Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อมูลเพื่อการพัฒนาตำบลคูบัว3

ข้อมูลเพื่อการพัฒนาตำบลคูบัว3

Published by Matthana Khamkongkaeo 070, 2022-06-29 02:18:45

Description: ข้อมูลเพื่อการพัฒนาตำบลคูบัว3

Search

Read the Text Version

รายงาน รายงานสมบูรณขอ มูลเพ่ือการพฒั นาตำบลคูบวั จดั ทำโดย นางสาวมัทณา คำกองแกว หมูเรยี น 62/58 รหัสประจำตวั 624305070 เสนอ อาจารยพ ีรพฒั น พันศริ ิ รายงานนี้เปน สว นหนง่ึ ของรายวชิ าการเตรียมฝกประสบการณว ิชาชพี การพฒั นาชมุ ชน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565

รายงานน้เี ปน สวนหนึ่งของรายวชิ าการเตรยี มฝกประสบการณว ชิ าชพี การพัฒนาชมุ ชน (2533801) สาขาวชิ าการพัฒนาชมุ ชน คณะมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม รายงาน ตำบลคูบวั อำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบุรี เสนอ อาจารยพีรพัฒน พันศิริ จดั ทำโดย นางสาวมทั ณา คำกองแกว รหสั นักศกึ ษา 624305070 หมเู รียน 62/58

รายงานนเ้ี ปน สวนหนง่ึ ของรายวิชาการเตรียมฝก ประสบการณว ิชาชีพการพัฒนาชุมชน (2533801) สาขาวชิ าการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม ใบรับรองความถกู ตอ งของขอ มูล ขา พเจา ไดต รวจสอบรบั ทราบรายงาน ขอมูลตำบลคูบัว อำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี ของ นางสาวมัทณา คำกองแกว รหัสนักศึกษา 624305070 หมูเรียน 62/58 สาขาวชิ าการพัฒนาชุมชน คณะมนษุ ยศาสตรแ ละ สงั คมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมแลว และไดลงนามเพือ่ ยืนยันวา ขอมูลดังกลา วถกู ตอ งครบถวน ไมเปน เทจ็ เพอื่ เปนหลักฐาน ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลชุดน้ีถกู ตอ ง ........................................................... นายกนั ตภณ คำกองแกว ผชู ว ยผใู หญบานหมู 15 โทร 085-1955264



คำนำ รายงานนีเ้ ปน สว นหนง่ึ ของรายวชิ าการเตรียมฝก ประสบการณวิชาชีพการพฒั นาชมุ ชน เพื่อให ไดศกึ ษาในรายงาน ใหผูเรยี นไดศ ึกษานำความรูทเ่ี รยี นมาประยกุ ตใ ชในรายงาน อีกทั้งยังใหผ ูเ รียนได ฝกการคนหาคน ควา งานทไ่ี ดร บั มอบหมายฝก ความรับผดิ ชอบในตัวผูเ รียนและไดศ กึ ษาอยา งเขาใจเพอ่ื เปนประโยชนกบั การเรยี น ผจู ดั ทำหวังวา รายงานเลมน้จี ะเปนประโยชนก ับผอู านหรอื นกั ศึกษาทก่ี ำลงั หาขอมูลเรื่องน้ีอยู หากมีขอ แนะนำหรือขอผิดพลาดประการใดผจู ดั ทำขอนอ มรบั ไวและขออภยั มา ณ ที่นด้ี ว ย ผูจ ัดทำ น.ส.มทั ณา คำกองแกว

สารบญั บท หนา 1. ขอ มูลคุณลกั ษณะตำบล..................................................................................................................1 1.1 ประวตั คิ วามเปน มาของตำบล...................................................................................................1 1.2 พน้ื ที่และขอบเขต.....................................................................................................................1 1.2.1 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ.....................................................................................................2 1.2.2 ลักษณะภูมิอากาศ.......................................................................................................2 1.2.3 ลักษณะดนิ ..................................................................................................................3 1.3 การปกครองระดบั หมูบาน.........................................................................................................4 1.4 ครวั เรอื นและประชากร.............................................................................................................5 1.5 ชวงอายุและจำนวนประชากร....................................................................................................6 1.6 ระบบการศกึ ษา........................................................................................................................6 1.7 ระบบสาธารณะสุข....................................................................................................................7 1.8 ระบบเศรษฐกจิ .........................................................................................................................8 1.9 ระบบพาณิชยและกลมุ อาชพี .....................................................................................................8 1.10 ระบบอตุ สาหกรรม.............................................................................................................9 1.11 ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและสถานท่ีทองเท่ียวชมุ ชน...............................................10 ประเภทแหลงนำ้ .....................................................................................................................10 ประเภทพ้ืนทีส่ าธารณะหรือปาไมช ุมชน..................................................................................10 สถานที่ทอ งเทยี่ วชมุ ชน............................................................................................................10 1.12 ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรมและภูมิปญญา.........................................................................11 ดา นประเพณี วัฒนธรรม....................................................................................................12 ดานภูมิปญญาทอ งถนิ่ และภาษาทองถ่ิน..............................................................................12 2. ขอมลู องคกรปกครองสวนทองถน่ิ ....................................................................................................13 2.1 ความเปน มาและการกอ ตัง้ ........................................................................................................13 ตราสญั ลักษณ. ...................................................................................................................13 2.2 คณะผูบรหิ าร............................................................................................................................14 2.3 โครงสรา งหนวยงาน..................................................................................................................15 2.4 วสิ ยั ทัศน พนั ธกจิ เปา ประสงคแ ละยุทธศาสตรอ งคก ร.................................................................16

พันธกจิ .............................................................................................................................16 เปา ประสงค. .....................................................................................................................16 ยุทธศาสตรก ารพัฒนาท่ี 1.................................................................................................17 ยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาท่ี 2.................................................................................................17 ยุทธศาสตรก ารพฒั นาที่ 3.................................................................................................17 ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาที่ 4.................................................................................................17 ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาท่ี 5.................................................................................................18 2.5 รางวลั ทไี่ ดร ับ การไดเ ชิดช.ู .......................................................................................................18 2.6 ประเดน็ อื่นๆเกยี่ วกบั การพัฒนาพื้นทที่ ีโ่ ดดเดน .........................................................................18 3. ขอ มลู หมูบาน/ชมุ ชน......................................................................................................................19 3.1 ความเปน มาของหมบู าน/ชุมชน................................................................................................19 3.2 ภมู ิปญญา................................................................................................................................20 3.3 สถานการณปญหา....................................................................................................................20 ภมู ิปญ ญา......................................................................................................................................21 กลมุ พฒั นาอาชีพทอผาจก.............................................................................................22-24 การทำครก-สากไมจากไมมะพรา ว.................................................................................25-26 การทำแคน...................................................................................................................27-28 การทำเตานมไมแ ละงามหนงั สตก้ิ ไม..............................................................................29-33 จิปาถะภัณฑส ถานบานคูบวั ...........................................................................................34-38 กาดวถิ ีชุมชน.................................................................................................................39-41 ประวัตคิ วามเปน มาของหมู 15 คนที่ 1................................................................................42 ประวตั คิ วามเปนมาของหม 15 คนท่ี 2............................................................................43-44 ภาคผนวก..........................................................................................................................................45-47 อา งองิ .....................................................................................................................................................48 ภาคผนวกแผนทชี่ มุ ชน.....................................................................................................................49 แผนทต่ี ำแหนงหมูบานในตำบลคบู ัว.....................................................................................50 แผนทีต่ ำแหนงสถานท่สี ำคญั คบู วั .........................................................................................51 แผนทต่ี ำแหนง โรงเรียน........................................................................................................52 แผนที่ตำแหนงโรงพยาบาล...................................................................................................53 แผนทต่ี ำแหนงรานคา ..........................................................................................................54

แผนท่ีตำแหนง วสิ าหกจิ ชุมชน.............................................................................................55 แผนทตี่ ำแหนง โรงงานอุตสาหกรรม.....................................................................................56 แผนทต่ี ำแหนง คลอง...........................................................................................................57 แผนท่ีตำแหนง พน้ื ทส่ี าธารณะ.............................................................................................58 แผนท่ีตำแหนงสถานที่ทองเทย่ี ว..........................................................................................59 แผนท่ตี ำแหนงวัด...............................................................................................................60

1 ขอมูลเพื่อการพฒั นา องคก ารบรหิ ารสว นตำบลคูบวั สว นที่ 1 ขอมลู คุณลกั ษณะตำบล 1.1 ประวตั คิ วามเปน มาของตำบล ในราวปพทุ ธศกั ราช 2347 ซึง่ เปนรชั กาลท่ี 1 คอื สมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ขณะนั้น เมอื ง เชยี งแสนตกอยภู ายใตอ ทิ ธิพลของพมา พมาอาศัยเชยี งแสนเปน แหลงสะสมเสบยี งอาหารและกำลงั พลสำหรบั จะตี เมอื งทางฝา ยเหนือของไทยเพอ่ื จะกำจัดอิทธิพลของพมา จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลาใหส มเดจ็ พระเจาหลานเธอ กรมหลวงเทพหรริ ักษรว มกับเจาพระยายมราชจดั กองทพั จากกรุงเทพฯ ข้นึ ไปตเี มอื งเชียงแสนไดแลวไดเ คล่อื นยา ย ผูคนเอาชาวเมืองเชยี งแสนท้งั ชายและหญงิ ท่ีอยูใ นวัยฉกรรจ เพื่อมิใหเ ปน ทีซ่ องสมุ กำลงั พล ดงั ปรากฏตามพระราช พงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร รชั กาลที่ 1 กลาวไวว า \"กองทพั ไดครอบครัว 23,000 คนเศษ ก็รอ้ื กำแพงเผาบานเมือง เสยี แลว แบง ปน ครอบครัว ปน เปน 5 สว น ใหไปเมืองเชยี งใหม สว น 1 เมอื งนครลำปาง สวน 1 เมอื งนา น สวน 1 เมืองเวยี งจันทร สวน 1 อกี สว น 1 ถวายลงมาที่กรุงเทพ โปรดใหต ัง้ บานเรอื นอยูเมืองสระบุรบี าง แบงไปอยเู มอื ง ราชบุรีบาง\" ชาวเมอื งเชียงแสนที่เคลอื่ นยายมาจากเมืองเชียงแสนครัง้ นน้ั ก็คอื ชาวไท-ยวน ท่เี ดินทางไกลมาตัง้ ถ่ิน ฐานอยูต ามเมืองตางๆ สว นทม่ี าต้งั ถ่นิ ฐานอยทู ่ีเมืองราชบุรี ไดตัง้ บา นเรือนอยทู ่บี รเิ วณริมแมน ำ้ แมกลองฝงขวา เรียกวา บา นไรน ที ตอ มาเมอื่ ชมุ ชนขยายตัวมากข้นึ จึงมองหาทด่ี ินทำกินใหมโดยไดข ยายครัวเรือนปลูกบานแปลง เมืองจากทเ่ี ดิมกระจัดกระจายกันออกไปตามสว นตางๆ หลายพนื้ ท่ี เชน ทต่ี ำบลคูบวั ไดม าอยูอาศัยทำมาหากิน ทกุ วนั นช้ี าวไท-ยวน ต้งั บา นเรอื นอยูในทอ งถน่ิ หลายๆ ตำบล ของจงั หวดั ราชบรุ ี 1.2 พืน้ ที่และขอบเขต องคการบริหารสวนตำบลคูบัวตั้งอยูใ นเขตอำเภอเมืองราชบุรี จงั หวัดราชบรุ ี หางจากท่วี า การอำเภอเมอื ง ราชบุรี ไปทางทศิ ใตร ะยะทาง 5 กิโลเมตร ระหวา งเสน รุง ที่ 13 องศา 29 ลิปดาเหนือ เสน แวงท่ี 99 องศา 55 ลิปดา ตะวันตก มีเนอ้ื ท่ปี ระมาณ 25 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 15,625 ไร และมอี าณาเขตติดตอ กับ องคก ารบริหารสวนตำบล ตา งๆ ดังน้ี ทศิ เหนอื ติดตอกบั ตำบลดอนตะโก และตำบลบานไรอ ำเภอเมืองราชบุรี ทิศใต ติดตอ กับ ตำบลบอกระดาน อำเภอปากทอ ทิศตะวันออก ตดิ ตอกับ ตำบลบานไร อำเภอเมืองราชบุรี และตำบลเกาะศาลพระอำเภอวัดเพลง ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ กับ ตำบลอางทอง และตำบลดอนตะโก อำเภอเมอื งราชบรุ ี

2 พื้นที่และขอบเขตปรากฏดงั แผนท่ี ดังนี้ 1.2.1 ลักษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภูมปิ ระเทศของตำบลคบู วั เปน พื้นท่ีราบลมุ มลี ำหว ยธรรมชาติไหลผา นจากทศิ ตะวันตกไปยัง ทศิ ตะวันออกจำนวน 2 สาย มนี ้ำตลอดปมีคลองชลประทาน 2 สายใหญ มที รพั ยากรดนิ และนำ้ อุดมสมบรู ณ พน้ื ทีเ่ หมาะแกก ารประกอบอาชีพทางการเกษตร การปศสุ ตั วแ ละเปนทอ่ี ยูอ าศัย 1.2.2 ลักษณะภูมิอากาศ ภูมอิ ากาศของตำบลคบู วั จัดอยูในประเภทฝนเมืองรอนเฉพาะฤดโู ดยสภาพภมู ิอากาศท่ัวไปขึ้นอยกู ับอิทธิพลของ มรสุมพัดผาน เฉล่ยี แลวอุณหภมู ทิ ้ังปประมาณ 28.3 องศาเซลเซยี ล ฤดรู อ น อากาศคอนขางรอนและแหง โดยฤดรู อนเร่ิมต้งั แตเ ดือนกุมภาพันธถ งึ กลางเดอื นพฤษภาคม เดือนที่อุณหภูมิสงู ท่สี งสุดคอื เดอื นเมษายน เฉล่ยี 10 ป อยทู ี่ 30.7 องศาเซลเซียล ฤดูหนาว อากาศหนาวเยน็ เปนชวงๆ เร่มิ ตงั้ แตเดอื นพฤศจิกายนไปจนถงึ เดอื นมกราคม เดือนท่มี ีอณุ หภูมิต่ำทสี่ ดุ คือ ธนั วาคม เฉลยี่ 10 ป อยทู ่ี 25.6 องศาเซลเซยี ล ฤดฝู น ฝนตกปานกลาง เร่มิ ตั้งแตเ ดือนพฤษภาคมไปจนถึงเดอื นตุลาคม เดอื นที่ฝนตกมากทส่ี ุดคือ เดือนตุลาคมมีปรมิ าณฝนตกรวมเฉลยี่ 10 ปอยทู ่ี 92.0 มิลลเิ มตร โดยฝนจะท้งิ ชว งในเดอื นมถิ นุ ายน ถึงเดือนกรกฎาคม และจะตกชกุ ในเดือนตลุ าคม ชวงฤดูฝนมีความชื้นสมั พันธเ ฉล่ยี 10 ป อยทู ่ี 71.5 เปอรเ ซ็นต

3 1.2.3 ลักษณะดนิ ลกั ษณะดินในตำบลคูบัว สวนใหญส ภาพดินเปนดนิ เหนียว เหมาะแกการปลกู ขา ว ไมผ ล และพชื ผัก จำแนกลกั ษณะความเหมาะสมและขอ จำกัดของดินตำบลคบู ัว แบง ออกเปน 8 กลมุ ดงั น้ี 1. กลุม ชุดดินท่ี 2 เนือ้ ดินเปนดนิ เหนยี ว การระบายนำ้ เร็ว ในชว งฤดูฝนจะมีน้ำขงั อยทู ผ่ี วิ ดิน ระหวา ง 4-6 เดือน มีศกั ยภาพเหมาะสมท่จี ะใชท ำนาในชว งฤดูฝน แตสามารถปลกู พืชผกั พืชไร พืชผัก หรอื พชื อน่ื ท่ีมอี ายสุ ้นั ไดในชวงฤดูแลง 2. กลุม ชดุ ดนิ ท่ี 3 เน้อื ดนิ เปนพวกดินเหนยี วดนิ บนเปน สีเทาเขม สนี ำ้ ตาลปนเทาเขม ดนิ ลาง เปน สีเทาหรือสนี ้ำตาลออน มศี ักยภาพเหมาะสมในการทำนา อยางไรก็ตามดินชุดนส้ี ามารถเปลย่ี นสภาพ การใชป ระโยชนจ ากนาขาวเปนปลกู พชื ไร ไมผล และพชื ผกั ได ถาไดมกี ารพฒั นาทีด่ ิน 3. กลุมชดุ ดนิ ท่ี 6 เนือ้ ดินเปนดินเหนียว ดนิ บนมสี เี ทาแก ดนิ ลางมีสนี ้ำตาลปนเทาหรอื สีเทา มีศกั ยภาพเหมาะสมทจี่ ะใชทำนาในชว งฤดูฝนและในชวงฤดแู ลงสามารถปลกู พชื ผกั หรือพืชอืน่ ที่มีอายุสนั้ ได 4. กลมุ ชดุ ดินที่ 7 เนือ้ ดนิ เปนพวกดินเหนียว สีดนิ มสี นี ำ้ ตาล หรือสนี ้ำตาลปนเทา มีศกั ยภาพ ความเหมาะสมในการทำนามากกวา ปลูกไร ไมผ ล และพชื ผกั 5. กลมุ ชดุ ดนิ ที่ 16 เนื้อดนิ เปนดนิ รว นปนทรายแปง สดี นิ มสี นี ำ้ ตาลออ น หรือสีนำ้ ตาลปนเทา มศี ักยภาพทจี่ ะใชทำนามากกวาปลกู พชื ไร ไมผลและพืชผัก 6. กลมุ ชดุ ดนิ ท่ี 18 เนื้อดนิ บนเปนดนิ รวนปนทรายหยาบ มีศักยภาพเหมาะสมในการทำนา มากกวาการปลูกพชื ไร พืชผกั และผลไม ยกเวน ถา ไดมกี ารปรบั ปรุงแกไ ขปญหานำ้ ขังและการระบายนำ้ ของดนิ 7. กลุม ชดุ ดินท่ี 33 เนื้อดนิ เปนดินรวนปนทรายแปง สีดนิ มีสนี ้ำตาลหรอื สีนำ้ ตาลปนแดงบางแหง มศี กั ยภาพเหมาะสมในการปลูกพชื หลายชนดิ ท้ังพชื ไร พืชผกั ไมผล และทำนาขา ว 8. กลุมชดุ ดินที่ 36 เน้อื ดินบนเปนดนิ รวนปนทราย สวนดินลางเปนดินรวนปนดินเหนียว หรือ ดินรวนเหนียวปนทราย มศี กั ยภาพเหมาะสมในการปลูกพชื ไร ไมผล ไมย นื ตน และปลูกผกั บางชนิด ไมเ หมาะสมในการทำนา

4 1.3 การปกครองระดบั หมูบา น ตำบลคูบวั แบงเขตการปกครองระดับหมบู านเปน 15 หมบู านและมกี ำนนั ผใู หญบ า นประจำหมูบา นตา งๆ หมทู ี่ ชื่อหมบู า น ผใู หญบา น 1 บา นตากแดด นายอดุลย พิมเพราะ 2 บา นระหนอง นายชาญวิทย หวงทอง 3 บานหนองขนั ธ นายนฤทธิ์ สอนเพยี ร 4 บา นใต นายทวี อบเชย 5 บานตะโก นายอรญิ ชย เกตนุ อ ย 6 บา นสระโบสถ นายสมศกั ด์ิ มณฑา 7 บานใหม นายประยรู หวงทอง 8 บา นหนองยายแกว นายสนั ติ อบเชย 9 บานฟากหวย นายสมชาย พจนารถ 10 บา นทา ชา ง นายตรีพล อารมช่ืน (กำนนั ตำบลคูบัว) 11 บา นโพธ์ิ นายปรีชา ตอ งาม 12 บา นหวั นา นายนคร ตรสี วุ รรณ 13 บา นตนแหน นายอรุณ รักผกา 14 บานหนามพุงดอ นายจำลอง องคเชษฐ 15 บานไรตนมะมว ง (โรงเจ) นายพรพรหม ใสยจิตร

5 1.4 ครวั เรอื นและประชากร หมบู านในตำบลคบู ัวทีม่ ีครัวเรือนมากทีส่ ุดไดแก บา นฟากหวย จำนวน 246 ครวั เรือน รองลงมาตาก แดด จำนวน 228 ครวั เรือน สวนชุมชนทมี่ ีครัวเรือนนอยทสี่ ุดคือ บานหนองยายแกวจำนวน 55 ครัวเรือน ดงั นี้ หมูที่ ช่ือหมูบ า น ครวั เรือน ประชากร รวม ชาย หญงิ 1 บา้ นตากแดด 228 1,447 2 บานระหนอง 90 693 754 464 3 บานหนองขันธ 137 722 4 บานใต 111 208 256 604 5 บานตะโก 76 338 6 บา นสระโบสถ 157 335 387 756 7 บานใหม 141 668 8 บานหนองยายแกว 55 282 322 387 9 บานฟากหว ย 246 160 178 1,144 10 บา นทาชาง 93 365 391 665 11 บานโพธิ์ 184 307 361 864 12 บา นหัวนา 105 183 204 448 13 บา นตน แหน 94 545 599 643 14 บา นหนามพุงดอ 105 308 357 868 15 บานไรตน มะมวง (โรงเจ) 127 399 465 933 1,949 226 222 10,951 รวม 295 348 424 444 449 484 5,179 5,772

6 1.5 ชว งอายุและจำนวนประชากร ชว งอายใุ นตำบลคบู ัวท่มี ีมากทสี่ ดุ คือ 19 – 59 ป จำนวน 6,646คน รองลงมาชว งอายุ 60 ปข ้ึนไป จำนวน 2,269 คน สว นชว งอายทุ ีม่ จี ำนวนประชากรนอยทีส่ ดุ คือ ชว งอายุตำ่ กวา 18 ป จำนวน 2,186 คน ดงั นี้ ชว งอายุ ชาย(คน) หญงิ (คน) รวม จำนวนประชากรเด็กและเยาวชน อายตุ ำ่ กวา 18 ป 1,113 1,073 2,186 จำนวนประชากร อายุ 19 - 59 ป 3,191 3,455 6,646 954 1,315 2,269 จำนวนประชากรผสู ูงอายุ อายุ 60 ปขนึ้ ไป 1.6 ระบบการศกึ ษา ระบบการศึกษาของตำบลคบู ัว ประกอบดวย (1) มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (ม.1-ม.3) จำนวน 1 แหงคอื โรงเรยี นแคทรายวิทยาตงั้ อยใู นหมทู ี่ 12 (2) มีโรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา มีจำนวน 4 แหง ไดแ ก โรงเรยี นชมุ ชนวัดคูบัว ตัง้ อยูในหมทู ี่ 3 โรงเรียนวัดบานโพธิ์ ตงั้ อยูใ นหมูท่ี 11 โรงเรยี นวดั แคทราย ตงั้ อยูใ นหมูที่ 12 และโรงเรยี นวดั หนามพุงดอ ตัง้ อยูในหมทู ี่ 14 (3) มีศนู ยพ ฒั นาเด็กเล็กกอ นวยั เรียนในสังกดั องคก ารบริหารสวนตำบลคบู ัว จำนวน 3 แหง คอื ศนู ยพฒั นาเดก็ เล็กโรงเรียนวัดหนามพงุ ดอ ตงั้ อยใู นโรงเรยี นวัดหนามพุงดอ ศูนยพ ัฒนาเดก็ เล็กโรงเรยี นวัดแคทราย ตง้ั อยใู นโรงเรียนวดั แคทราย ศูนยพฒั นาเดก็ เล็ก อบต.คูบวั ต้งั อยูใ นโรงเรียนชุมชนวัดคูบัว (4) มีศนู ยก ารเรียนชมุ ชน (การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจำตำบลคบู วั ) จำนวน 1 แหง ต้ังอยบู รเิ วณวัดโขลงสุวรรณคีรี หมทู ี่ 6 รวมทั้งสิ้น 9 แหง มรี ายละเอยี ดดังนี้ แหง ท่ี ชอ่ื จำนวนครู จำนวนนักเรยี น พกิ ดั (GPS) 1 โรงเรยี นชุมชนวดั คูบวั 5 52 13.491361, 99.831001 2 โรงเรียนวดั บานโพธิ์ 5 20 13.480396, 99.810255 3 โรงเรียนวดั แคทราย 13 182 13.474165, 99.823807 4 โรงเรียนแคทรายวทิ ยา 13 76 13.475232, 99.823549 5 โรงเรียนวัดหนามพุงดอ 9 124 13.449764, 99.815985

7 6 ศนู ยพัฒนาเด็กเล็กโรงเรยี น 3 12 13.449764, 99.815985 วัดหนามพงุ ดอ 7 ศูนยพฒั นาเดก็ เล็กโรงเรียน 4 10 13.473703,99.8239367 วดั แคทราย 8 ศนู ยพ ัฒนาเดก็ เลก็ อบต.คูบวั 3 6 13.4910080, 99.8311215 9 ศูนยก ารเรียนชมุ ชน (กศน.) 2 5 13.4872334,99.8347585 1.7 ระบบสาธารณะสุข ระบบสาธารณะสุขของตำบลคูบัว ประกอบดว ย จำนวน 2 แหง คอื 1 สถานอี นามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมินทราชนิ ีตำบลคูบวั ต้งั อยูในหมทู ี่ 5 รับผดิ ชอบเกี่ยวกับงาน บริการสาธารณสขุ ในเขตพนื้ ท่ี หมทู ี่ 1 ถึงหมทู ี่ 7 2 โรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลบา นคูบวั ตัง้ อยูในหมทู ี่ 8 รบั ผดิ ชอบเกีย่ วกับงานบริการสาธารณสขุ ใน เขตพ้ืนท่ี หมูที่ 8 ถงึ หมทู ี่ 15 โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตำบลทัง้ สองแหง มรี ะบบความพรอมสำหรบั การ ดำเนนิ งานสาธารณสุขประจำพ้ืนทใี่ หป ระชาชนในเขตตำบลคูบวั มสี ุขภาพอนามยั ที่ดมี ีการเฝา ระวงั ปองกันโรค ตา งๆรวมท้ังกิจกรรมสงเสรมิ สุขภาพอยางท่ัวถึงเพ่อื ปอ งกันไมใหเกดิ ปญหาและอนั ตรายตอ สุขภาพของประชาชน แหงท่ี ช่ือ จำนวนบคุ ลากร พิกดั (GPS) 1 สถานีอนามัยเฉลมิ พระเกยี รติ 6 13.490474, 99.830813 60 พรรษา นวมินทราชินี ต.คูบัว 5 13.483270, 99.824273 2 โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพ ตำบลบา นคบู วั

1.8 ระบบเศรษฐกิจ 8 ระบบเศรษฐกจิ ของตำบลคูบวั ประกอบดว ย รอ ยละ/ของพ้นื ที่ ประเภท/อาชีพ 50-60 % 10% เกษตรกรรม 30% เล้ยี งสตั ว 40% หตั ถกรรมในครวั เรอื น เชน การทอผา การทำของชำรว ย 20% คาขาย รบั จางท่วั ไป 1.9 ระบบพาณชิ ยแ ละกลมุ อาชพี ระบบพาณชิ ยของตำบลคูบวั สวนใหญป ระกอบดว ยรา นคาประเภทจำนวนการคา สงิ่ ทอ4ราน รองลงมาคือรานอาหาร 4 รา น รองลงมาตลาดนดั 2ราน รองลงบรกิ ารทพี่ ัก,รานขายของชำ,รานเสริมสวย,รานซอม รถยนตอยางละ 1 รา น รายละเอียดดงั ตาราง แหงที่ ช่ือรา นคา ลกั ษณะกจิ การ พิกัด(GPS) 1 รา นอาหารเจอ อน รา นอาหาร 13.494035, 99.8361845 2 รา นถงึ พริกถงึ ขงิ รานอาหาร 13.517651,99.8269461 3 รา น ก กลวย รานอาหาร 13.511568,99.8293465 4 VP Resort บริการท่ีพกั 13.516232,99.8270236 5 ตลาดนดั วัดโขลงสวุ รรณครี ี ตลาดทจ่ี ดั ใหม กี ารจำหนายสินคา 13.487001,99.8368703 6 ตลาดนดั วดั แคทราย ตลาดท่จี ดั ใหมกี ารจำหนายสินคา 13.476488,99.8232427 7 รา นผา มณี การคาสิง่ ทอ 13.487454,99.8342328 8 นารีผาจก การคาสง่ิ ทอ 13.496664,99.8348720 9 ขวญั นภาผา ทอ การคา สงิ่ ทอ 13.497375,99.8347908 10 รานคณุ แหมม ผาทอ & คาเฟ การคา ส่งิ ทอ 13.501370,99.8335064 11 รา นกวยเตีย๋ ว ชาลี รานอาหาร 13.463389,99.8159794 12 รานคาโชคอำนวยรัตน รานขายของชำ 13.462371,99.8145076 13 รานเสริมสวยคุณแอว &ชดุ ววิ าห รา นเสริมสวย 13.467245,99.8152444 14 บริษทั อูช างหมาย พ.ี เค จำกดั รา นซอ มรถยนต 13.461136,99.8118760

9 ดา นกลุมอาชีพ ประกอบดว ยกลมุ วสิ าหกิจชุมชนจำนวน 4 แหง กลุม OTOP จำนวน 2 แหง รายละเอยี ดดงั ตาราง แหง ที่ ช่อื กลมุ วสิ าหกิจ/กลุม OTOP ลกั ษณะกิจการ พกิ ดั (GPS) 1 วสิ าหกจิ ชมุ ชนศริ ิวรรณ เส้อื ผา เด็ก เสอ้ื ผา เดก็ 13.496106,99.8325437 2 วิสาหกิจชุมชนกลมุ อนุรักษผาจก บา นคูบัว ศนู ยจ ำหนา ยและรบั สั่งทอ 13.492221,99.8319365 ผา จก 3 กลุม ทอผา จกบานตะโก การเรยี นทอผา 13.490173,99.8331005 4 ศนู ยส ง เสรมิ อาชพี การทอผา จกบา นใต สงเสรมิ การทอผา 13.493402,99.8381886 5 Otopนวตั วิถี บานคบู วั ชุมชนทอ งเท่ียว 13.487259,99.8351027 6 สหกรณผผู ลติ ผลติ ภณั ฑไ มตาล ไมมะพราว ทำผลิตภณั ฑไ มตาล 13.492060,99.8325261 1.10 ระบบอตุ สาหกรรม ระบบอตุ สาหกรรมของตำบลคบู ัว สวนใหญประกอบดว ยโรงงานประเภทโรงงานสง่ิ ทอ จำนวน 3 แหง รายละเอียดดังตาราง แหงท่ี ชื่อรา นคา ลกั ษณะกจิ การ พิกดั (GPS) 1 โรงงานทอผา ขาวมา กมิ กี่การทอ โรงงานทอผา 13.520681, 99.826090 2 โรงงานทอผาขาวมาย่งิ เจรญิ โรงงานทอผา 13.487186, 99.829375 3 บรษิ ทั พงษเ จริญการทอ จำกดั ผลติ ผาขาวมา 13.480399, 99.825942

10 1.11 ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ ม และสถานที่ทอ งเทีย่ วชมุ ชน ประเภทแหลงนำ้ แหลง นำ้ ของตำบลคบู วั สว นใหญป ระกอบแหลง น้ำธรรมชาติ จำนวน 2 แหง คลองชลประทานและคลอง นำ้ ทง้ิ ชลประทาน ระบบประปาผวิ ดินขนาดใหญ จำนวน 1 แหง รายละเอยี ดดงั ตาราง แหงท่ี ประเภท ตัง้ อยูห มูบาน พกิ ดั (GPS) 1 คลองชลประทาน หมู 15 13.458185, 99.8148470 2 คลองนำ้ ท้ิงชลประทาน หมู 15 13.457478, 99.8144781 3 ระบบประปาผิวดินขนาดใหญ หมู 15 13.465255, 99.8167761 ประเภทพ้นื ที่สาธารณะ หรอื ปา ไมช มุ ชน พน้ื ที่สาธารณะของตำบลคบู ัว สวนใหญประกอบดว ยท่ีออกกำลงั กายและสนามเด็กเลนรายละเอยี ดดังตาราง แหง ที่ ประเภท ตัง้ อยูห มบู า น พกิ ัด(GPS) 1 สนามเด็กเลนและท่อี อกกำลงั กาย หมู 15 13.463174, 99.8165231 2 ที่ออกกำลงั กายและพ้ืนท่วี า งเปลา หมู 15 13.461188, 99.8116986 สถานทที่ อ งเท่ยี วชมุ ชน สำหรบั สถานทท่ี องเทยี่ วชุมชนของตำบลคบู ัว สว นใหญป ระกอบดว ยโบราณสถานรายละเอยี ดดังตาราง แหง ท่ี ชือ่ ลกั ษณะ ตั้งอยูห มูบ า น พิกัด(GPS) 1 กาดวถิ ชี ุมชนคูบวั สถานทท่ี องเทยี่ วเชิงวิถีชุมชน หมูท ี่ 6 13.487405, 99.834763 2 จิปาถะภัณฑส ถานบา นคบู ัว พิพธิ ภัณฑ หมทู ี่ 6 13.487211, 99.834791 3 โบราณสถานหมายเลข 1 โบราณสถาน หมูท ี่ 2 13.494909, 99.827328 4 โบราณสถานหมายเลข 8 โบราณสถาน หมูท่ี 3 13.490704, 99.831167 5 โบราณสถานหมายเลข 18 โบราณสถาน หมูท่ี 6 13.486559, 99.835775 (วดั โขลงสุวรรณครี ี)

11 1.12 ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และภมู ปิ ญ ญา ดานศาสนา ประชากรของตำบลคบู ัว ประชากรสวนใหญน ับถือศาสนาพทุ ธ รอยละ 99.93 และศาสนาครสิ ต รอ ยละ 0.07 และมศี าสนสถานและสถานทสี่ ำคญั ในพน้ื ท่ี ไดแ ก แหง ที่ ศาสนสถาน/สถานที่สำคญั ตง้ั อยูหมูบ าน พกิ ัด(GPS) 1 วัดคูบัว หมูท่ี 3 13.492311, 99.830748 2 วดั ทงุ ราษฏรศ รทั ธาธรรม(ตากเเดด) หมูที่ 1 13.512527, 99.830708 3 วัดบานโพธิ์ หมูที่ 11 13.481835, 99.811271 4 วดั หนามพุงดอ หมูท่ี 14 13.451348, 99.817578 5 วัดแคทราย หมูที่ 12 13.474513, 99.823718 6 วดั โขลงสวุ รรณคีรี หมทู ่ี 6 13.487537, 99.834529 7 วดั ทาชา ง หมทู ี่ 10 13.485938, 99.812515 8 ศาลเจา โรงเจเปาเกง็ เต็ง หมูท ่ี 15 13.464744, 99.816776

12 ดานประเพณี วัฒนธรรม ตำบลคูบวั มปี ระเพณีและงานประจำปของทกุ ป ท่ีประชาชนมสี วนรวม ดังนี้ เดอื น มกราคม งานสบื สานวฒั นธรรม ไท-ยวน ตำบลคบู วั เดอื น เมษายน งานประจำปปดทองนมสั การองคห ลวงพอ แดง-หลวงพอ ดำ ณ วัดคูบวั งานสรงน้ำผสู งู อายุ และสรงนำ้ พระ เดอื น กรกฎาคม งานแหเ ทยี นพรรษา เดอื น พฤศจิกายน งานลอยกระทง ดา นภมู ปิ ญญาทอ งถิน่ และภาษาถ่ิน ตำบลคูบัว มภี มู ปิ ญ ญาทองถนิ่ ทีโ่ ดดเดน คอื หัตถกรรมการทอผา ดว ยก่กี ระตุก ประเภทผา ซิ่นตีนจก รองลงมา เปนผา ซนิ่ ตา นบั เปน ภูมิปญ ญาการทอผา ทีส่ บื ทอดมาต้ังแตบรรพบรุ ุษชาวไท-ยวน ลกั ษณะลายผา โบราณ เชน ลายดอกเซีย ลายหกั นกคู ลายโกง เกง ลายหนาหมอน และลายนกคูกนิ น้ำฮวมที่เปนเอกลักษณ เฉพาะตวั เปนงานหตั ถกรรมทป่ี ระชาชนตำบลคูบัวมคี วามภาคภมู ิใจทไ่ี ดเ ปน ผสู บื ทอดเจตนารมณข องบรรพบรุ ษุ ใน การอนุรกั ษดานการทอผา ตีนจก ใหคงอยูสบื ไป ภาษาถน่ิ คือ ภาษาไท-ยวน ประชาชนสว นใหญม กั จะพดู สำเนยี งภาษา ไท-ยวน ซง่ึ เปนเอกลกั ษณท างภาษาถ่นิ หากวา ความเจริญทางสงั คม ในเดก็ และเยาวชนตำบลคบู ัว ไมคอยพูดภาษาถนิ่ ไท-ยวน เนอื่ งจากพอแม ผูปกครองมักจะพดู ภาษากลาง กับบตุ รหลานมากกวา

13 สวนท่ี 2 ขอ มลู องคกรปกครองสว นทอ งถ่ิน 2.1 ความเปน มาและการกอ ตง้ั องคการบริหารสว นตำบลคูบัว เปน ราชการบริหารสวนทองถน่ิ มีฐานะเปนนติ บิ คุ คล เดิมเรียกวา สภาตำบลคบู วั จดั ต้ังขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ืองใหใชป ระกาศของคณะปฏวิ ตั ิ ฉบบั ท่ี 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 ในการบริหารราชการตำบล ประกาศ ณ วนั ท่ี 18 กนั ยายน 2518 บังคับในการบริหารราชการตำบลทกุ ตำบล ตอมาไดมกี ารตราพระราชบัญญัติสภาตำบลและองคการบรหิ ารสวนตำบล พ.ศ.2537 ซง่ึ มผี ลบงั คบั ใชเ มื่อ วนั ท่ี 2 มนี าคม 2538 และสภาตำบลคูบัว ก็ไดรับการประกาศใหจัดต้งั เปนองคการบริหารสวนตำบลคูบวั ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จดั ตงั้ องคการบรหิ ารสว นตำบล ลงวนั ท่ี 19 มกราคม 2539 และ ไดป ระกาศราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั ประกาศท่ัวไป เลมที่ 113 ตอนที่ 9 ง ลงวันท่ี 30 มกราคม 2539 ปจจุบันองคการบริหารสวนตำบลคูบวั ไดปรบั ขนาดเปน องคก ารบรหิ ารสวนตำบลขนาดใหญ ตามมติ คณะกรรมการพนกั งานสว นตำบลจงั หวัดราชบรุ ี มมี ตกิ ารประชุมคร้ังท่ี 3/2558 เมื่อวนั ท่ี 30 มนี าคม 2558 ตราสญั ลักษณ หมายถึง ดอกบัวสามดอกอยูในคูน้ำ หมายถึง ในสมัยกอ นตำบลคบู วั มคี ูน้ำลอมรอบตำบลเปน รปู สีเ่ หล่ยี มผนื ผา และในคูน้ำก็ มีบัวขึน้ อยูมากมายตลอดสาย จึงเปนทม่ี าของดอกบวั สามดอกในคนู ้ำ กำแพงอฐิ แดงที่อยดู านหลงั ของดอกบัวสามดอกน้ัน หมายถงึ เมืองโบราณสมัยทาราวดี ซงึ่ เปนปจจบุ ันเปนสถานที่ ทองเที่ยวที่มีช่อื เสียงของตำบลคบู วั ปจจบุ นั ซากเมอื งโบราณน้ีตง้ั อยู ณ วัดโขลงสวุ รรณครี ี ตำบลคูบวั อำเภอเมอื ง ราชบุรี จังหวัดราชบรุ ี

14 2.2 คณะผบู ริหาร นายประยง พิมเพราะ ปฏบิ ัตหิ นา ที่ นายกองคก ารบรหิ ารสวนตำบลคบู วั นายประยง พิมเพราะ นายกอบต.คูบวั นายไชยนต รุจจารี นางธญั ญรัตน มาตกฤษ รองนายกอบต. รองนายกอบต. นางสาวสรุ รี ัตน จันทรแ พง เลขานกุ ารนายก อบต.

15 2.3 โครงสรา งหนว ยงาน

16 2.4 วิสยั ทศั น พนั ธกิจ เปาประสงค และยทุ ธศาสตรอ งคกร องคก ารบรหิ ารสว นตำบลคบู ัว ไดกำหนดวิสยั ทัศน (Vision) เพื่อแสดงสถานการณใ นอุดมคติ ซ่ึงเปน จุดมงุ หมายความคาดหวงั ท่ตี องการใหเกิดข้นึ ในอนาคตขา งหนา ซงึ่ จะสามารถสะทอ นถึงสภาพการณข อง ทองถิ่นในอนาคตอยางรอบดาน ภายใตก ารเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ มดา นตา งๆ จึงไดกำหนดวิสยั ทศั น คาดหวังทจี่ ะใหเ กิดขึ้นในอนาคต ดงั น้ี “ยกระดับคณุ ภาพชีวติ สรา งเศรษฐกิจครวั เรอื นใหมนั่ คง มงุ สูต ำบลนา อยู เชดิ ชวู ฒั นธรรมและภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ เนน การศกึ ษากาวไกล ใสใ จสุขภาพและส่ิงแวดลอ ม นอมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง บริหารงานโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล” พันธกิจ 1) พัฒนาระบบโครงสรา งพ้ืนฐาน และสาธารณปู โภค 2) สงเสรมิ ใหป ระชาชนมคี ุณภาพชีวิตท่ีดีขน้ึ และสังคมมีความสงบสขุ 3) สง เสริมการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน 4) สง เสรมิ การทอ งเที่ยว และกีฬา 5) สงเสริมการมีสวนรว มในการรกั ษาสงิ่ แวดลอมภายในตำบล 6) สง เสรมิ การบริหารงานและการปฏิบัติงานของบุคลากรในองคกร เปา ประสงค 1 ประชาชนมีความรดู านวิชาการในการประกอบอาชีพและเพิม่ มูลคาสนิ คา 2 เดก็ สตรี คนชรา คนพิการ ผดู อ ยโอกาสไดร บั การสงเคราะหแ ละสง เสรมิ ใหมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ีขึ้น 3 การความรแู ละสรา งความสัมพันธร ะหวางเด็กและเยาวชนใหร ูถ ึงโทษภัยยาเสพติด 4 การปองกนั และควบคมุ โรคระบาดตา งๆทเ่ี กิดขึ้นภายในต ำบล 5 ประชาชนมีความรกั ใครสามัคคีกนั มสี วนรวมในกจิ กรรมการพัฒนาทอ งถ่ินตนเอง 6 พัฒนาแหลง ทอ งเท่ยี วทีส่ ำคญั เนน การประชาสมั พันธใหเ ปนท่รี จู กั 7 เดก็ นักเรยี นในพนื้ ทไ่ี ดรับการสงเสริม สนับสนุนดานการศึกษาที่เพียงพอ 8 ผบู ริหาร สมาชิกสภาฯ และประชาชนมีความรูเขาใจในดานการเมอื ง การบริหาร และการ ปกครอง 9 บคุ ลากรมีศกั ยภาพการท ำงานตามหลกั ธรรมาภบิ าล ในการใหบ ริการประชาชน 10 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอมมคี วามอุดมสมบูรณ ชุมชนสะอาด ปราศจากขยะและ มลพิษ

17 11 การคมนาคมขนสงมคี วามพรอมสามารถรองรับการคมนาคมขนสง ทจ่ี ะเกดิ ขึ้นในอนาคตได ระบบไฟฟา ประปา มคี วามเพียงพอตอ ความตอ งการของประชาชน ยุทธศาสตรก ารพัฒนาที่ 1 : ดานโครงสรางพืน้ ฐาน สาธารณูปโภค และสาธารณปู การ แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาระบบการคมนาคม 2) พัฒนาระบบระบายน้ำ 3) พัฒนาระบบประปา 4) พัฒนาระบบไฟฟาสาธารณะ และไฟฟาสองสวา ง 5) พัฒนาสง่ิ กอ สรา งชุมชน ยุทธศาสตรก ารพัฒนาที่ 2 : ดา นคุณภาพชวี ิตและสงั คม แนวทางการพฒั นา 1) สง เสริมและสนบั สนนุ สวสั ดิการสงั คมและสงั คมสงเคราะห 2) สงเสริมและสนับสนุนการสรางความเขมแข็งของชุมชน 3) สง เสรมิ และสนับสนุนการสาธารณสุข 4) สง เสรมิ การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยภายใน และความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส นิ ของ ประชาชน ยุทธศาสตรก ารพัฒนาที่ 3 : ดานการศกึ ษา ศาสนา วฒั นธรรม และกฬี า แนวทางการพัฒนา 1) สงเสรมิ และสนบั สนุนการศกึ ษาทุกระดบั 2) สง เสรมิ กิจกรรมเพ่อื เด็กและเยาวชน 3) สง เสริมกจิ กรรมทางศาสนา วฒั นธรรม และภมู ิปญญาทองถ่ิน 4) สงเสริมการกฬี า และนันทนาการ ยุทธศาสตรก ารพัฒนาที่ 4 : ดานการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม แนวทางการพัฒนา 1) การจดั การขยะมูลฝอยภายในตำบลคูบวั 2) การจัดการสิ่งแวดลอ มและมลพิษตางๆ 3) การบำรุงรกั ษาแหลงน้ำภายในตำบลคูบัว

18 ยุทธศาสตรก ารพัฒนาท่ี 5 : ดา นการบริหารงาน และการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรในองคกร แนวทางการพฒั นา 1) สงเสริมการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรใหม ปี ระสิทธิภาพ 2) สงเสรมิ การบริหารงานองคกรใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ 3) สง เสรมิ การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรภายในองคกร 2.5 รางวลั ทไ่ี ดร บั /การไดร บั การเชดิ ชู 1 องคก ารบรหิ ารสวนตำบลคูบวั อำเภอเมอื งราชบุรี จังหวัดราชบรุ ี ไดรับมอบเกียรติบัตรจาก กรม สงเสริมการปกครองทอ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทยเปนองคก รปกครองสวนทอ งถิ่นทมี่ ผี ลการปฏบิ ัตงิ านดีเดน ดาน สงเสรมิ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและภมู ิปญ ญาทอ งถ่นิ ประจำปงบประมาณ พทุ ธศักราช 2562 ใหไว ณ วันที่ 4 มถิ ุนายน พทุ ธศักราช 2563 2 องคก ารบริหารสว นตำบลคูบวั อำเภอเมอื งราชบุรี จงั หวัดราชบุรี รับโลรางวัล วัฒนคุณาธร ผทู ำ คณุ ประโยชน ตอ กระทรวงวัฒนธรรม ประเภทกลุมบุคคล ประจำป พ.ศ. 2559 3 ไดรับมอบใบประกาศเกยี รติคุณ จากสถาบนั พระปกเกลา ในโครงการรางวัลประปกเกลา ประจำป พ.ศ. 2559 ประเภท อปท.ทีผ่ า นเกณฑมาตรฐานดานความโปรงใสและสง เสริมการมสี ว นรว มของประชาชน 2.6 ประเด็นอ่ืน ๆ เก่ียวกบั การพฒั นาพื้นทีท่ โ่ี ดดเดน การวางแผนพฒั นาทอ งถน่ิ (พ.ศ.2566-2570) ขององคการบรหิ ารสว นตำบลคูบวั ในภาพรวม ทกุ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่กี ำหนดข้นึ ไดก ำหนดใหส อดคลอ งกับยทุ ธศาสตรการพัฒนาขององคก รปกครองสว น จงั หวดั ราชบรุ เี ปน การวางวางแผนยทุ ธศาสตรเ พื่อใหเ ปน ไปตามทศิ ทาง ภารกจิ วัตถุประสงค และกลยทุ ธในการ ดำเนินงานท่จี ะทำใหก ารดำเนินงานของแผนงาน/โครงการที่ตองปฏิบตั ิ สามารถเชอื่ มโยงแผนผังความเชอื่ มโยง

19 สว นที่ 3 ขอมูลหมูบา น/ชุมชน (พน้ื ทีท่ ำโครงการ) 3.1 ความเปนมาของหมบู าน/ชุมชน เดิมบา นไรตนมะมว ง (หรอื บานไรโรงเจ) ข้ึนอยูกบั หมูท ่1ี 3 บา นตนแหน มผี ใู หญส ด จนั ทรศรีเจรญิ เปนผูใ หญบา น เนื่องจากเปนพื้นทกี่ วา ง ไมสามารถควบคมุ ถึงจงึ ไดแ ยกออกมาเปน หมทู ่1ี 5 ในเมือ่ กอ นมี ตน มะมว งเยอะหลายสายพนั ธุ มะมวงแกม แดงเลก็ มะมว งแกม แดงใหญ มะมว งปา จงึ เรียกวา บา นไรตนมะมวง จนผใู หญข ำ ไสยจิตต ไดข ้นึ มารับหนา ทผี่ ูใหญบาน ในชวงน้นั ไดมกี ารสรางโรงเจเปาเก็งเตง็ ขึน้ จึงไดเปลี่ยนชือ่ หมบู านเปนบา นไรโ รงเจ สาเหตทุ ่ีเปนหมทู 1ี่ 5 เพราะหมทู 1ี่ 4 มอี ยแู ลวคือ หมบู า นหนามพุงดอ บานไรตนมะมว งเรยี กตามภูมิศาสตรข องทอ งถ่นิ ทเ่ี รยี กวา บานไรต นมะมว งคือพืน้ ทดี่ อน ตัง้ แตเร่ือยลงไป จนถึงบา นไรโรงเจเกา มไี รออยกับมะมวงเยอะลามมาถงึ โรงเจปจ จุบนั ผใู หข อ มลู ความเปนมา 2 คนไดแ ก 1. ทา ใสยจติ ร 2. ดร.อดุ ม สมพร

20 3.2 ภูมิปญญา หตั ถกรรมการทอผาดวยก่กี ระตุก ประเภทผาซ่นิ ตนี จก รองลงมา เปน ผา ซิ่นตา นบั เปนภมู ิปญ ญาการทอ ผา ทสี่ บื ทอดมาตงั้ แตบรรพบุรุษชาวไท-ยวน ลักษณะลายผา โบราณ เชน ลายดอกเซยี ลายหกั นกคู ลายโกงเกง ลายหนาหมอน และลายนกคกู นิ นำ้ ฮวม ทเี่ ปน เอกลกั ษณเ ฉพาะตวั เปนงานหัตถกรรมทปี่ ระชาชนตำบลคบู ัวมี ความภาคภูมใิ จที่ไดเ ปน ผสู บื ทอดเจตนารมณของบรรพบุรษุ ในการอนรุ กั ษด านการทอผาตีนจก ใหคงอยูสืบไป ภาษาถ่ิน คือ ภาษาไท-ยวน ประชาชนสว นใหญม ักจะพดู สำเนยี งภาษา ไท-ยวน ซงึ่ เปน เอกลักษณทาง ภาษาถน่ิ หากทวา ความเจรญิ ทางสงั คม ในเด็กและเยาวชนตำบลคบู ัว ไมค อ ยพูดภาษาถนิ่ ไท-ยวน เน่อื งจากพอแมผ ปู กครองมักจะพดู ภาษากลาง กบั บตุ รหลานมากกวา 3.3 สถานการณปญ หา ชุมชนคูบวั มีปญ หาเรอื่ งหนส้ี นิ ภายในครัวเรอื นทีค่ อ นขางสูง ขาดอาชีพเสรมิ ทส่ี ามารถสรา งภายไดอยางท่ี แทจ รงิ ขาดการใหค วามรูเพ่อื ลดตนทนุ และเพิ่มกำไรในการเกษตร ขาดการฝกอบรมทต่ี รงความตอ งการชมุ ชนและ เปนผลติ ภัณฑท ี่ตรงกับความตองการของตลาด วัฒนธรรมบางอยา งท่ีสูญหายไป

21 ภูมปิ ญญา

22 กลุม พฒั นาอาชีพทอผาจก หมู 4 บานใต ตำบลคบู วั อำเภอเมืองราชบุรี ชื่อ : นางปราณี บวั ทวน ประธานกลุม อายุ 68 ป เบอร : 087-9302943 รายละเอียด : กลมุ พัฒนาอาชพี ทอผาจก หมทู ่ี 4 บา นใต เกดิ จากการประสานหลายฝายดว ยกนั ทัง้ สว นราชการ ภายนอกสงเสรมิ ใหม กี ารต้งั กลุม การอดุ หนุนงบประมาณเพอื่ เปน ทนุ หมุนเวยี น การสนับสนนุ ดานวสั ดุอปุ กรณใน การผลิตการสง เสรมิ ดา นการตลาด และการออกรา นในงานแสดงสินคา ตา งๆ รวมทั้งไดร ับการอบรมในการบรหิ าร จดั การการศึกษาดูงานเพ่อื นำความรูม าใชดำเนินกิจกรรมกลมุ ใหม ีประสทิ ธภิ าพ และไดเปนสวนหนงึ่ ในกิจกรรม บทบาทสตรีอาสาพัฒนาในการฟน ฟูภมู ิปญ ญาการทอผา จกในรปู ของกจิ กรรมตา งๆมกี ารนำเสนอโครงการแผนงาน ใหห นวยงานท่ีเกย่ี วของสนบั สนุนในเรื่องของการเริม่ ตนกระบวนการต้งั กลุม การประสานงานจากเจาหนาทีพ่ ัฒนา ชมุ ชนนำสกู ารจดั ตงั้ กลมุ อาชีพทอผาจก หมทู ่ี 4 บานใต ตำบลคูบวั ขึ้นเม่อื ปพ.ศ.2542 โดยครงั้ แรก มสี มาชิก 20 คน ใชอาคารเอนกประสงคของหมบู าน ซง่ึ เดิมเปนสภาตำบลคบู วั เปนทท่ี ำการกลุม และตอ มาไดร ับการสนบั สนุน ปจ จยั ส่งิ ที่เปน ประโยชนห ลายอยา ง จากหนว ยงานราชการและองคกรเอกชน ไดแ ก องคก ารบรหิ ารสว นตำบลคูบัว กศน. สโมสรโรตารี่ราชบุรีและสำนกั งานพฒั นาชุมชน ทำใหก ลมุ มีรูปแบบการทำงานทีช่ ดั เจน คอื ไดร วมกลุมสตรี แมบ านในหมบู านทม่ี ีความสนใจ ตองการมอี าชพี เสริมหลังจากฤดูทำนาขาวและบางสวนท่วี า งงานเขามารวมกนั ทอ ผา เพอ่ื ผลติ และหาตลาดจดั จำหนาย เพือ่ สรา งรายได ตัดปญ หาแมคาคนกลาง โดยไดรบั การสนับสนนุ จาก หนวยงานทางราชการ ในดานตางๆ เชน การฝกอบรม ขอ มูลขา วสาร และแหลงเงินทนุ หมุนเวียน เปนตน

23 ปจจบุ ันกลุม พฒั นาอาชีพทอผา จก หมูท่ี 4 บา นใตไดเปดสอนทอผาจก และเผยแพรความรภู ูมิปญ ญา ทองถิน่ การทอผาจก ไท-ยวน ตำบลคูบัว ใหก ับผูท่ีสนใจ และนักเรียน นักศกึ ษา นักทอ งเที่ยว อุปกรณทใ่ี ช 2. ดา ยยนื 1.กที่ อผา ระยะเวลาในการทำผาทอ : ถาลวดลายเยอะจะใชเ วลาเปน เดอื น ถา นอ ยจะใชเวลา 1 วนั ราคาตอ ผนื : ลวดลายเยอะกจ็ ะแพงขึ้น ประมาณ 4000 ขน้ึ ไป ลวดลายทเี่ ปน เอกลักษณของคูบวั : ปลานก ลายเซยี ลายกาบ ลายกดู ปลานกอีแวด ลายเอือ้ ลายหัก 1.ลายผาซิ่นตนี จก (ลายเกา โบราณ)

24 2.ลายผา จกคบู วั ในผา จะมลี วดลาย 3 อยา ง 3.ลายไมเ ครือหรอื เครอื วลั ย 4.ปลานก ลายเออื้ ลายเซีย ลายหัก 5.ลายกดู 6.ลายกาบ 7.ขอเหลยี ว

25 การทำครก-สากไมจ ากไมม ะพราว ชอ่ื : นายวิโรจน ย่งิ งามแกว อายุ 57 ป รายละเอยี ด : เรมิ่ ทำตง้ั แต พ.ศ.2540 ทำครกไมเ ริ่มมาจากคนในครอบครวั ทำพวกผลิตภณั ฑจ ากไมใ นเมอื่ กอน จะใชไมของตนตาลในการทำ เพราะมตี น ตาลเยอะในเมอ่ื กอ น แตเ นื่องปจ จบุ ันไมตน ตาลนัน้ มีอยูนอ ยจงึ เปลี่ยนมา ใชไ มม ะพรา วแทน อุปกรณ : 1.เครอื่ งกลึงครก 2.ใบมีดกลึง 3.แทนกลึงสาก

26 วธิ ีทำ ขั้นท่ี 1 หาไมมะพราว นำมาผาเปนทอน ผา ใหมขี นาด 3 น้วิ คร่ึง 4 นวิ้ 5 น้ิว ข้นั ท่ี 2 เขา เคร่ืองกลงึ กลงึ จนเปนรปู ครก ขั้นท่ี 3 นำมาขัดใหเ รยี บเนียน และทาแชลค็ เคลือบเงาโชวเน้อื ไมท ีส่ วยงาม ราคา : ขนาดเลก็ แบบไมไดท าแชลค็ 20 บาท ขนาดกลาง 25 บาท ขนาดใหญ 30 บาท ถา ทาแชลค็ ก็คดิ แลวแต คนขายไดเลย (ครกกับสากขายคกู นั ) ระยะเวลาในการทำครกและสาก : ทำ 30-40 ใบตอ วัน ขอเสนอแนะในการเลอื กไมมาทำ : ไมม ะพรา วตอ งเปน มะพรา วแก เพราะจะมคี วามแขง็ แรง ถาไมม ะพราวออน กลึงแลวจะไมไ ดร ูป พอแหง แลวจะยบุ ตัวลง

27 การทำแคน ชือ่ : นายเรืองศกั ดิ์ สุขเฟอ งแสง อายุ 68 ป รายละเอยี ด : เริ่มทำตั้งแตป พ.ศ. 2520 ทำมารนุ พอสรู ุนลูก พอและชา งชวยกนั สอนจนพอเสยี กเ็ ลยไดวิชาการ ทำแคนมาจาก 2 รนุ นน้ั เอง การเรยี นรูในตอนนนั้ ใชสมุดบนั ทกึ ในการชว ยจดจำ คอ ยจดไววา ตรงไหนเทียบเสียงของ แคนยงั ไง อุปกรณ : 1.ไมไ ผ 2.เงินหรอื เหรยี ญ 2 บาท 3.ส่ิว

28 วธิ ีทำ ขั้นที่ 1 นำไมไ ผป ลอ งยาวๆ มาตากแดดใหแ หง ไว 2 เดอื น ขน้ั ที่ 2 ตัดเปนชุดๆ ขนาดยาวสั้นไมเ ทากนั ขนั้ ที่ 3 ทำลน้ิ คอื ทที่ ำใหชว ยเกดิ เสยี ง นำเหรยี ญ 2 บาทหรือวาเงนิ ตัดเปน ชน้ิ เลก็ ๆ มาทบุ ใหบ าง ขั้นที่ 4 การเจาะทำชอ งลม ทำชองลม 2 ชอ ง ระยะหางของชองเสียงย่งิ หางเสยี งจะทมุ แตถ า ใกลช อ ง เสยี งจะเลก็ แหลม และชอ งลิ้นตรงกลางตรงสขี าวๆจะเปนชว งทล่ี น้ิ ตอ งใสลงไป ข้นั ท่ี 5 เอาซิว่ มาขดู ใหลมมนั ด้ินได แขง็ ไปกไ็ มด ีออ นไปก็ไมดี ขนั้ ท่ี 6 นำมาติดกัน เตา 1 อนั ใชเ วลา 3 วนั ทงั้ กลึงเตา ทง้ั อะไรคอื รวม 1 อัน ขนาดแคน : มี 4 ขนาด 1.ขนาดส้นั 70 ซม. 2.ขนาดกลาง 1 ม. 3.ขนาดยาว 1.20 ม. 4.ขนาดใหญท สี่ ดุ 1.50 ม. ราคา : ทกุ ขนาดอยทู ่ี 1000 บาท

29 การทำเตานมไมแ ละงามหนงั สตก้ิ ไม ชอื่ : นายสังวาลย คำกองแกว อายุ 62 ป รายละเอียด : เริ่มทำพ.ศ. 2532 เรม่ิ จากดวู ิธีการทำจากคนแถวบาน เขาทำและไดน ำไปขายทก่ี รงุ เทพขายไดดี เลยจะมาลองทำบาง ตอนนน้ั เปน ชว งท่ไี มม มี ีงานทำพอดี จงึ ไดไ ปศึกษาไปดูวิธกี ารทำจากเขามาและไดความรูมา จากพอแม ใชว ิธีการดแู ละจดจำและนำมาลองฝก ทำจากรนุ พอ สรู ุน ลกู อปุ กรณ : การทำเตา นมไม 1. มดี อโี ต 2. เครอ่ื งเลอ่ื นไมวงเดอื น 3. เครอ่ื งขัดไม 4. จะใชเ ปน ไมจ ามจรุ ,ี ไมคราง,ไมส ะเดากไ็ ด

30 วธิ กี ารทำ : ขนั้ ท่ี 1 นำทอนไมมาผาทเ่ี คร่อื งเลอื่ ยไมว งเดือนใหมีเปน รปู คลายๆสี่เหลยี่ มผืนผา ข้ันที่ 2 นำมาฟนโดยใชม ดี อีโต ฟนใหลกั ษณะคลายกับเตานม ขั้นที่ 3 นำไมท่ีไดไปตากแดด 1 วัน (เพราะไมม ันยงั สดอยูตอนฟนถา ไมต ากแดดกอ น คือจะขัดไมไมออก) ขัน้ ที่ 4 นำไปเขา เครื่องขดั ไม ขดั ใหร อบเตา นมใหเ นยี น ขั้นท่ี 5 ขัดไมเ สร็จแลวก็จะไดเ ตา นมไมท่เี รยี บเนียน

31 อปุ กรณก ารท ำ : งามหนังสตก้ิ 1. เครอ่ื งเลอ่ื ยวงเดือน 2 .เครื่องฉลุไม 3. เครอื่ งขัดไม 4. ไม

32 วิธที ำ ขน้ั ที่ 1 นำไมม าตัดใหไ ดข นาดสี่เหลี่ยมผืนผา แตค วามหนาจะบางกวาตอนทำเตา นม ขั้นท่ี 2 นำแบบไมมาวางทาบแลว วาดลงบนไมท่ีตัดมาใหเปนรูปงา ม ขั้นที่ 3 ใชเ คร่อื งเลอื่ ยไมวงเดือน ตดั สวนขา งออกกอ นคือสว นชว งทีเ่ ปนสแี ดงตัดออก ขั้นท่ี 4 นำไปผารอบในท่ีเครอ่ื งฉลุ เกบ็ รายละเอยี ดขอบใน ขัน้ ท่ี 5 ก็จะไดตามนี้ ถา อยากไดแบบเรยี บเนยี นกต็ อ งนำไปขัด

33 รูปตอนเสรจ็ เปนงา มหนังสต้ิก ราคาเตานมไม : ขนาดเลก็ ดิบ 15 บาท ทาแชลค็ 25 บาท ขนาดใหญด ิบ 25 บาท ทาแชล็ค 35 บาท ราคางา ม : อนั ละ 5 บาท ระยะเวลาในการทำ : ขนึ้ อยกู ับจำนวนวาเยอะหรือนอ ย ถา เยอะใชเวลา 2-3 วัน ประโยชน : เตา นมไม วางไวแลวนอน สามารถเหมือนนวดหลงั ไปในตัว ชว ยกดจดุ แกปวดเมอ่ื ยไปในตัว

34 จปิ าถะภณั ฑส ถานบา นคบู วั ชื่อ : จปิ าถะภณั ฑส ถานบา นคูบัว ประเภท : พพิ ธิ ภัณฑ จุดเดน : แสดงวถิ ีชีวิตวัฒนธรรม ไท-ยวน ราชบุรี ท่ีอยู : ตัง้ อยูในบริเวณวดั โขลงสวุ รรณคีรี ตำบลคูบัว อำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี ผูอำนวยการจปิ าถะภัณฑส ถานบา นคบู วั : ดร.อุดม สมพร เปด เขา ชม : ทกุ วัน ตง้ั แต 09.00 – 16.00 น. หยุดทุกวนั องั คาร คา เขา : ฟรี สถานทจ่ี อดรถ : กวางขวาง แนวคดิ ตัง้ แตเ ร่มิ แรก : คอื ตอ งการทจ่ี ะเชิดชเู กยี รติคุณของบรรพชนไทย-ญวนทีอ่ ยูในจงั หวัดราชบรุ ีใหเปน ท่ี รจู ักแกประชาชนทว่ั ไป บา นคบู ัว เปน ชอ่ื ของตำบลคบู วั อำเภอเมือง จังหวัดราชบรุ ี เริม่ โครงการต้งั แต พ.ศ. 2542 โดยเรมิ่ การกอสรา งและใหค นเขาเยย่ี มชมโดยไมเ ปน ทางการต้ังแต พ.ศ. 2548 โดยคณะ คสด. ยอมาจาก คณะ ผูสูงอายรุ วมตัวกอการดี พพิ ธิ ภณั ฑแ หง น้เี ปน การตอ ยอดใหล กู หลานยุวชนทีไ่ ดสรา งสรรคน วตั รกรรมทาง วฒั นธรรมขึ้นมาใหมไดเ ขาไปตอ ยอดไดเลย ส่ิงทท่ี ำมาคอื เราทำในชว งชวี ิตของเราท่ีไดยอนอดตี ไปต้ังแต 203 ปท่ี คนในคณะ คสด. กค็ งจะตองหยุดไว ณ พ.ศ. นี้แลวตอไปผูทีจ่ ะเกิดมาใหมก ส็ ามารถตอ ยอดศิลปวัฒนธรรมของ

35 ตนเองทีไ่ ดพัฒนาไปไดอีก ตวั อาคารยาว 24 เมตร กวาง 18 เมตร มี 2 ชน้ั บริเวณรอบ ๆ มตี นไมท ี่ปลูกไวส ำหรับ ใหร มเงากับตัวอาคารมีบริเวณโบราณสถานสมยั ทาราวดีอยใู กลเ คยี งตดิ กนั เลยโบราณสถานสมัยทาราวดซี ง่ึ มีอายุ ประมาณ 2,400 ปเ ปนโบราณสถานองคใหญซ ึง่ กรมศิลปากรไดไปขดุ ตกแตง และขึ้นทะเบียนไวในระหวาง พ.ศ. 2504-2506 แลวนอกจากโบราณสถานองคใ หญน้ยี ังมีรอบ ๆ อกี หลายแหง ท่เี อาไวใหน ักโบราณคดหี รือผสู นใจเขา ไปเยีย่ มชมศกึ ษาความเปนมาของอารยธรรมรนุ กอน ๆ ได ภายในอาคาจปิ าถะภัณฑ แบงหองแสดงไวหลายหอง ประกอบดวย สว นจดั แสดงแบงเปน 10 หอ งไดแ ก หอ งที่ 1 แสดงภมู ปิ ญ ญาสมยั ทวารวดี หอ งที่ 2 แสดงเครือ่ งมอื ทำมาหากนิ หองที่ 3 มมุ หลับนอนสอนลูกหลาน หองที่ 4 แสดงการระดมความคิดของคนในชุมชน หองที่ 5 แสดงวถิ ชี วี ิตความเปน อยูของชาวไท-ยวน หองท่ี 6 แสดงเร่อื งทำมาหากนิ ของไท-ยวน หอ งท่ี 7 หอ งโถงสำหรับจดั นทิ รรศการ หองที่ 8 ภมู ปิ ญญาทอผาจก หองที่ 9 หอ งอนุรกั ษผ าโบราณ หองท่ี 10 หอ งชาติพนั ธุในจังหวัดราชบรุ ี ภายในจปิ าถะภัณฑ

36

37

38

39 กาดวถิ ีชุมชน สถานทที่ อ งเท่ียว : กาดวถิ ีชุมชนคูบวั ตงั้ อยใู นวัดโขลงสวุ รรณครี ี ภายในชุมชนคูบวั ทม่ี ีประวัตมิ ายาวนานกอ นที่ จะรุงเรืองขนึ้ ในสมยั ทวารวดี โดยมีบทบาทสำคญั เปนเมืองทาแหง ลมุ นำ้ แมกลอง เปนศูนยกลางเศรษฐกิจ การคา สังคมและวัฒนธรรม แตเ มอื่ 200 กวา ปที่ผา นมากลุมชาวไทยวนไดอ พยพจากเชียงแสนลงมาตัง้ ถ่ินฐานใหมใ นพนื้ ที่ แหงน้ี ทำใหวัฒนธรรม ขนมธรรมเนยี ม ภาษาถิ่น ตลอดจนวถิ ีของกลมุ ไทยวนไดกลายมาเปน สวนหนง่ึ ของราชบุรี นบั ต้งั แตนัน้ เปนตนมา กาดชุมชนคูบัว หรือ ชมุ ชนทอ งเทย่ี วบา นสระโบสถ บรรยากาศของกาดจดั แสดงสินคา รอบโบราณสถาน ภายในวดั โขลงสุวรรณครี ี อ.เมือง จ.ราชบุรี กาดวถิ ีชุมชนคูบวั แหง นี้สรางข้ึนจากความรวมแรงรว มใจของคนใน พ้ืนที่ เพอ่ื เผยแพรอตั ลักษณท ีด่ งี ามสสู ายตานกั ทองเที่ยว ทำใหไดส มั ผสั กับวัฒนธรรมชมุ ชนถึงแกน แท สรางความ ประทบั ใจ และการอยากมีสวนรว มในการสืบสาน นอกจากนัน้ บรรดาพอ คา แมข ายทนี่ กี่ ็ยังรวมใจเลอื กใช บรรจุ ภณั ฑอาหารทม่ี ีผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ มนอ ยทส่ี ุด ชว ยสรางความรูสกึ ทด่ี ใี หกับผูมาเยอื น สวนผูมาเยอื นกส็ ามารถ ใชท างเลอื กของถุงผา หรือตะกรามาจับจายหรือ นำภาชนะสำหรบั อาหาร และเครือ่ งดืม่ มาดว ยตนเองก็ได แวะ เยีย่ มชมกาดเปด ขาย แมบางรานจะมีหยดุ ขายไปบางสว น สนิ คา ท่นี ำมาขาย : สนิ คา พืน้ เมือง OTOP นำมาขายในราคาไมแ พง อาหาร ขนม ของกนิ เลน อาหารหวานคาว มีผา ซ่ินตนี จกสวย ๆ เวลาท่เี ปดเขา : เปดวนั เสาร-วันอาทติ ย และวนั หยุดนกั ขัตฤกษ เวลา 09.30-19.30 น.

40 รปู ภายในกาดวถิ ชี มุ ชน

41

42 ประวตั ิความเปนมาของหมู 15 บานไรต นมะมว ง โดยการบอกเลา ของคนทมี่ อี ายุเยอะ ชื่อ : นาย ทา ใสยจิตร อายุ 85 ป ส่ิงทีส่ ัมภาษณ : เดิมช่ือหมูบา นไรตน มะมว ง มมี ะมว งเยอะ หลายสายพันธุ มะมว งปา ตน ใหญมากในสมัยกอ น 3 คนโอบ มีมะมวงแกมแดงเลก็ มะมวงแกมแดงใหญ มตี น มะมว งกบั ตนมะขามเยอะแตสว นใหญจ ะเปนมะมวง ใน เมอื่ กอ นมะมว งลน มาก จงึ เปน ที่มาของคำที่เรียกวา บา นไรตน มะมวง แตพ อผใู หญข ำไดเขา มาดำรงตำแหนงเปน ผใู หญบา น ชวงนั้นมกี ารสรา งโรงเจ ในป พ.ศ.2500 ผูใหญขำจงึ ไดเ ปลย่ี นชือ่ เปนบา นไรโ รงเจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook