัดกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ และกิจกรรมกลางแจ้งภายในหลังคาโดมได้อย่างเพียงพอและมีความสะอาด เรยี บร้อย 3. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ไม่มี 4. ด้านการประกนั คุณภาพภายใน ไมม่ ี จดุ ที่ควรพฒั นา 1. ด้านผลการจดั การศกึ ษา เด็กบางคนมีทักษะการอ่านยังไม่ถูกต้อง มีสมาธิในการเรียนรู้น้อย มีความเข้าใจและใช้ภาษาท่าทางและ สญั ลักษณไ์ ม่ถกู ตอ้ งเหมาะสมตามวัย 2. ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ไม่มี 3. ด้านการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั ครูบางคนให้ความสำคัญกับการทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องใช้ในห้องเรียนน้อยและบันทึกพัฒนาการ เด็กไมเ่ ป็นปัจจุบนั 4. ด้านการประกนั คณุ ภาพภายใน 5. การนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นข้อมูลในการพฒั นางานในปีการศึกษาต่อไปชดั เจน โอกาส 1. โรงเรียนมีโอกาสที่จะมี่นักเรียนเพิ่มขึ้นหรือคงที่ เพราะโรงเรียนตั้งอยู่กลางตลาดปากท่อ มีประชากร หนาแนน่ 2. คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองมีศักยภาพ สามารถระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาได้ อปุ สรรค พอ่ แม่ ผ้ปู กครองบางคนแยกทางกนั เดก็ ๆตอ้ งอาศัยอยู่กับปู่ย่า ตายาย การดูแลเอาใจใส่เด็กจึงขาดความ อบอุ่น ทำให้โรงเรยี นต้องหาทนุ การศกึ ษาจากผู้มีจติ ศรทั ธา 36

ขอ้ เสนอแนะ 1. ด้านผลการจัดการศึกษา 1. สถานศึกษาควรสง่ เสริมใหเ้ ด็กมคี วามสุขในการร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ ธรรมชาติรอบตัว สร้างแห่งเรียนรู้ให้เด็กมีความชื่นชอบ มีความตื่นตา ตื่นใจ สนใจใคร่รู้ธรรมชาติรอบตัว และปรากกการณ์ทาง ธรรมชาติโดย่างเสริมให้เด็กได้เล่นสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบตัวให้เด็กได้ดูซีดีเกี่ยวกับโลก ฤดูกาลและการ เปล่ียนแปลงทางธรรมชาติ 2. เดก็ ควรไดร้ ับการปลกู ฝงั เรอื่ งการปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กับสงั คมได้ โดยครูควรฝึกเดก็ ให้ร้จู กั เคารพ สิทธิของผู้อื่น เช่น ขออนุญาตก่อนเข้าห้อง ขออนุญาตเพื่อนก่อนหยิบของของเพื่อน และขอโทษเพื่อน เมื่อทำผิด ก่อนหยิบของของเพื่อน และขอโทษเพื่อน เมื่อทำผิด รวมทั้งปฏิบัติตามกฎของสถานศึกษา เข้าแถวรับบริการ ก่อนหลงั ได้โดยทีค่ รไู ม่ต้องเตอื น เพ่อื ใหต้ ิดเป็นกจิ นิสัยของเดก็ 3. เด็กควรไดร้ ับการปลูกฝังเร่ืองทกั ษะอ่านใหถ้ ูกต้องและทักษะการสื่อสารสามารถเข้าใจ สัญลักษณ์ง่ายๆได้ โดยครูจัดกิจกรรมให้เด็กได้คุ้นเคยกับหนังสือ จัดมุมหนังสือให้น่าสนใจ ให้เด็กได้อ่านหนังสือ ตามวัย รวมทงั้ สง่ เสรมิ พฒั นาการให้เด็กมที ักษะในการสื่อสาร จัดกิจกรรมให้เด็กไดเ้ ขียนเพื่อสื่อความหมาย พร้อม อธิบายสิ่งที่วาดให้ผู้อื่นเข้าใจ เป็นรูปง่ายๆ และพัฒนาเป็นเรื่องราวที่เข้าใจได้ให้เด็กได้ดูสั ญลักษณ์ต่างๆ ใน ชวี ิตประจำวันจนคุ้นชิน เช่น สัญลักษณจ์ ราจร เปน็ ตน้ 2. ดา้ นการบริหารจัดการศึกษา 1. สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรียนและภายนอกห้อวเรียนดอี ยู่แล้ว แต่หอ้ งน้ำ ของเดก็ อยู่ไกล หากได้รบั การเจาะประตูด้านหลังห้องเรยี นให้เดก็ สามารถไปใช้ห้องน้ำไดส้ ะดวกและจำนวนห้องน้ำ จะตอ้ งมเี พม่ิ ขึ้นใหม้ ีจำนวนเพยี งพอกบั เด็ก 2. ผู้บริหารควรกระตุ้นใหค้ รูระดับปฐมวยั ทุกคน ดแู ลทำความสะอาดอุปกรณ์ ของเลน่ ของใช้ สำหรับเด็กเพื่อปอ้ งกันเชื้อโรคทีอ่ าจติดตอ่ จากกรสัมผสั และควรหาวิธีการกำจัดมูลนกพริ าบและขับไล่นกพิราบท่ี อยตู่ ามอาคารเพอ่ื สขุ อนามัยทดี่ ีของเด็ก 3. ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสำคญั 1. ครูควรดูแลเรื่องการทำความสะอาดโดยเฉพาะความสะอาดของอุปกรณ์เครื่องใช้ ของเล่นใน หอ้ งเรียนควรทำความสะอาดทุกวัน เนือ่ งจากเป็นสิ่งที่เด็กหยิบ จับอยู่ทุกวัน จะทำให้มกี ารติดต่อของเชื้อโรคท่ีติด มากับการสมั ผัส 2. ครคู วรบนั ทกึ พัฒนาการเด็กเปน็ ประจำทุกวันอย่างต่อเน่ือง เปน็ รายบุคคลเน่ืองจากเด็กมีการ เปล่ียนแปลงทุกวัน ท้งั ดา้ นร่างกายและพฒั นาการด้านอนื่ ๆ 4. ดา้ นการประกนั คุณภาพภายใน สถานศึกษามีการดำเนินการระบบประกันคุณภาพภายในเป้นขั้นตอนดีอยู่แล้ว แต่ควรนำ ข้อเสนอแนะปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ มาวางแผนปรับปรุงคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยนำผลการประเมินโครงการแต่ละโครงการผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็น ฐานข้อมูลในการวางแผนพัฒนางาน จัดทำเป็นแผนปฏิบัติการในปีการศึกษาต่อไป กำหนดเป้นนโยบายในการ พัฒนาโรงเรียนของผู้บริหารพร้อมจดั สรรงบประมาณตามลำดับความต้องการจำเป็น ซึ่งสะดวกในการบริหารงาน ของผบู้ ริหาร 37

๒. ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 38

39

จดุ เดน่ ดา้ นคุณภาพของผเู้ รยี น จดุ เด่น ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ อันเนื่องมาจาก สถานศกึ ษามีการดำเนนิ โครงการเสริมสร้างวนิ ัย คนดีศรีปากทอ่ มสี ุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ดี ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ มีความสามารถในการบริหารจัดการ ใช้หลักการ บริหารจัดการแบบมีสว่ นรว่ ม สามารถประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษา ชมุ ชน องค์กรภายนอกช่วยระดม ทรพั ยากรมาชว่ ยพัฒนา สถานศึกษาได้มาก ๓. ด้านการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ไม่มี ๔. ด้านการประกันคณุ ภาพภายใน ไมม่ ี จุดท่คี วรพฒั นา ๑. ดา้ นผลการจดั การศกึ ษา ผู้เรียนบางส่วนมีทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีจินตนาการน้อย เนื่องจาก ขาดนสิ ยั ใฝร่ ู้ใฝ่เรียนและมีผลสมั ฤทธ์ิในภาพรวมอยูใ่ นระดบั พอใช้ ๒. ดา้ นการบรหิ ารจัดการศึกษา ไม่มี ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ครูบางคนขาดการทำวิจัยในชั้นเรียนเนื่องจาก การบันทกึ หลังสอนไมช่ ัดเจน ๔. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน การนำผลการประเมนิ คุณภาพภายในมาเปน็ ข้อมูลในการพัฒนางานใน ปกี ารศกึ ษาตอ่ ไปไม่ชัดเจน โอกาส ๑. สถานศึกษามีโอกาสจะทำให้มผี ู้เรยี นเพิ่มขึ้น เนือ่ งจากสถานศึกษาต้ังอยู่กลางตลาด อำเภอปากท่อ ซึ่ง มีประชากรค่อนข้างหนาแน่น ๒. พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาส่วนใหญ่มีศักยภาพที่จะร่วมในการระดมทรัพยากรมา ช่วยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาไดม้ าก อปุ สรรค ๑. พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่วนใหญค่ า้ ขาย รบั จ้าง จงึ ไม่ค่อยมีเวลาดูแลบุตรหลานในดา้ นการเรยี นมากนัก 40

๒. ผู้เรียนส่วนหนึ่งมาจากครอบครัวที่แตกแยก จึงขาดความอบอุ่น ทำให้มีผลการเรียนไม่ค่อยดี ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา ๑) ผู้เรียนทุกคนควรได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ควรให้ผู้เรียนได้ฝึก การ คิดคำนวน การแก้โจทย์ปัญหาผ่านแบบฝึกหัดมากขึ้นได้ท่องสูตรคุณทุกวัน ในวิชาภาษาไทยต้องฝึกให้อ่าน คล่อง เขียนคลอ่ ง อ่านสรุปความเพื่อเพ่มิ ศกั ยภาพในการอ่าน การสรปุ วชิ าวทิ ยาศาสตรค์ วรให้ผ้เู รยี นได้ฝึกผา่ น กระบวนการขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ สำหรับวิชาภาษาอังกฤษควรให้ท่องศัพท์ ฝึกฟัง -พูดมากขึ้น ฝึกการเขียน และอ่านบทความภาษาอังกฤษพร้อมแปลให้ถกู ต้อง ส่วนวิชาสขุ ศกึ ษาครูควรทบทวนการสอนของครู ว่าตรงตาม ตวั ช้วี ัดมากน้อยเพียงใด ๒) โรงเรียนเชิญครูจากโรงเรียนอื่นที่มีความชำนาญในวิชาที่ต้องปรับปรุงและปรับปรุงเร่งด่วนมาสอน เสริมให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และโรงเรียนกำหนดนโยบายจูงใจให้ผู้ปกครองนำบุตรหลานมาเข้าเรียนท่ี โรงเรียนนี้ให้มากขึ้นและเป็นโอกาสที่จะให้ได้นักเรียนที่เรียนดีมากขึ้น เช่น มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนเรียนดี ผลการเรียนระดับ ๔ เป็นต้น นอกจากนั้นโรงเรียนตอ้ งเร่งรัดพัฒนาครูใหม้ ีความสามารถในการจดั การเรียนรู้แบบ ฝึกการคิดวเิ คราะหใ์ หม้ ากขึน้ ๓) ผู้เรียนควรได้รับการส่งเสริมทักษะด้านการคิดเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการคิดด้านคณิตศาสตร์ เช่น การ คดิ เลขเร็ว การฝกึ แก้โจทย์ปญั หา ทกั ษะการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตรผ์ ่านการสอน เชน่ ฝกึ ให้ ผู้เรียน ตั้งสมมุติฐาน พิสูจน์ทดลองและสรุปผลการทดลองหลังบันทึกไว้เป็นหลักฐานนอกจากนั้นสถานศึกษา ควรจัด แหล่งเรียนรูส้ เี ขียวเพ่ิมเติม โดยการสร้างสวนตน้ ไม้กระถาง เพื่อให้ความร่มร่ืนแก่นักเรียนและโรงเรียน ทั้งครูและ นักเรียนสามารถใชแ้ หลง่ เรยี นรู้น้เี ปน็ ทีศ่ ึกษานอกหอ้ งเรียนทุกรายวชิ า และทุกระดับชนั้ ๔) ผู้เรียนทุกคนควรได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ควรให้ผู้เรียนได้ฝึก การ คิดคำนวน การแก้โจทย์ปัญหาผ่านแบบฝึกหัดมากขึ้นได้ท่องสูตรคุณทุกวัน ในวิชาภาษาไทยต้องฝึกให้อ่าน คล่อง เขียนคล่อง อ่านสรุปความเพื่อเพิ่มศักยภาพในการอ่าน การสรุป วิชาวิทยาศาสตร์ควรให้ผู้เรียนได้ฝึกผ่าน กระบวนการขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ สำหรับวิชาภาษาอังกฤษควรให้ท่องศัพท์ ฝึกฟัง -พูดมากขึ้น ฝึกการเขียน และอ่านบทความภาษาอังกฤษพร้อมแปลให้ถกู ต้อง ส่วนวชิ าสุขศึกษาครูควรทบทวนการสอนของครู ว่าตรงตาม ตัวชีว้ ดั มากน้อยเพยี งใด ๕) โรงเรียนเชิญครูจากโรงเรียนอื่นที่มีความชำนาญในวิชาที่ต้องปรับปรุงและปรับปรุงเร่งด่วนมาสอน เสรมิ ให้นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ และโรงเรยี นกำหนดนโยบายจูงใจใหผ้ ้ปู กครองนำบุตรหลานมาเข้าเรียน ท่ี โรงเรียนนี้ให้มากขึ้นและเป็นโอกาสที่จะให้ได้นักเรียนที่เรียนดีมากขึ้น เช่น มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนเรียนดี 41

ผลการเรียนระดับ ๔ เป็นต้น นอกจากนั้นโรงเรียนต้องเร่งรดั พัฒนาครใู หม้ ีความสามารถในการจดั การเรียนรู้แบบ ฝึกการคิดวิเคราะหใ์ ห้มากข้นึ ๒. ด้านการบรหิ ารจัดการศึกษา ๑) สถานศกึ ษาควรหาทางใชป้ ระโยชน์จากการทีม่ ีคณะกรรมการสถานศึกษาจัดกิจกรรมท่ีชุมชนได้รับ ประโยชน์ เช่น จัดตั้งสหกรณ์ออมทรพั ย์ชาวบ้าน เครดิตยูเนีย่ น เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งวิชาการเพิ่มทำใหช้ ุมชน เข้มแขง็ ผเู้ รียนมีเงินเก็บ เงนิ ออม ผู้ปกครองได้ฝึกคา่ นยิ มในการประหยดั อดออม มีเงนิ เก็บเงนิ ออมเป็นก้อนในวัน หนง่ึ ขา้ งหนา้ ๒) ผู้บริหารควรกระตุ้นให้ครูระดับปฐมวัยทุกคน ดูแลทำความสะอาดอุปกรณ์ ของเล่น เครื่องใช้ สำหรับเด็กเพื่อป้องกันเชื้อโรคที่อาจติดต่อจากการสัมผัสได้ และควรหาวิธีการกำจัดมูลนกพิราบและขับไล่ นกพิราบ ที่อยู่ตามอาคารเพื่อสุขอนามยั ที่ดีของเด็ก ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ๑) ครูควรเพิ่มผลการแก้ไขปัญหา ในบันทึกหลังสอนเพื่อจะได้เห็นการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของ ครู และทำวิจยั ในชน้ั เรยี นอย่างชดั เจน ๒) ผู้บริหารควรสนับสนุนให้ครูได้พัฒนาความรู้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล หรือสนับสนุน ครู ให้ศึกษาตอ่ ทางการสอน และนำผลงานเพ่ือเล่ือนวิทยฐานะ ซ่งึ จะสามารถนำความรู้มาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ให้ มีประสิทธิภาพยงิ่ ขนึ้ ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษามีการดำเนินการระบบประกันคุณภาพภายในเป็นขั้นตอนดีอยู่แล้ว แต่ควรนำข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ มาวางแผนปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่าง ตอ่ เนอื่ ง โดยนำผลจากการประเมนิ โครงการแต่ละโครงการผลจากการประเมินคุณภาพภายในมาเปน็ ฐานข้อมูลใน การวางแผนพัฒนางาน จัดทำเป็นแผนปฏิบัติการในปีการศึกษาต่อไป กำหนดเป็นนโยบาย ในการพัฒนาโรงเรียน ของผู้บริหารพร้อมจัดสรรงบประมาณตามลำดับความต้องการจำเป็น ซึ่งจะสะดวก ในการบริหารงานของผบู้ ริหาร นวัตกรรมหรอื ตวั อยา่ งการปฏบิ ัตทิ ีด่ ี (Good Practice) ของสถานศกึ ษาท่ีเป็นประโยชนต์ ่อสงั คม ๑. โครงการสง่ เสรมิ ดนตรีไทย(อังกะลุง) และดนตรีสากลในโรงเรียน ๒. ดนตรีไทย(อังกะลุง) นักเรียนฝึกบรรเลงจนสามารถนำไปออกงานต่างๆ ได้เช่น งานศพ งานแต่งงาน และเป็นการเพมิ่ รายได้ในระหว่างเรียน ๓. ดนตรสี ากลให้ความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานทางราชการ เช่น เทศบาลตำบลปากท่อ โรงเรยี นอืน่ ๆ ในเขต อำเภอปากทอ่ ท่ีขอความอนเุ คราะห์มา 42

สว่ นท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย มาตรฐานการศึกษา : ดเี ลิศ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษา ดเี ลิศ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพเด็ก ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเป็นสำคญั มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพเดก็ อยใู่ นระดบั ดเี ลิศ ผลการพัฒนาการเด็กในด้านรา่ งกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ ดา้ นสงั คม และดา้ นสติปญั ญา ดังน้ี ๑.๑ มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ สถานศกึ ษามีกระบวนการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยดว้ ยวิธกี ารท่หี ลากหลาย ประชมุ ผูเ้ ก่ียวขอ้ งเพือ่ หา แนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และจัดกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อให้เด็กบรรลุตามประเด็นพิจารณาของ มาตรฐาน โดยมีวิธกี ารพัฒนา ดังนี้ สถานศึกษาจดั ทำโครงการส่งเสรมิ ศักยภาพทักษะพ้ืนฐานผูเ้ รียนระดบั ปฐมวัย โดยจัดกิจกรรมมุ่งเน้นให้ ผเู้ รียนมีความร้แู ละทักษะเบื้องต้น ได้แก่ ทักษะการใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่-เล็ก ทกั ษะการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ทักษะ ในการสื่อสาร ทักษะในการสงั เกตและสำรวจ เป็นการฝกึ เด็กให้มีทกั ษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เลก็ ทักษะในการ ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ทักษะในการสื่อสาร ทักษะในการสังเกตและสำรวจ เด็กมีสุขนิสัยที่ดี รู้จักล้างมือ ทั้งก่อน และหลังทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน เด็กสามารถรับประทานอาหารได้ครบ 5 หมู่ ตามโภชนาการ รวมท้ัง การด่ืมนมอาหารเสริม ทุกวันเป็นประจำ เด็กรู้จักการแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร และสามารถปฏิบัติได้ด้วย ตนเอง ให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และสามารถใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันได้ และครูผู้สอน ระดับชั้นปฐมวัยจัดประสบการณ์การเรียนรู้เน้นเด็กเป็นสำคัญจากกิจกรรมที่หลากหลาย ส่งผลให้เด็กปฐมวัย โรงเรียนวดั ปากทอ่ (ปากท่อวทิ ยาคาร) สุขภาพรา่ งกายแข็งแรง มีสขุ นสิ ยั ท่ีดแี ละดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ สถานศึกษาจดั ทำโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพ้ืนฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย โดยจัดกิจกรรมมุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเบื้องต้นในด้านพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ เด็ก สามารถควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ มีความสุข ร่าเริงเหมาะสมตามวัย มีความมั่นใจในตนเอง สามารถ ต ั ด ส ิ น ใ จ เ ล ื อ ก ส ิ ่ ง ท ี ่ ต น เ อ ง ช อ บ แ ล ะ ส น ใ จ ไ ด ้ ร ู ้ จ ั ก ก า ร ช ื ่ น ช ม ผ ล ง า น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ ผ ู ้ อ่ื น 43

เด็กมีความเมตตาและแบ่งปันผู้อื่นได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้เด็กปฐมวัยโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) มพี ัฒนาการทางด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ไดเ้ หมาะสมตามวัย ๑.๓ มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกทีด่ ขี องสังคม สถานศึกษาจัดทำโครงการส่งเสรมิ ศักยภาพทักษะพื้นฐานผเู้ รียนระดบั ปฐมวัย โดยจัดกจิ กรรมมุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเบื้องต้นในด้านพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ปรับตัวเข้าหากับเพื่อนได้ง่ายอย่างมีความสุข ในการทำกิจกรรมกลุ่มเด็กเรียนรู้การอดทน รอคอย และแบ่งปันผู้อื่น ยอมรับกฎกติกา ข้อตกลงและสามารถปฏิบัติได้ มีความไว้วางใจและเชื่อใจคุณครูและ เพื่อนๆ มีมารยาทต่อการเข้าสังคม กิจกรรมเข้าแถวในตอนเช้า เด็กรู้จักหน้าที่ ระเบียบวินัย และปฏิบัติได้ เหมาะสม มีโครงการวนั สำคัญ จัดกิจกรรมขึน้ เพ่ือให้เด็กและผู้ปกครอง ตลอดจนชุมชน มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางสถานศึกษาได้ดำเนินการจัดขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ส่งผลดี ต่อเด็กในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขในสังคมปัจจุบัน เด็กมีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทย ท้องถิ่น ส่งผลให้เด็กปฐมวัยโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) มี พัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดขี องสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม 1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สือ่ สารได้ มีทกั ษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ สถานศึกษาจดั ทำโครงการส่งเสรมิ ศักยภาพทักษะพื้นฐานผู้เรียนระดบั ปฐมวัย โดยจดั กิจกรรมมุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเบื้องต้นในด้านการพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และ แสวงหาความร้ไู ด้ ได้แกท่ ักษะในเรื่องมติ ิสัมพันธ์ ทักษะในเรื่องจำนวน ปริมาณ นำ้ หนกั การกะประมาณและ การ เชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ และเสริมทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน และการเขียนให้กับเด็กที่มีความพร้อมใน การเรียนรู้ให้มีพัฒนาการที่ดียิ่งขึ้น เป็นการฝึกเด็กให้มีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์ ทักษะในเรื่องจำนวน ปริมาณ น้ำหนักและการกะประมาณ และสามารถเชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ ทำให้เด็กมีจินตนาการ ความคิด สร้างสรรค์ต่อยอดผลงานของตนเองได้ เช่น การปั้นดินน้ำมัน การเล่นสีน้ำ การฉีกปะ เป็นต้น มีพื้นฐานทางด้าน ภาษา สนทนาโต้ตอบกบั ครแู ละเพือ่ นๆได้ ส่งผลให้เด็กปฐมวัยโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) มีพัฒนาการ ดา้ นสติปัญญา สือ่ สารไดม้ ที กั ษะการคดิ พน้ื ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้อยา่ งเหมาะสม จุดเดน่ เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อบย่างคล่ องแคล่วมีทักษะใน การเคลื่อนไหวตามวัย มีการใช้มือและตาประสานสัมพันธ์กันได้ดี มีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ เช่น ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือหลังออกห้องน้ำ รู้จักรักษาสุขภาพอนามัยตนเอง เลือกรับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความมั่นใจ กล้าคิด กล้าแสดงออกได้เหมาะสม มีวินัย รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ตี นเอง เชอื่ ฟังคำสัง่ สอนของพอ่ แม่ ครูและผู้ใหญ่ มคี วามซือ่ สตั ย์ ร้จู กั แบง่ ปนั สามารถสนทนา ก ั บ ผ ู ้ อ ื ่ น ไ ด ้ ส า ม า ร ถ ต ั ้ ง ค ำ ถ า ม เ ร ื ่ อ ง ท ี ่ ต น เ อ ง ส น ใ จ ไ ด้ เ ด ็ ก ม ี ค ว า ม ส ุ ข ต ่ อ ก า ร เ ร ี ย น รู้ มเี จตคติท่ีดีต่อครแู ละเพ่ือน มกี ารพฒั นาทกั ษะในด้านตา่ งๆ รวมทั้งด้านวชิ าการ ได้เรยี นรเู้ กี่ยวกับตัวเลข ตัวอักษร และรปู ร่างที่หลากหลาย มกี ารสอดแทรกใหก้ บั เด็ก อยา่ งการร้องเพลง งานศลิ ปะ การเลา่ นทิ าน เกมต่างๆ ผลการดำเนินงานในการพัฒนาด้านคุณภาพเด็กในภาพรวมของโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) มี ระดับคุณภาพ ดีเลิศ ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดไว้ ตามประกาศแนบท้ายของ การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีพัฒนาการครบทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย 44

ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา อีกทั้งมีการเสริมทักษะด้านการอ่าน และการเขียนให้กับเด็กที่มีความพร้อมในการเรียนรู้ให้มีพัฒนาการที่ดียิ่งขึ้น ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพร่างกาย เจรญิ เตบิ โตตามวัย มลี กั ษณะพฤติกรรมที่แสดงออกทางอารมณ์ จติ ใจ และความรูส้ ึกทีเ่ หมาะสมกับวัย มีความสุข ร่าเริง แจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก และควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับวัย ส่วน ด้านสังคม เด็กมีวินัยและความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์รู้จักแบ่งปัน มีกิริยามารยาทที่ดีเหมาะสมกับวัย และมี สัมมาคารวะในโอกาสตา่ งๆตอ่ ผู้ใหญ่อย่างเหมาะสม ข้อจำกัดของการดำเนนิ งาน จุดทคี่ วรพัฒนา ข้อจำกัดของการดำเนินงาน จุดที่ควรพัฒนาด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยภาพรวม ครูควรจัดทำ โครงการเพิม่ เติมตามความเหมาะสม คำนึงถึงความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบคุ คล เพื่อให้นักเรียนไดม้ ี การพัฒนา ทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพจติ ดียิ่งขึ้นกวา่ เดมิ เพมิ่ เตมิ การตอ่ ยอดกิจกรรมต่างๆ ทใี่ ห้เด็กสามารถแสดง ออกมาได้หลากหลายวิธี เช่น การเล่าเรื่องตามภาพตามจินตนาการของเด็ก และหากิจกรรมที่ฝึกให้เด็กมีสมาธิ มากยิ่งขนึ้ โดยเป็นการบูรณาการใหส้ อดคล้องกบั การใช้ในชวี ิตประจำวัน เปน็ การฝึกสมาธิใหเ้ ด็กร้สู ึกสงบ นิ่ง และ สนใจกับสิ่งที่ครูสอนได้นานยิ่งขึ้น เช่น กิจกรรมโยคะสำหรับเด็กแบบง่าย ให้เด็กได้ฝึกการควบคุมลมหายใจ การ น ั บ เ ล ข ก า ร ท ำ ท ่ า ท า ง ท ี ่ แ ป ล ก ใ ห ม ่ ม ี ค ว า ม น ่ า ส น ใ จ ย ิ ่ ง ข ึ ้ น ก า ร ส ร ้ า ง ส ั ง ค ม แ ห่ ง การเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัย ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ในแขนงวิชาการต่างๆ โดยเฉพาะคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ และการปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี เช่น การล้างมือ ก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือก่อนออก จาก ห้องน้ำ ห้องส้วม และการเลือกรับประทานอาหาร ที่มีประโยชน์ ให้เป็นนิสัยในช่วงสถานการณ์ของ โรค Covid – 19 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อยใู่ นระดบั ดเี ลศิ ผลกระบวนการบริหารและการจัดการ ดงั น้ี ๒.๑ มีหลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการท้งั ๔ ด้าน สอดคล้องกบั บริบทของท้องถิน่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สถานศึกษาได้ดำเนินการวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๖๐ แต่งตั้งคณะทำงาน โดยการปรับหลักสูตรฯดังกล่าวให้เป็นหลักสูตรของสถานศึกษาที่ครอบคลุม พฒั นาการทัง้ ๔ ด้าน เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและท้องถน่ิ พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของ เด็ก โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญาเพื่อให้ผู้เรียนมี ค ว า ม ส ุ ข ใ น ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ม ี ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ก า ร ส อ น โ ด ย ก า ร จ ั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ มีการกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน สามารถนำมาปฏิบัติได้จริง โดยจัดกลุ่มผู้เรียนตามความรู้ ความสามารถ ความสนใจ และความถนดั ตามศกั ยภาพของผ้เู รียนเพ่ือเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใหผ้ ้มู สี ่วนร่วมทุก ฝ่ายไดม้ บี ทบาทในการมสี ว่ นร่วมการจดั การศกึ ษา โดยให้มกี ารประสานความรว่ มมือเพ่ือรว่ มกันพัฒนาผู้เรียนตาม ศกั ยภาพ ๒.๒ จัดครใู หเ้ พยี งพอกับชน้ั เรยี น สถานศึกษามีครูปฐมวัยทั้งหมด 4 คน ซึ่งเป็นครูที่ตรงตามวิชาเอกปฐมวัย มีความรู้ความสามารถด้าน การจัดการศึกษาปฐมวัยโดยตรง มีประสบการณ์ในการสอน ทางโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) 45

มีการจัดให้มีการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ ให้ครูมีความชำนาญในการสอนเด็กปฐมวัยอย่าง ต่อเนื่องจัดครไู ดค้ รบทกุ ชน้ั เรียน ๒.๓ สง่ เสริมให้ครูมคี วามเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ สถานศึกษามีการพัฒนาบุคลากรครูอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ สามารถออกแบบการจัดกจิ กรรม และประเมนิ พัฒนาการเด็กได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ครูมีความรู้ ความสามารถใน การวิเคราะห์หลักสตู ร วเิ คราะห์เด็กเปน็ รายบุคคล จัดทำแผนการจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็นสำคญั รวมท้ังการ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ใ ห ้ ค ร ู ป ฐ ม ว ั ย ท ุ ก ค น เ ข ้ า ก า ร อ บ ร ม พั ฒ น า ค ว า ม ร ู ้ อ ย ่ า ง ส ม ่ ำ เ ส ม อ และการทำ PLC ในระดับปฐมวยั อยา่ งต่อเนือ่ ง ๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพื่อการเรยี นรู้อยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ทั้งภายในและภายนอกได้อย่าง เหมาะสมต่อการเรียนรู้ของเด็ก ห้องเรียนปลอดโปร่ง มีอากาศถ่ายเท สะอาด น่าอยู่ จัดของวางเป็นระเบียบ เรียบร้อย มีสื่อบัตรคำพยัญชนะ ส่งเสริมทักษะพื้นฐานให้กับเด็ก เกมจับคู่หมวดต่างๆ เมื่อเด็กเล่นของเล่นจะจำ การเก็บเข้าที่ได้อย่างเป็นระเบียบ คำนึงถึงความปลอดภัยของเด็กการวิ่งเล่น การปีนป่ายอยู่ในความดูแลของครู ตลอดเวลา รวมทั้งของเล่น และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างให้แก่เด็กปฐมวัยอย่างทั่วถึง เพียงพอ ที่ส่งผลต่อการ พัฒนาการทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา มีการจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อ การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัยและพอเพยี ง ๒.๕ ให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และส่อื การเรยี นรู้เพื่อสนับสนนุ การจัดประสบการณ์สำหรับ ครู สถานศึกษามีการจัดสรรหาสื่อเทคโนโลยีให้ในหอ้ งเรียน เพื่ออำนวยความสะดวกใหก้ ับครูและเด็ก เป็น การสนับสนุนให้เด็กได้มีการเรียนรู้เกี่ยวกบั สิ่งที่อยู่นอกห้องเรยี นมากขึ้น มีการให้บริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสือ่ การเรยี นรเู้ พ่อื สนับสนนุ การจัดประสบการณ์สำหรับครู ๒.๖ มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วข้องทุกฝา่ ยมสี ว่ นร่วม ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ช่วยขับเคลื่อนให้การบริหารจัดการศึกษาดำเนินไปตามความ ต้องการของผู้ปกครองและชุมชน ช่วยให้สถานศึกษาได้ยอมรับจากชุมชน ซึ่งส่งผลให้ผู้ปกครองและชุมชน สนับสนนุ ทรัพยากรการศึกษา และให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการดำเนินกจิ กรรมต่างๆด้วยความเต็มใจ จุดเด่น สถานศึกษามีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษาและท้องถิ่น มีการวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำตารางวิเคราะห์คำอธิบายรายหน่วยการเรียนรู้ วิเคราะห์ ผเู้ รยี นรายบคุ คล ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เป็นสำคัญ เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั หลกั สูตร และการนำแผนการจดั ประสบการณ์ไปใชร้ ว่ มกบั กิจกรรมประจำวนั ๖ หลัก ไดอ้ ย่างเหมาะสม รวมทัง้ มี การจัดมุมประสบการณ์ มีการกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เหมาะสมและสอดคล้องกับศักยภาพของ ผู้เรียน มีการบูรณาการ เน้นการคิด การฝึกทักษะ การปฏิบัติจริง ทำให้เด็กได้รับความรู้ความสามารถตาม ศักยภาพของเดก็ เช่นมมุ ดนตรี มุมบลอ็ ก มมุ ศลิ ปะสร้างสรรค์ มมุ บทบาทสมมุติ มุมนทิ าน และมมุ เกมการศกึ ษา 46

ข้อจำกัดของการดำเนินงาน จดุ ทค่ี วรพฒั นา เครื่องเล่นสนามมีจำนวนจำกัด ไม่เพียงพอ และควรจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่าง ปลอดภยั และพอเพยี ง มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเป็นสำคญั อยใู่ นระดบั ดเี ลิศ ผลการจัดประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เป็นสำคญั ดงั น้ี ๓.๑ จัดประสบการณท์ ่ีสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ ครูปฐมวยั ทกุ คนใหค้ วามสำคญั ของการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทุกคนท่ีครอบคลมุ ท้ังด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และดา้ นสติปญั ญา มีความรู้คคู่ ุณธรรม มีการจัดประสบการณใ์ นรปู แบบบูรณาการ การเรยี นรู้ ผ่านการเล่น เช่นส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดประสบการณ์โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย แห่งประเทศไทย โครงการส่งเสรมิ ศกั ยภาพทกั ษะพ้ืนฐานผูเ้ รียนระดับปฐมวัย เพ่อื ให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรงเกิดการเรยี นรู้และมี การพัฒนาทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ซึ่งสามารถยืดหยุน่ ไดอ้ ย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา มีการใช้สื่อ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ดา้ น ๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบตั อิ ยา่ งมคี วามสขุ ครูปฐมวัยจดั ใหเ้ ดก็ ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมการแสดงออกอย่างอิสระตามความต้องการ และจินตนาการ สร้างสรรค์ผ่านการเล่นของเด็กในชีวิตประจำวัน โดยมีปฏิสัมพันธ์กับสิง่ ต่าง ๆ บุคคล และสิ่งแวดล้อมรอบตัว ใน การจัดกิจกรรมต่างๆครูจะสอดแทรกการให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ให้เด็กได้ปฏิบัติจริง เช่น การละเลน่ พ้นื บา้ น ฝึกใหเ้ ดก็ ไดร้ จู้ ักการเล่นร่วมกบั เพ่อื นอยา่ งมคี วามสุข รจู้ กั วฒั นธรรมการละเลน่ พื้นบ้าน ฝึกการ เรียนรู้กฎกติกา กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ฝึกให้เด็กได้รู้จักการเป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ เด็กได้สนทนาโต้ตอบกบั ครูและเพื่อนๆ เพื่อเชอมโยงกับองค์ความรู้เดิมของ ตัวเด็ก กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ การประดิษฐ์กระทงจากขนมปัง เด็กได้พยายามลงมือปฏบิ ัติด้วยตนเองโดยมคี รู คอยชี้แนะ กิจกรรมเสรี เด็กได้รู้จักการตัดสนิ ใจเลือกในส่ิงที่อย่างเลน่ ด้วยตัวเอง กิจกรรมกลางแจ้ง เด็กสามารถ ปฏิบัติตามกฎข้อตกลงได้ และระมัดระวังความปลอดภัยต่อผู้อื่นไดด้ ว้ ยตนเอง เปน็ ตน้ ซึ่งการที่เด็กได้ลงมือปฏิบัติ จริง จะทำใหเ้ ดก็ สนุกและมคี วามสขุ ต่อการเรียนรมู้ ากยิง่ ข้นึ สง่ ผลให้เดก็ ผ่อนคลาย และเกดิ การเรียนรูไปพรอม ๆ กันด้วย เด็กมีโอกาสเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายใช้ประสาทสัมผัสและ การรับรู เรียนรูความรูสึกของผู้อื่น รูสึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน ได้สังเกต สำรวจ ทดลอง คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาและค้นพบด้วยตนเอง ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สตปิ ญั ญา ตามวัยอยา่ งมคี ณุ ภาพ ๓.๓ จัดบรรยากาศท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ใชส้ ่ือและเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวยั โรงเรียนดำเนินการจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆเพื่อพัฒนาห้องเรียน สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การเรยี นรู้ โดยเป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสใหเ้ ด็กทกุ คนเลือกตามความสนใจ ลงมือกระทำผ่านสื่อ อุปกรณ์ และของ เล่นที่ตอบสนองการเรียนรู มีความยืดหยุน เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการลองผิด ลองถูก การได้สัมผัสกระทำ และ การกระทำซ้ำ ๆ เด็กจะมีความสนใจ อยากรู้อยากเห็น เกิดการค้นพบและการแก้ปัญหา 47

ความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น ในสภาพแวดล้อมทีอ่ ิสระ เอื้อต่อการเรียนรู้และเหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการของ เดก็ แตล่ ะคน ๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็ ครูปฐมวัยมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ ใช้ วิธีการและเครื่องมือประเมินที่หลากหลาย เช่น การสงั เกตพฤติกรรม แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ ในการประเมิน จะประเมินลงในสมุดบันทกึ พัฒนาการเด็ก ครู จะประเมิน หลังแผนการจัดประสบการณ์ทุกครั้ง แล้วนำผลการประเมินไปบันทึกลงในสมุด ประจำตัวเด็ก การ วิเคราะห์ผลการพัฒนาตามพัฒนาการของเด็ก เพื่อนำผลมาประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นเรียน ตลอดจนรูปแบบการเรียนรู้ประสบการณ์ที่เด็กได้รับ มีการเก็บข้อมูลอย่างรอบด้าน โดยใชเรื่องราวเหตุการณ กิจกรรมตามสภาพจริง เด็กมีโอกาสแสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ และทกั ษะต่าง ๆ จากการปฏิบัติกิจกรรม มกี ารนำเสนอหลักฐานในการประเมิน ที่สามารถบอกได้ วา่ เด็กเกิดการเรยี นรูแ้ ละมคี วามก้าวหน้าเพียงใด ครูใช้ผลดังกล่าวในการวางแผนการจัดกิจกรรมตามความต้องการ ข อ ง เ ด ็ ก แ ต ่ ล ะ ค น ใ ช ้ เ ป ็ น ข ้ อ ม ู ล ใ น ก า ร ส ื ่ อ ส า ร กั บ ผ ู ้ ป ก ค ร อ ง ข อ ง เ ด ็ ก แ ล ะ การประเมินคณุ ภาพและประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษาใหก้ ับเด็กในวัยด้วย จุดเด่น ครจู ัดทำแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกบั หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ทีค่ รอบคลุมพัฒนาการทัง้ ๔ ด้าน มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องสัมพันธ์กับกิจกรรมประจำวัน ๖ กิจกรรมหลัก จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเกมการศึกษาซึ่งแต่ละกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือ ปฏิบัติเอง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้านเหมาะสมตามวัย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลครูจัด สิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ใช้สื่อ เทคนิค วิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาเด็กทุกด้าน วัดและ ประเมินผลเด็กดว้ ยวิธีการท่หี ลากหลาย ครมู ปี ฏิสมั พนั ธ์ที่ดกี ับเด็กและผูป้ กครอง ข้อจำกดั ของการดำเนินงาน จดุ ที่ควรพัฒนา ครูควรได้รับการพัฒนาดา้ นการใชส้ ่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก การใช้ เครือ่ งมือวดั และประเมินพฒั นาการของเด็กอย่างหลากหลาย การวิจัยและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ท่ีตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรบั การจัดประสบการณ์ 48

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มาตรฐานการศกึ ษา : ดีเลิศ ระดับคุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ดีเลศิ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น ดเี ลศิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผู้เรียน อยู่ในระดับ ดีเลศิ กระบวนการพัฒนา 1.1 ดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รียน โรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลาย ส่งเสริมให้ครูจัด กระบวนการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ดำเนินโครงการ/กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย เพื่อพฒั นาผู้เรียนใน ดา้ นการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการ ได้แก่ โครงการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ จัดกจิ กรรมฝึกทักษะท้ัง 8 กลุ่ม ส า ร ะ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ เ พ ื ่ อ ย ก ร ะ ด ั บ ผ ล ส ั ม ฤ ท ธ ิ ์ ท า ง ก า ร เ ร ี ย น ท ั ้ ง 8 ก ล ุ ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ ร ี ย น รู้ ของนักเรียนให้สูงขึ้น จัดทำโครงการการสอนซ่อมเสริมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยจัดสอนเสริมให้กับ นกั เรียน หลังเลิกเรยี นทุกวันและวันหยุดต่างๆ โครงการนกั เรียนโรงเรียนวัดปากท่อใฝร่ ู้ใฝ่เรียนอ่านเขียนได้ทุกคน มุ่งพัฒนาให้ผู้เรยี นทุกคนอ่านออกเขียนได้ ต้งั แตร่ ะดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 จัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการค้นคว้า/แสวงหาความรู้ จัดทำโครงการห้องสมุดมีชีวิต กิจกรรม ส่งเสริมรักการอ่าน กิจกรรมบันทึกการอ่าน กิจกรรมภาษาไทยวันละคำ ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศด้าน วิชาชีพ และมีสุนทรียภาพด้านดนตรี กีฬา ศิลปะการแสดง จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการ ปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ด้วยการจัดทำโครงการส่งเสริมศิลปะ กีฬา ลูกเสือ-เนตรนารี ทัศนศึกษาและเข้าค่ายวิขา การ โครงการครูภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและประเมินผล ตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 1.2 ดา้ นลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รยี น โรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) ดำเนินการจัดกิจกรรม/โครงการเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ นักเรียน ดังนี้ โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ (กิจกรรมพบพระ) ตามนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน เพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในทุกด้าน จัดทำโครงการการเรียนรู้สู่วิถีชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้นักเรียนดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งสอดคล้องกับ พันธกิจของโรงเรียน กิจกรรมสืบสานผ่านวันสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม ของไทย แสดงออกถึงการรว่ มสืบสานและอนรุ ักษ์ประเพณีผา่ นกจิ กรรมการแห่เทียนจำนำพรรษา ทำบุญตักบาตร 49

ฟังธรรมทุกวันพระ กิจกรรมเสริมสร้างประชาธิปไตยและวินัยนักเรียน การเลือกตั้งคณะกรรมการนักเรียน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ครบถ้วน สมบูรณ์ และผู้เรียนทุกคนได้รับการช่วยเหลือตามความแตกต่างอยา่ งทัว่ ถึง โครงการส่งเสริมศิลปะ กีฬา ลูกเสือ- เนตรนารี ทัศนศึกษาและเข้าค่ายวิขาการ เพื่อปลูกฝังคุณลักษณะความเป็นผู้นำ ความเป็นประชาธิปไตย ความ รับผิดชอบ ความมีวินัย มีภาวะผู้นำและมีจิตอาสา จัดกิจกรรมค่ายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารีสามัญ กิจกรรมจิต อาสาบำเพ็ญประโยชน์ จัดแบ่งเขตพื้นที่ให้นักเรียนทุกห้องดูแลรับผิดชอบรักษาความสะอาด และกิจกรรมวัน คริสต์มาส เพื่อเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้เสริมสรา้ งความสมั พันธ์อันดีระหวา่ งกัน และเข้าใจถึงความแตกต่างระหวา่ ง บุคคล ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย เกิดเจตคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบ สุข นอกจากนี้ยังได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและอาหารกลางวัน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคมที่ดี ได้แก่การตรวจสุขภาพนักเรยี น กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของ ผู้เรียนทุกคน และประสานงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลปากท่อเพื่อแปรผล จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้รับวัคซีนตามที่กำหนด มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน จัดกิจกรรมเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เข้าร่วมกิจกรรมกับสถานีตำรวจภูธรปากท่อใน โครงการครูแดร์ หรือ D.A.R.E. (Drug Abuse Resistance Education) เปน็ โครงการศึกษาเพ่ือต่อต้านการใชย้ าเสพติดในเด็กนักเรียน โดยมีเจ้าหน้าท่ีตำรวจภูธรปากท่อ เข้า มาให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและวิธีดูแลป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด เป็นโครงการ เพื่อส่งเสริมให้ นกั เรยี นได้รบั ข้อมลู ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสรุ าและยาเสพติด รู้จกั ใชท้ ักษะในการตัดสนิ ใจ รจู้ ักวธิ ตี ่อต้านแรงกดดันของ กลุ่มเพื่อน และรู้จักใช้ทางเลือกอื่นๆ นอกเหนือจากการใช้ยาเสพติดและความรุนแรงจัดกิจกรรมส่งเสริม ปลูกฝัง เพอ่ื สรา้ งจติ สำนึกรว่ มกันในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ใหก้ บั ผูเ้ รียนดำเนินชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีจิตสาธารณะ ด้วยโครงการอนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อมโดยใช้รูปแบบแหล่งการเรียนรู้ กิจกรรมดูแลเขต พื้นที่รับผิดชอบของแต่ละห้องเรียน กิจกรรมแยกขยะ ธนาคารขยะ กิจกรรมเรียนรู้เรื่องการประหยัดไฟฟ้า กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรม “อาสาพิทักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม” จัดกลุ่ม อาสาสมัครดูแลการใช้น้ำและไฟฟ้าของแต่ละชัน้ เรียน พร้อมทั้งดูแลสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบโรงเรียน จัดกิจกรรม “ลดขยะ ลดโลกรอ้ น” รณรงค์และจัดทำธนาคารขยะและจัดทำโครงงานประดษิ ฐ์สง่ิ ของจากวัสดเุ หลอื ใช้หรือขยะ ในภายในช้นั เรียน อาทิเชน่ ถุงนม ขวดนำ้ ผลการดำเนนิ งาน การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ ตามมาตรฐานการอ่านในแต่ ระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารได้ดี รู้จักการวางแผน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้า แสดงออกและแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิง่ ไหนดี สำคัญจำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติด เลือกรับประทานอาหารที่สะอาดและมี ประโยชน์ รกั การออกกำลังกาย มจี ิตสำนกึ ร่วมกนั ในการอนุรกั ษพ์ ลงั งานและสงิ่ แวดล้อม มีจิตสาธารณะ มที ัศนคติ ที่ดีตอ่ อาชพี สจุ รติ โดยมผี ลจากการดำเนินการดังน้ี 1. ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรียน มจี ำนวนผู้เรยี นท่อี ยใู่ นระดับดขี ้ึนไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 77.77 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี จากการดำเนินการตามโครงการยกระดบั ผมสมั ฤทธิท์ างการเรียน ทำให้ผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของผู้เรียนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู ปการศึกษา 2564 อยู่ในระดับดี ผลการประเมินความสามารถใน 50

การอ่าน (RT) ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT) ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติข้ัน พ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา2564 ทางโรงเรยี นเลอื กไม่ประสงค์สอบโดยการสอบถาม ทางผู้ปกครองจึงไม่มีการรายงานผล นกั เรยี นมคี วามสามารถในการคิดอย่างเปน็ ระบบใช้เหตุและผล สรุปความคิด จากเรื่องที่อ่าน ฟัง ดู มีการสื่อสารโดยการพดู หรือเขียนตามความคิดของตนเอง การดำเนินงานตามโครงการและ กิจกรรมดังกลา่ วขา้ งต้น ทำให้เกิดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระ สมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตร และมีผล การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรียนพัฒนาบรรลุตามเป้าหมายมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่โรงเรียนกำหนดไว้ ผเู้ รียนสามารถอา่ นออกตามมาตรฐานการอ่านในแตล่ ะระดับชั้น สามารถเขยี นสอ่ื สารได้ รจู ักการวางแผน สามารถ ทำงานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้ดี กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูล หรือแสวงหาความรูจากสื่อ เทคโนโลยีได้ ด้วยตนเอง สามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สำคัญ จำเป็น รู้เท่าทนั สือ่ และสังคมท่เี ปล่ยี นแปลงรวมท้ังมคี วามรูและทักษะพน้ื ฐานมที ัศนคติทด่ี ีตอ่ อาชีพสจุ ริต 2. ผลการประเมนิ ด้านคุณลักษณะและคา่ นิยมทีด่ งี ามตามที่โรงเรยี นกำหนด ผู้เรยี นผา่ นการประเมิน ทุกคุณลักษณะที่พึงประสงคในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 98.10 ผู้เรียนมีระเบียบวินัย มีจิตสำนึกและมีส่วน ร่วม ในการอนุรักษพัฒนาสิ่งแวดล้อม นอมนำเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตและ การประกอบอาชีพละสามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ สามารถยอมรบั การอยูรว่ มกนั บน ความแตกต่างและหลากหลามีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสงั คมทดี่ ี แผนพฒั นาเพ่อื ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่ีสงู ข้นึ 1. โครงการพัฒนาคณุ ภาพทางวชิ าการ 2. โครงการการสอนซ่อมเสริมเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษา 3. โครงการนักเรยี นโรงเรียนวดั ปากท่อใฝ่รูใ้ ฝเ่ รยี นอา่ นเขยี นได้ทุกคน 4. โครงการหอ้ งสมดุ มีชวี ติ 5. โครงการสง่ เสริมศลิ ปะ กีฬา ลกู เสือ-เนตรนารี ทศั นศึกษาและเขา้ ค่ายวิขาการ 6. โครงการครูภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น 7. โครงการโรงเรยี นวถิ พี ุทธ (กจิ กรรมพบพระ) 8. โครงการการเรียนรูส้ ่วู ถิ ชี ีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 9. โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น 10.โครงการสง่ เสริมศิลปะ กฬี า ลกู เสอื -เนตรนารี ทัศนศึกษาและเขา้ ค่ายวขิ าการ 11.โครงการส่งเสริมสขุ ภาพและอาหารกลางวัน 12.โครงการอนุรกั ษ์พลังงานและส่ิงแวดลอ้ มโดยใช้รปู แบบแหลง่ การเรยี นรู้ 51

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อยูใ่ นระดบั ดีเลศิ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวดั ปากท่อ(ปากท่อวทิ ยาคาร) ไดด้ ำเนนิ การวิเคราะหส์ ภาพปญั หา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบาย การปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อวางแผนร่วมกันกำหนด เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น มีการปรับแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา พร้อมทั้งจัดหา ทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผ้ รู้ บั ผิดชอบ ดำเนินการพฒั นาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ทก่ี ำหนดไว้ มกี ารดำเนินการนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนนิ งาน โรงเรียนวดั ปากทอ่ (ปากทอ่ วิทยาคาร) มเี ป้าหมาย วิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาความ ต้องการพัฒนาของ สถานศึกษา นโยบายการปฏริ ูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ทอ้ งถิ่น และสอดคล้องกับ แนวทางการ ปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการ พัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความ เชี่ยวชาญ ตาม มาตรฐานตำแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้ มี การปรับ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความ ต้องการ พฒั นา และนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษา ผูเ้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย และเครอื ขา่ ยการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา มีการ นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม มีรูปแบบการบริหารและการ จัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลกั แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยมงุ่ พัฒนาผู้เรียนตาม แนวทางปฏิรปู การศกึ ษามีการระดมทรัพยากรเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาจากหน่วยงานต่างๆในชมุ ชน สง่ ผล ให้ สถานศึกษามสี อ่ื และแหล่งเรียนรู้ท่มี คี ุณภาพ นอกจากนี้โรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) มีการส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาคณะครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้มีความ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มาใช้ในการ พัฒนางานและการ เรียนรู้ของผู้เรียน โดยการวางแผนจัดโครงการ/กิจกรรม ได้แก่ โครงการพัฒนาประสิทธิภาพ บุคลากร ที่ส่งเสริมสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สนับสนุนให้ครูและบุ คลากร ทางการศึกษาเข้ารับการอบรมจาก หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานภายนอก เพื่อนำความรู้ที่ได้รับมาใช้พัฒนางาน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันหาแนวทางในการ แกไ้ ขปัญหา และนำความร้ทู ่ีได้รับมาพัฒนาตนเองและพฒั นาการเรียนร้ขู องผ้เู รยี น โรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) ได้จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ด้วยโครงการปรับปรุงอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน มีการ วิเคราะห์ สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา และมอบหมายให้งานอาคารสถานที่ กลุ่มบริหารงานทั่วไปเป็น ผู้รับผิดชอบในการ ดูแล จัดสร้าง พัฒนาและปรับปรุง สถานที่ต่างๆ ให้มีความมั่นคง ปลอดภัย สะดวกต่อการจัด งานหรือจัดกิจกรรมต่างๆ มุ่งเน้นให้เกิดความสะอาดและพร้อมใช้งานอยู่เสมอ ดำเนินการพัฒนาและปรับปรุง ห้องปฏิบัติการและห้องเรียนต่างๆ ให้มีความสะอาด ปลอดภัย และสะดวกต่อการใช้งาน อุปกรณ์ในห้อง ปฏิบัติ 52

และห้องเรียนต่างๆ อยู่ในสภาพพรอ้ มใช้งาน มีสื่อและเทคโนโลยีที่เอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้ครบถ้วนสมบูรณ์ และ จากสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำโครงการเฝ้าระวัง และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เพื่อการดูแลเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคใน โรงเรยี น มจี ดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์ในการป้องกันโรค โรงเรยี นมมี าตรฐานตามมาตรการการป้องกนั ควบคุมโรค นักเรียน รู้จักวิธีการป้องกันและดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 มีการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์การ แพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 นักเรยี นเรียนอย่างสนุกมคี วามสุข และปลอดภัย มีการจดั ทำแผนปฏิบัติ การประจำปี เพื่อเป็นกรอบในการดำเนินงาน มีการจัดสรรวัสดุอุปกรณ์ทาง เทคโนโลยี และมีการพัฒนาระบบ เครือข่ายเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการการทำงานของกลุ่มบริหารงาน ทุกกลุ่มบริหารงาน และเพื่อให้มีความ เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการพัฒนาระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตและสญั ญาณ Wifi ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ จัดหาซอฟต์แวร์ทางการบริหารกลุ่มงานและฝ่ายต่างๆ เชน่ การรายงานข้อมูลทางการเงิน (e - budget) ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e - GP) ตรวจสอบคุณภาพของ อุปกรณ์ต่างๆ และมีการ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ให้แก่ทุกกลุ่มบริหารงาน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามความ เหมาะสม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ ในด้านของระบบสารสนเทศที่ใช้ งานในการดำเนินงานต่างๆ ทุกกลุ่มบริหารงานมีการวางแผนการดำเนินงานโดยการใช้ข้อมูล และปัญหาที่เกิดข้ึน เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน มีการดำเนินการตามแผนการปฏิบัตกิ ารและสรปุ ผลการดำเนินงาน พร้อมทั้งมีการ จัดการข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบสารสนเทศเพื่อให้ขอ้ มูลเป็นปัจจุบนั ทำให้การทำงานเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ผลการดำเนินงาน สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนา ของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความ เชี่ยวชาญตามาตรฐานตำแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศ มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการ อยา่ งเป็นระบบ และมกี ารจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุน้ ผ้เู รียนให้ใฝเ่ รียนรู้ ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา มสี ว่ นร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรบั ทราบ รับผิดชอบต่อ ผลการจัดการศึกษา สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาท่ี เหมาะสม เป็นระบบอย่างต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา สถานศึกษามีรูปแบบ การบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภิบาล สถานศึกษามีการระดมทรพั ยากร เพือ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาจากทุกภาคส่วน ข้อจำกดั ของการดำเนนิ งาน กระบวนการนิเทศ กำกับ ติดตาม ของโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากทอ่ วิทยาคาร) ยังไม่เป็นรูปธรรม และ ขาดความต่อเน่อื ง การใช้ขอ้ มลู ป้อนกลบั ในการพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง 53

จุดท่ีตอ้ งการพัฒนา เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียน สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา และการขับเคลอ่ื นคุณภาพการจดั การศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ อยใู่ นระดับ ดีเลิศ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวทิ ยาคาร) สง่ เสริมให้ครูจดั กระบวนการเรยี นการสอนแบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงานหรือกิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตร มีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลกั สตู รสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัดฯ ส่งเสริมให้ครูจัดการ เรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ กระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทนโดยมีการบูรณา การหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในหนว่ ยการเรียนรู้ในแต่ละสาระการเรียนรู้ ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของ หลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบ ประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการ เรยี นรู้ ครมู แี ผนการจดั การเรยี นรู้ที่สามารถนำไปใชจ้ ัดกิจกรรมไดจ้ รงิ ส่งเสริมให้ครูใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อมัลติมิเดีย เอกสารประกอบ การเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนส่งเสริม การจัดการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ( Distance learning information technology : DLIT) การสืบค้นขอ้ มูลจากอินเทอรเ์ นต็ และจัดกจิ กรรมการร้โู ดยใช้ภูมปิ ญั ญาและแหล่งเรยี นรูใ้ นท้องถิน่ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก โดยการเสริมแรง มอบรางวัล ยกย่อง ชมเชย มีการสร้างวินัยในการ เรียนเชิงบวก หมั่นให้กำลังใจนักเรียน เมื่อนักเรียนทำดี ต้องกล่าวชื่นชม ต้องชมทุกครั้ง โดยพยายามให้การชม เกดิ ขึ้นบอ่ ยกว่า การตักเตือน เลอื กถ่ายทอดความรัก มากกว่าการใช้ความรนุ แรงใช้การสื่อสารโดยตรงกับนักเรียน สบตานักเรียนและสื่อสารทันทีที่นักเรียนแสดงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ครูไม่แสดงอารมณ์โกรธ หรือควบคุม อารมณ์ให้มีอารมณ์น้อยที่สุด ไม่ตำหนิ เยาะเย้ย ถากถาง ประชดประชัน เปรียบเทียบ ควบคุมอารมณ์ของตนให้ เสมอต้นเสมอปลาย มั่นคง แสดงออกทั้งร่างกายและคำพูด ให้อย่างไม่มีเงื่อนไข สร้างบรรยากาศที่อบอุ่ นมี ปฏสิ มั พันธ์เชิงบวก เพื่อสร้างการจูงใจให้ผูเ้ รียนรักการเรียนรูแ้ ละเรยี นรรู้ ว่ มกันอยา่ งมีความสุข ครูร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้โดยนำข้อมลู มาร่วมพฒั นาปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ดำเนินการสอนตามแผน ครผู ลติ ส่ือและนวัตกรรมการ เรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสรา้ งรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ี สอดคลอ้ งกับหนว่ ยการเรียนรู้ สนับสนุนใหค้ รูจัดการเรยี นการสอนทส่ี รา้ งโอกาสให้นักเรียนทกุ คนมีส่วนร่วม ได้ลง มือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ ด้วย โครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าท่ีให้นักเรียนจดั ป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานทตี่ ่าง ๆทง้ั ภายใน ห้องเรียน และนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน และเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและ ประสทิ ธิภาพของส่อื การสอน ครทู กุ คนทำงานวจิ ัยในชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 เรือ่ ง ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC การนิเทศชั้นเรียน และให้ ขอ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรูข้ องครูทกุ คน 54

ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครูจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ส่งผลใหผ้ ลการประเมินคุณภาพมาตรฐานท่ี ๓ อยูใ่ นระดับ ดเี ลศิ ข้อจำกัดของการดำเนนิ งาน โรงเรยี นวดั ปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) ขาดครผู ูส้ อนตรงตามวิชาเอกทีโ่ รงเรียนมีความต้องการและจำเป็น ต้องการการจัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุนการบริหารสถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอน พัฒนาวัสดุ อปุ กรณก์ ารเรยี นที่ทนั สมัย จุดทีต่ อ้ งการพฒั นา 1. ควรนำภูมิปัญญาท้องถิน่ ให้เข้ามามสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมลู ยอ้ นกลับแก่นกั เรยี นทนั ทีเพื่อนกั เรยี นนำไปใช้พัฒนาตนเอง 2. การส่งเสริมให้ครูใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการจัดการ เรยี นรแู้ ก่ผู้เรียนในรูปแบบการวจิ ัย 3. ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทักษะทางภาษาตามกรอบ CEFR 55

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ระดับปฐมวัย ผลการประเมิน มาตรฐาน / ประเดน็ การประเมนิ ๕๔๓๒ ๑ ยอด ดเี ลิศ ดี ปาน กำลัง เยี่ยม กลาง พฒั นา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพเดก็ ดีเลิศ 1.1 มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นิสยั ที่ดแี ละดแู ลความปลอดภยั  ของตนเองได้ 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้  1.3 มีพัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ีดขี องสงั คม  1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐานและ  แสวงหาความรไู้ ด้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลศิ 2.1 มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของ  ท้องถิ่น 2.2 จดั ครใู หเ้ พียงพอกับชน้ั เรียน  2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชย่ี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์  2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพอ่ื การเรยี นรู้ อย่างปลอดภัยและพยี งพอ  2.5 ให้บรกิ ารส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นรเู้ พ่อื สนับสนนุ การ  จดั ประสบการณ์ 2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม  มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคญั ดเี ลิศ 3.1 จดั ประสบการณท์ สี่ ่งเสริมใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เต็มศกั ยภาพ  3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ยา่ งมี  ความสุข 3.3 จดั บรรยากาศที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรใู้ ชส้ ือ่ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสม กับ  วัย 3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พฒั นาการ  เดก็ ไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลศิ 56

สรุปผลการประเมินคุณภาพการจัดการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ผลการประเมนิ มาตรฐาน / ประเดน็ การประเมนิ ๕ ๔๓ ๒ ๑ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รยี น ยอด ดี ดี ปาน กำลัง เยย่ี ม เลิศ กลาง พฒั นา ๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น ๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สารและการคิดคำนวณ ดเี ลิศ ๒) มีความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา  ๓) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม  ๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร ๕) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา  ๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติทด่ี ตี อ่ งานอาชพี  ๑.๒ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น  ๑) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด  ๒) ความภูมใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ๓) การยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย  ๔) สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สังคม   มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ  ๒.๑ การมีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน ดเี ลิศ ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการที่เนน้ คณุ ภาพผ้เู รยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตร  สถานศกึ ษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย  ๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลกรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี  ๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ต่อการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมี คุณภาพ  ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้  มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ  ๓.๑ จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ ในใช้ชีวติ ได้ ดีเลศิ ๓.๒ ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ี่เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก  ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น ๓.๕ มีการแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรุงการ  จัดการเรียนรู้    สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลศิ 57

ตารางแสดงการสรปุ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ตารางแสดงผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย มาตรฐาน / ประเดน็ การประเมนิ คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก ดีเลศิ ดีเลิศ 1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสยั ที่ดีและดแู ลความ ดเี ลิศ ปลอดภยั ของตนเองได้ ดเี ลิศ 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ ดีเลศิ ได้ ดเี ลศิ 1.3 มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกทด่ี ีของ ดีเลิศ สังคม ดเี ลิศ 1.4 มีพฒั นาการดา้ นสติปญั ญา สือ่ สารได้ มีทักษะการคิดพืน้ ฐานและ ดีเลิศ แสวงหาความรไู้ ด้ ดเี ลศิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลศิ ดี 2.1 มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ ดี ท้องถน่ิ ดีเลศิ 2.2 จัดครูให้เพยี งพอกบั ชั้นเรยี น ดีเลิศ ดีเลิศ 2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รูมคี วามเช่ยี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ดีเลศิ ดเี ลิศ 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและพียงพอ ดีเลิศ ดี 2.5 ให้บริการสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู้ พ่อื สนับสนุน ดี การจดั ประสบการณ์ ดเี ลิศ 2.6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม ดีเลศิ ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี น้นเดก็ เป็นสำคัญ ดี ดเี ลศิ 3.1 จัดประสบการณ์ที่สง่ เสริมใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเต็ม ดเี ลิศ ศักยภาพ ดเี ลิศ 3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ตั ิอย่างมี ดเี ลิศ ความสขุ ดีเลศิ 3.3 จัดบรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการเรียนรใู้ ช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ดเี ลิศ กับวัย ดเี ลศิ 3.4 ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ ดเี ลิศ พฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก ดเี ลิศ ดเี ลิศ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา 58

ตารางแสดงผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มาตรฐาน / ประเด็นการประเมิน ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รียน ดเี ลศิ ดเี ลิศ ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น ดเี ลศิ ดีเลิศ ๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสารและการคดิ คำนวณ ดเี ลศิ ดเี ลิศ ๒) มคี วามสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ ดี ดี อภิปราย แลกเปลยี่ นความคิดเห็น และแก้ปญั หา ดี ดี ดี ดี ๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ดีเลิศ ดเี ลิศ ๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ๕) มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ดีเลศิ ดเี ลิศ ๖) มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคติทดี่ ีต่องานอาชพี ดีเลิศ ดีเลิศ ๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรียน ดีเลิศ ดีเลิศ ๑) การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นยิ มที่ดีตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด ดีเลิศ ดีเลิศ ๒) ความภมู ิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย ดีเลศิ ดีเลศิ ๓) การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ดีเลศิ ดเี ลศิ ๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ดเี ลศิ ดเี ลศิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลศิ ดีเลศิ ๒.๑ การมเี ป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน ๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลศิ ดีเลศิ ๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพผ้เู รยี นรอบด้านตามหลกั สตู ร ดเี ลศิ ดีเลิศ สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.๔ พฒั นาครูและบุคลกรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ดี ดี ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้ือต่อการจดั การเรียนรู้ อย่างมีคณุ ภาพ ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการและการ ดเี ลศิ ดเี ลศิ จดั การเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั ดี ดีเลิศ ๓.๑ จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนำไป ดีเลศิ ดเี ลศิ ประยุกต์ในใชช้ วี ติ ได้ ๓.๒ ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก 59

๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นา ดเี ลศิ ดีเลิศ ผู้เรียน ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและ ดเี ลศิ ดเี ลศิ ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลศิ ดีเลิศ หลักฐานการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในแตล่ ะมาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา หลกั ฐานการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในแต่ละมาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั หลกั ฐานการเก็บรวบรวมข้อมูลในแตล่ ะมาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณาของสถานศกึ ษา มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา หลักฐานการเก็บรวบรวมข้อมลู วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ๑.๑มีการพัฒนาด้านรา่ งกาย - แผนการจัดประสบการณ์และบนั ทึกหลัง - แบบบนั ทกึ ตา่ ง ๆ แขง็ แรง มีสุขนิสยั ทดี่ ี และดแู ล การสอน - การสงั เกต ความปลอดภัยของตนเองได้ - โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั - การสมั ภาษณ์ - แบบบันทกึ น้ำหนกั สว่ นสูง - ผลงานเดก็ ๑.๒ มกี ารพัฒนาดา้ นอารมณ์ - แบบบันทกึ พฒั นาการร่างกาย - แฟม้ สะสมงาน จิตใจ ควบคมุ และแสดงออก - แบบบนั ทกึ การตรวจสุขภาพ - ภาพถา่ ย ทางอารมณ์ได้ - แบบบันทกึ อาหารเสรมิ (นม) - การจัดกจิ กรรมหลัก 6 กจิ กรรม - แบบบนั ทึกต่าง ๆ - แผนการจัดประสบการณ์และบนั ทึกหลัง - การสงั เกต การสอน - การสัมภาษณ์ - โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย - ผลงานเดก็ - กิจกรรมเสรี - แฟ้มสะสมงาน - กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ - ภาพถา่ ย - กจิ กรรมกลางแจ้ง - กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ - แบบบันทกึ พฤตกิ รรมพฒั นาการดา้ น อารมณ์ จติ ใจ - กิจกรรมนทิ านคุณธรรมก่อนนอน 60

มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา หลกั ฐานการเกบ็ รวบรวมข้อมลู วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล - แบบบันทกึ ตา่ ง ๆ ๑.๓ มกี ารพัฒนาการด้านสังคม - แผนการจดั ประสบการณ์และบันทกึ หลงั - การสังเกต - การสัมภาษณ์ ชว่ ยแหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิก การสอน - ผลงานเด็ก - แฟ้มสะสมงาน ทด่ี ขี องสงั คม - โครงการสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั - ภาพถ่าย - การจดั ประสบการณ์ - แบบบนั ทึกต่าง ๆ - การสงั เกต - แบบบันทึกพฤตกิ รรมพัฒนาการดา้ น - การสมั ภาษณ์ - ผลงานเดก็ สังคม - แฟ้มสะสมงาน - ภาพถา่ ย - กิจกรรมออมสุขใจ - กิจกรรมเล่าข่าวยามเช้า - กจิ กรรมยิม้ สวย ไหว้งาม - กิจกรรมงามอย่างไทย ๑.๔ มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา - แผนการจดั ประสบการณ์และบันทึกหลัง สื่อสารได้ มที ักษะการคิดพน้ื ฐาน การสอน และแสวงหาความรู้ได้ - โครงการสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั - การจัดประสบการณ์ - แบบบนั ทกึ พฤติกรรมพัฒนาการดา้ น สติปญั ญา - กจิ กรรมหนนู อ้ ยยอดนักคดิ - กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ - กิจกรรมเลา่ นิทาน - โครงการมุมหนังสืออจั ฉริยะ - โครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและจดั การ ๒.๑ มหี ลักสตู รครอบคลุม - หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั - หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั พัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน สอดคลอ้ ง - แผนการจัดประสบการณ์ - แผนการจดั ประสบการณ์ กับบริบทของท้องถ่นิ - แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีการศกึ ษา 2564 - แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปี - โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การศึกษา 2564 การศกึ ษาปฐมวยั 61

มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา หลักฐานการเก็บรวบรวมข้อมลู วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู - รายงานโครงการพฒั นา ๒.๒ จดั ครูใหเ้ พยี งพอกับชั้น - จำนวนครูท่ีพอเพยี งกบั ช้ันเรียน หลักสูตรสถานศกึ ษาการศึกษา เรียน ปฐมวยั โดยมีอัตรา 1:25 คน - รายงานโครงการ ๒.๓ สง่ เสรมิ ใหค้ รูมคี วาม - โครงการพฒั นาศักยภาพขา้ ราชการครู - รายงานการอบรม เช่ียวชาญดา้ นการจดั และบุคลากรทางการศึกษา - รายงานโครงการ - แบบบนั ทึก ประสบการณ์ - การอบรมออนไลนผ์ า่ นระบบต่าง ๆ - การสังเกต - การสมั ภาษณ์ ๒.๔ จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อ - โครงการปรับปรุงภูมทิ ัศน์ - การบนั ทกึ หลังการสอน เพื่อการเรยี นรู้ อย่าง - การจัดมุมประสบการณ์ - แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๖๔ - แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปลอดภัย และเพียงพอ - ฐานการจดั การเรียนรู้ตามหลักปรชั ญา - การรายงานการประเมินตนเอง ของเศรษฐกจิ พอเพียง - บันทึกหลักการสอน - การสังเกต ๒.๕ ให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยี - การใช้สื่อเทคโนโลยี ในการจัด - การสัมภาษณ์ - ภาพถ่าย สารสนเทศและส่ือการเรียนรเู้ พื่อ ประสบการณ์ในสถานการณก์ ารแพร่ - แผนการสอน - บนั ทึกหลงั การสอน สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ ระบาดของโรคติดเช้ือโคโรน่า ๒๐๑๙ - การสอนแบบโครงการ (Project Approach) ๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพที่ - แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ๒๕๖๔ เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยมี - แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ส่วนร่วม - การรายงานการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคญั ๓.๑ จัดประสบการณท์ ี่ส่งเสริม - กิจกรรมการจดั ประสบการณ์ ใหเ้ ด็กมีการพัฒนาการทุกด้าน - แผนการจดั ประสบการณ์ อยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ - ๓.๒ สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับ - การจัดกจิ กรรมประสบการณ์ใช้ ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัติ กระบวนการ Active learning อยา่ งมีความสุข - การสอนแบบโครงการ (Project Approach) 62

มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา หลักฐานการเกบ็ รวบรวมข้อมูล วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล - แบบบนั ทึกการใชม้ ุม ๓.๓ จัดบรรยากาศท่เี อื้อต่อการ - หอ้ งเรยี นทส่ี ะอาด มีอากาศถา่ ยเท ประสบการณ์ - การสงั เกต เรยี นร้ใู ชส้ อื่ เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม ปลอดภยั - การสัมภาษณ์ - ภาพถ่าย กับวัย - มุมประสบการณ์ในห้องเรยี น - แบบการวัดและประเมินผลตาม - สอื่ ด้านคณติ ศาสตร์ สื่อทางดา้ นภาษา พฒั นาการ และส่อื ทีส่ ง่ เสริมการเรียนรู้ผ่านประสาท สมั ผัสท้งั ๕ ๓.๔ ประเมินพฒั นาการเด็กตาม - เคร่ืองมอื การวัดและประเมินผลตาม สภาพจริงและนำผลประเมิน พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจดั สังคม และสติปญั ญา ประสบการณ์และพฒั นาเดก็ ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา หลกั ฐานการเกบ็ รวบรวมข้อมูล วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน - ปพ.1 - ปพ.1 การสือ่ สารและการคิดคำนวณ - แบบสรปุ การอา่ น คิดวิเคราะห์ - แบบสรุปการอา่ น คดิ 2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิด - แบบสรุปรายงานผลการทดสอบ วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ระดบั ชาติ - แบบสรปุ รายงานผลการ ความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา - ร่องรอยการจดั กจิ กรรม ทดสอบระดับชาติ 3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม - เคร่อื งมือวดั และประเมินผล - รอ่ งรอยการจัดกจิ กรรม 4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี การเรียนรู้ - เครื่องมือวัดและประเมินผลการ สารสนเทศและการส่อื สาร - ชน้ิ งานหรือผลงานของผู้เรยี น เรยี นรู้ 5) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตร - แฟ้มสะสมงาน - ชนิ้ งานหรอื ผลงานของผูเ้ รยี น สถานศึกษา - แบบบันทกึ พฤตกิ รรมต่าง ๆ - แฟ้มสะสมงาน 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดี - แบบบนั ทึกพฤตกิ รรมต่าง ๆ ต่องานอาชพี 63

1.2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรยี น 1) การมีคุณลักษณะและค่านยิ มที่ดตี ามท่ี - ร่องรอยการจดั กจิ กรรม - สังเกตพฤตกิ รรมของผเู้ รียน - สัมภาษณ์และใช้แบบประเมิน สถานศกึ ษากำหนด - ชนิ้ งานหรือผลงานของผู้เรียน นักเรียน และครูเกี่ยวกับการ จดั การเรยี นการสอน 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็น - แฟม้ สะสมงาน - ตรวจชิ้นงานและเอกสารที่ เกี่ยวขอ้ ง ไทย - แบบบันทกึ พฤตกิ รรมต่าง ๆ - แบบบันทึกต่าง ๆ 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม หลักฐานการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในแตล่ ะมาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณาของสถานศึกษา (ต่อ) มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา หลกั ฐานการเกบ็ รวบรวมข้อมลู วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา - สงั เกต สมั ภาษณ์ สอบถาม และ ใช้แบบ ประเมนิ นักเรยี น และครู 1. มีเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ - แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษา ศึกษา เอกสารหลกั ฐานร่องรอยตา่ ง ๆ ท่ี ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน - แผนประจำปี เกี่ยวขอ้ ง 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของ - โครงการพฒั นาครู บุคคลากร สถานศึกษา - โครงการประเมินคุณภาพภายใน 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น คณุ ภาพของ ผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ สนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ 64

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ - หลักสตู รสถานศึกษา - สังเกตกระบวนการเรียน การสอน พฤติกรรมการเรียนของ ปฏิบัติจริง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน - แผนการจดั การเรยี นรู้ ผู้เรียน การมีปฎิสัมพันธ์ของครู กบั ผเู้ รยี น ชีวิตได้ - บันทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ - สัมภาษณ์และใช้แบบประเมิน น ั ก เ ร ี ย น แ ล ะ ค ร ู เ ก ี ่ ย ว กั บ 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่ง - เอกสารหลกั ฐานการวดั และ การจัดการเรียนการสอน ประเมนิ ผล - ดูเกณฑ์การประเมินผลงาน/ เรยี นรทู้ ีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ชนิ้ งานต่าง ๆ 3. มกี ารบริหารจดั การช้ันเรยี นเชิงบวก - เครื่องมือวัดและประเมินผล - ตรวจชิ้นงานและเอกสารท่ี 4. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็น การเรยี นรู้ เก่ยี วข้อง - ชน้ิ งานหรือผลงานของผู้เรียน ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล - แฟม้ สะสมงาน สะท้อน กลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ - สอ่ื การเรียนการสอน - บันทกึ การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ จดั การเรียนรู้ 65

ส่วนที่ 3 แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื ระดบั ปฐมวยั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วมีทักษะในการ เคลื่อนไหวตามวัย มีการใช้มือและตาประสานสัมพันธ์กันได้ดี มีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ เช่น ล้างมอื ก่อนรบั ประทานอาหาร ล้างมือหลังออกห้องน้ำ รจู้ กั รักษาสขุ ภาพอนามัยตนเอง เลือกรบั ประทานอาหารที่ มีประโยชน์ มีความรู้สึกที่ดีตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน มีความมั่นใจ กล้าคิด กล้าแสดงออกได้เหมาะสม มีวินัยรับผิดชอบ ต่อหนา้ ทต่ี นเอง เชอ่ื ฟังคำสง่ั สอนของพ่อแม่ ครแู ละผ้ใู หญ่ มีความซือ่ สัตย์ รู้จกั แบง่ ปัน สามารถสนทนากับผู้อื่นได้ สามารถตงั้ คำถามเร่อื งที่ตนเองสนใจได้ จุดควรพฒั นา ด้านคณุ ภาพผเู้ รยี น 1. ควรเพม่ิ การตอ่ ยอดกจิ กรรมต่างๆ ที่ใหเ้ ด็กสามารถแสดงออกมาได้หลากหลายวิธี เช่น การเลา่ เร่ือง ตามภาพตามจนิ ตนาการของเด็ก และหากิจกรรมท่ฝี ึกใหเ้ ด็กมสี มาธมิ ากยิง่ ขึ้นโดยเป็นการบูรณาการให้สอดคล้อง กับการใชใ้ นชีวติ ประจำวนั 2. การปลูกฝังในเรอ่ื งสขุ นิสัยที่ดี เช่น การล้างมือ ก่อนรบั ประทานอาหาร ล้างมอื ก่อนออกจาก ห้องนำ้ ห้องส้วม และการเลอื กรับประทานอาหาร ท่ีมปี ระโยชน์ ใหเ้ ป็นนสิ ยั ในช่วงสถานการณ์ของ โรค Covid – 19 แนวทางการพฒั นาในอนาคต ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น 1. สำรวจสภาพ ความตอ้ งการ/ปัญหาของผเู้ รยี น 2. ใช้กระบวนการ PLC กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิเคราะห์สภาพปัญหา/ความต้องการ และแนวทางการ แก้ปญั หา ความตอ้ งการการชว่ ยเหลือ ด้านคณุ ภาพผเู้ รียน พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรูใ้ ห้กับครูผูส้ อนให้สอดคล้องกับแนวทางการพฒั นาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้กับครูและนกั เรียนให้มีความเพียงพอต่อการใช้งาน มีการนิเทศติดตามใน ลักษณะกัลยาณมติ รนเิ ทศ และมีการรายงานผลเป็นระยะตอ่ ผบู้ งั คับบัญชาตามลำดับ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา จุดเด่น ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ สถานศึกษามีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษาและท้องถิ่น ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ เหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐาน 66

ตัวช้ีวดั หลกั สตู ร และการนำแผนการจดั ประสบการณ์ไปใช้รว่ มกับกิจกรรมประวัน ๖ หลัก ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม จดุ ควรพฒั นา ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 1. เครอ่ื งเล่นสนามมจี ำนวนจำกัด ไม่เพยี งพอ 2. จดั สภาพแวดลอ้ มและสือ่ เพอื่ การเรยี นรู้ อย่าง ปลอดภยั และพอเพยี ง แนวทางการพฒั นาในอนาคต ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ควบคู่การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของ ผู้เรยี นตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา 2. จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และแหล่งเรียนรูท้ ่เี อ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ 3. สง่ เสริมการบริหารด้านการจดั การเรียนรู้โดยใชท้ ักษะทางด้านเทคโนโลยีที่ทนั สมัย 4. จดั ใหม้ ีการนิเทศการจัดการเรยี นรู้ และการปฏบิ ตั ิงานตามโครงสร้างการบรหิ ารงาน ความต้องการการชว่ ยเหลอื ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับโอกาสในการพัฒนาทักษะทางด้านเทคโนโลยีและ นักเรียนมีสื่อและอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย นักเรียนมีสื่อและอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีเพียงพอต่อ ความต้องการ 2. การสนบั สนุนงบประมาณในการจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ปรบั ภูมิทศั น์ ปรบั ปรุงพัฒนาอาคาร สถานที่ และแหล่งการเรียนรู้ เพือ่ เอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้ของครแู ละนักเรียน เช่น ๑. ควรทจี่ ะเพ่ิมจำนวน อปุ กรณ์เคร่ืองเลน่ สนามให้กบั เดก็ มาตรฐานท3่ี กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ จุดเด่น ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท่ีครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องสมั พันธ์กับกจิ กรรมประวัน ๖กิจกรรมหลัก ครูจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย สอดคล้อง กับความแตกตา่ งระหว่างบุคคลครจู ดั ส่งิ แวดล้อมใหเ้ กิดการเรยี นรไู้ ด้ตลอดเวลา ใชส้ ื่อ เทคนคิ วิธีการท่ีหลากหลาย ในการพัฒนาเด็กทุกดา้ น วัดและประเมนิ ผลเด็กดว้ ยวิธีการทหี่ ลากหลาย ครูมปี ฏสิ มั พันธท์ ่ดี ีกบั เดก็ และผ้ปู กครอง จุดควรพฒั นา ด้านกระบวนการเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ 1. ครูควรได้รบั การพฒั นาในเรอื่ งการใชส้ ือ่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสอดคลอ้ งกับพฒั นาการของเด็ก 2. การใช้เครื่องมือวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย การวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ ตนรบั ผดิ ชอบ และใชผ้ ลในการปรบั การจัดประสบการณ์ 67

แนวทางการพฒั นาในอนาคต ด้านกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ 1. มรี ูปแบบการนิเทศติดตามการพฒั นาผ้เู รียนเป็นรายบุคคลที่ชัดเจนขน้ึ 2. การส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นเด็กเป็นสำคัญ การจัดทำวิจัยในช้ัน เรยี นเพื่อพฒั นาผเู้ รยี นใหส้ ามารถเรียนรูไ้ ดเ้ ต็มศักยภาพ ความต้องการการช่วยเหลือ ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ครูมีสื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอ และเอื้อตามความต้องการ ของเดก็ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้และอ่านคล่องเขียนคล่อง ตามมาตรฐานการอ่านในแต่ระดับชั้น สามารถ เขยี นสื่อสารได้ดี รูจ้ ักการวางแผนสามารถทำงานร่วมกับผู้อนื่ ไดด้ ีตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออกและแสดง ความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถ วิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สำคัญจำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วผู้ เรียนรู้และตระนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติด เลือกรับประทานอาหารที่สะอาดและมีประโยชน์ รักการออก กำลงั กาย มที ศั นคติที่ดตี ่ออาชพี สุจริต จดุ ควรพัฒนา ดา้ นคณุ ภาพผเู้ รยี น - การจัดกิจกรรมทีม่ งุ่ เนน้ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏบิ ัติท่ีตอ่ เน่ือง ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของ นกั เรยี นมแี นวโนม้ เปลีย่ นแปลงพัฒนาขน้ึ โดยรวม แตไ่ ม่ผ่านเกณฑ์ในบางกล่มุ สาระการเรยี นรู้ จงึ ต้องมงุ่ เน้นพัฒนา ตอ่ ไป แนวทางการพัฒนาในอนาคต ดา้ นคุณภาพผเู้ รียน 1. สำรวจสภาพ ความตอ้ งการ/ปญั หาของผูเ้ รยี น 2. ใช้กระบวนการ PLC กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิเคราะห์สภาพปัญหา/ความต้องการ และแนวทางการ แก้ปัญหา 3. กำหนดค่าเป้าหมาย ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิของผูเ้ รียน และจัดกจิ กรรมซ่อมเสริม 4. จัดกิจกรรมสง่ เสริมทักษะการคิด วเิ คราะห์ ในรปู แบบกิจกรรมคา่ ยหรอื ลักษณะอืน่ ๆ ทเี่ หมาะสม 5. ติดตามประเมินผลและรายงานผูเ้ กย่ี วข้อง ความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื ด้านคุณภาพผเู้ รียน พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรูใ้ ห้กบั ครูผู้สอนให้สอดคลอ้ งกับแนวทางการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้กับครูและนักเรียนใหม้ ีความเพียงพอต่อการใช้งาน มีการนิเทศติดตามใน ลักษณะกัลยาณมิตรนิเทศ และมีการรายงานผลเปน็ ระยะต่อผู้บังคับบญั ชาตามลำดบั 68

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บรหิ ารสถานศึกษา จดุ เด่น ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ สถานศึกษามีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการ กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ ทช่ี ัดเจน ที่มุ่งเนน้ การพัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรสถานศึกษาครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และ ประเมนิ ผลการดำเนินงาน จัดทำการรายงานผลการจัดการศึกษา และนำผลการประเมนิ ดังกลา่ วเป็นข้อมูลในการ วางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา จุดควรพฒั นา ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ เปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น ในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียน สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการจัดการศึกษา ของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วม รบั ผิดชอบ ตอ่ ผลการจดั การศึกษา และการขับเคล่อื นคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา แนวทางการพัฒนาในอนาคต ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ผู้ปกครองทราบอย่างต่อเนื่องจา กเอกสารแผ่น พับ การประชุมผู้ปกครองประจำปี เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถเสนอแนวคิดเห็นต่างๆร่วมกับ สถานศึกษาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ 1. สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับโอกาสในการพัฒนาทักษะทางด้านเทคโนโลยีและ นักเรียนมีสื่อและอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย นักเรียนมีสื่อและอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีเพียงพอต่อ ความต้องการ 2. การสนับสนุนงบประมาณในการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ปรับภูมิทัศน์ ปรับปรุงพัฒนาอาคาร สถานที่ และแหล่งการเรยี นรู้ เพื่อเอ้อื ต่อการจัดการเรยี นรขู้ องครูและนักเรยี น มาตรฐานท3ี่ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั จุดเด่น ด้านกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) มีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการ พฒั นาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้ผ้เู รียนได้เรยี นรู้ เนน้ ทักษะกระบวนการคดิ ได้ปฏบิ ัตจิ ริง ใช้สื่อการสอน วิธีการ และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดลอ้ มท่เี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ 69

จุดควรพฒั นา ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง และการส่งเสริมให้ครูใช้กระบวนการวิจัยเพ่ือ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนในรูปแบบการวิจัย และส่งเสริมให้เกิดการ พัฒนาทักษะทางภาษาตามกรอบ CEFR แนวทางการพฒั นาในอนาคต ด้านกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั จดั ทำทะเบยี นภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆอย่างหลากหลาย และประสานงานกบั ภูมิปัญญาท้องถิ่นเหล่านั้นให้ เข้ามารว่ มจัดการศกึ ษา เพอื่ พฒั นาผูเ้ รยี นอยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ ความต้องการการช่วยเหลือ ด้านกระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั ส่งเสริมให้ครูมีสื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอ และเอื้อตามความต้องการ ของผู้เรียน และประสานงานกบั ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ให้เขา้ มารว่ มจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาผเู้ รียน 70

ภาคผนวก 71

ประกาศโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวทิ ยาคาร) เร่ือง กำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาปฐมวัยและระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน เพอื่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ___________________________ โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนา คุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ประกาศคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายในระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน เรื่องกำหนดหลักเกณฑแ์ ละ แนว ปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2564 โรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) และปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน จากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และ ประชาชน ชุมชนใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกัน เพื่อนำไปสู่การพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการประชุม ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เพื่อให้ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนวัดปากท่อ(ปากท่อวิทยาคาร) มีคุณภาพและ มาตรฐานจึงกำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และ ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 (นายสาธติ จนั ทร์เพญ็ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดปากทอ่ (ปากท่อวทิ ยาคาร) 72

การกำหนค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษา เพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปการศึกษา 256๔ เร่ือง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ดีเลศิ 1.1 มพี ัฒนาการดา้ นร่างกายแขง็ แรง มีสุขนสิ ัยที่ดแี ละดแู ลความปลอดภัยของ ดเี ลศิ ตนเองได้ 1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ดเี ลิศ 1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ีดีของสังคม ดเี ลิศ 1.4 มีพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการคิดพ้นื ฐาน และแสวงหา ดเี ลิศ ความรู้ได้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลศิ 2.1 มีหลกั สตู รควบคมุ พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถน่ิ ดเี ลิศ 2.2 จัดครใู หเ้ พียงพอกับชนั้ เรยี น ดีเลศิ 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ดเี ลศิ 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและส่ือเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและพอเพียง ดเี ลศิ 2.5 ใหบ้ ริการสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนร้เู พ่ือสนับสนนุ การจดั ดเี ลศิ ประสบการณส์ ำหรับครู 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ กยี่ วข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเดก็ เป็นสำคญั ดเี ลิศ 3.1 จัดประสบการณท์ ่ีสง่ เสริมให้เด็กมีพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ ดเี ลศิ 3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ตั อิ ยา่ งมีความสุข ดเี ลิศ 3.3 จัดบรรยากาศทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ ใช้ส่ือ และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกับวัย ดเี ลศิ 3.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก ดีเลิศ ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเดก็ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ดเี ลศิ 73

การกำหนค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษา เพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปการศึกษา 256๔ เรอื่ ง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผ้เู รียน ดเี ลศิ ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ้ รียน ดีเลิศ ๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารและการคิดคำนวณ ดีเลิศ ๒) มีความสามารถในการวเิ คราะห์และคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียนความ ดีเลิศ คิดเห็น และแก้ปัญหา ๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ดี ๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร ดี ๕) มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ดี ๖) มคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ งานอาชพี ดีเลศิ ๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น ดเี ลศิ ๑) การมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ตี ามทส่ี ถานศึกษากำหนด ดเี ลศิ ๒) ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย ดเี ลิศ ๓) การยอมรบั ทีจ่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ดเี ลศิ ๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสังคม ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ลศิ ๒.๑ การมเี ปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ที่สถานศึกษากำหนดชดั เจน ดเี ลศิ ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลศิ ๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ น้นคุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ ดีเลศิ กลุม่ เป้าหมาย ๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลกรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ดี ๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี อื้อตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ ดี ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้ ดเี ลศิ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ่เี น้นเดก็ เป็นสำคญั ดเี ลิศ ๓.๑ จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนำไปประยกุ ต์ในใชช้ วี ติ ได้ ดีเลศิ ๓.๒ ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่เี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ ดีเลศิ ๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชงิ บวก ดเี ลิศ ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น ดี ๓.๕ มีการแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ดี สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลศิ 74

คำสัง่ โรงเรียนวัดปากทอ่ (ปากท่อวทิ ยาคาร) ที่ 17 /2564 เร่ือง แต่งตัง้ คณะกรรมการงานประกันคุณภาพภายใน ปกี ารศึกษา 2564 ……………………………………………………… เพื่อให้การประกันคุณภาพผู้เรียนเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและมาตรฐาน การศึกษาของชาติ จึงขอแตง่ ตัง้ คณะกรรมการดังต่อไปน้ี 1. คณะกรรมการการดำเนินงาน ประกอบดว้ ย 1.1 นายสาธิต จันทร์เพญ็ ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน 1.2 นายชำนาญ ทรพั ย์ประเสรฐิ ตำแหน่ง ครู คศ.2 1.3 นางสปุ ระวณี ์ มกรพันธ์ ตำแหน่ง ครู คศ.1 1.4 นางสาวกนกกร เชื้ออบิ ตำแหน่ง ครู คศ.2 1.5 นางสาวสุมารตั น์ พงษ์อภยั ตำแหนง่ ครู คศ.1 1.6 นางสาวพนิดา รบแคลว้ ตำแหนง่ ครู คศ.1 1.7 นางสาวดุษฎี พ่วงศรี ตำแหนง่ ครู คศ.1 1.8 นางสาวจณสิ ตา วุฒธิ รรม ตำแหนง่ ครู คศ.1 1.9 นางสาวนิสาชล ทองเลศิ ตำแหน่ง ครูผ้ชู ่วย 1.10 นางสาวอมั พร แก้วหลา้ ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย 1.11 นางสาวแพรวพรรณ ค้มุ สกุล ตำแหนง่ พีเ่ ลี้ยงเด็กพกิ าร 1.12 นางสาวสริ ิยา แสงพริ ณุ ตำแหนง่ ครอู ัตราจ้าง 1.13 นางมลิ ตรา เจยี มจำรสั ตำแหนง่ เจา้ หน้าที่ธรุ การโรงเรยี น มีหน้าท่ี ดำเนินการควบคมุ กำกบั ติดตามการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 75

2. คณะกรรมการจดั ทำรายงานการประกันคณุ ภาพภายใน ปกี ารศกึ ษา 2564 1.1 นายชำนาญ ทรพั ย์ประเสรฐิ ตำแหนง่ ครู คศ.2 1.2 นางสุประวณี ์ มกรพันธ์ ตำแหน่ง ครู คศ.1 1.3 นางสาวจณิสตา วุฒธิ รรม ตำแหน่ง ครู คศ.1 1.4 นางสาวดุษฎี พ่วงศรี ตำแหนง่ ครู คศ.1 มีหน้าที่ จัดทำรายงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 เพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน และผู้ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับสถานศกึ ษา ทั้งนใี้ ห้ผ้ไู ด้รบั การแตง่ ตง้ั ปฏิบัติหน้าทที่ ไี่ ดร้ ับมอบหมายอย่างมีประสิทธภิ าพ และบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ ทง้ั น้ี ต้ังแต่บัดน้เี ปน็ ต้นไป ส่ัง ณ วันท่ี 18 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖4 (นายสาธิต จนั ทรเ์ พญ็ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดปากทอ่ (ปากท่อวิทยาคาร) 76

77


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook