Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

Published by ห้องสื่อครูซับเวย์, 2021-05-28 04:29:14

Description: แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

Search

Read the Text Version

แบบวิเคราะหผ ูเรยี นรายบุคคล ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 ปก ารศึกษา 2563 นายเจรญิ ทรัพย ยาโนยะ ตำแหนง ครู โรงเรียนบานปรอผาโด อำเภออุมผาง จังหวดั ตาก สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ ตามหลกั การและจดุ มงุ หมายของหลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 และ พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดก ำหนดเปาหมายและทศิ ทางการปฏิรปู การศกึ ษา กระบวนการเรียนรูเ พ่อื พฒั นาคนไทย ใหเปนมนษุ ยท ส่ี มบูรณทัง้ รางกาย จิตใจ สตปิ ญ ญา ความรู คคู ณุ ธรรม โดยมีหลักการสำคัญของการจัดการศกึ ษา ประกอบดวย ผเู รยี นมีความสำคัญทีส่ ุด ผเู รยี นทกุ คนสามารถเรยี นรู และพฒั นาตนเองได สง เสรมิ ใหผูเรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติ และเตม็ ตามศกั ยภาพ ดังนนั้ ครผู สู อนซึ่งเปน ผูม ีบทบาทสำคัญเก่ียวกบั การจัดการเรยี นรู ใหผูเ รียนรูจ ัก แสวงหาความรู พัฒนาตนเอง คดิ เอง ปฏบิ ัตเิ อง เพื่อนำไปสูการสรางองคความรูดว ยตนเอง ตามความพึงพอใจ ตามความถนดั ตามความสนใจของแตละบุคคล การวิเคราะหผูเรยี นเพ่ือศึกษา ผเู รยี นเปนรายบุคคลจึงมีความจำเปนและสำคัญมาก ผูสอนจงึ ไดจ ดั ทำแบบวเิ คราะหผ ูเ รยี นเลม นี้ข้ึน เพอ่ื วิเคราะหผูเรยี นเปน รายบคุ คล กอนดำเนินการสอนในปการศึกษา …2564…. ขอ มูลจากการศึกษา วเิ คราะหผ เู รยี นในครั้งนม้ี ีความสำคัญและเปนประโยชนต อการจัดการเรยี นการสอนอยา งยิ่ง ลงช่ือ เจรญิ ทรัพย ยาโนยะ ( นายเจริญทรพั ย ยาโนยะ) ตำแหนง ครู

แบบวิเคราะหผเู รยี นเลมนจ้ี ัดทำขึ้น เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลสำหรับศกึ ษาวิเคราะห แยกแยะนักเรียน เพ่ือหาความแตกตา งระหวางบุคคล เก่ยี วกบั ความพรอมดา นความรพู น้ื ฐาน และประสบการณเดมิ ท่ีมีอยูกอน ทีจ่ ะใหผ ูเรียนไดรับการเรียนรูว ิชาหรอื กลมุ สาระการเรยี นรูใด ๆ ของแตล ะระดบั ช้ัน ตลอดท้งั ศึกษาวิเคราะหเกีย่ วกบั ความพรอ มดานพฤติกรรม และองคประกอบ ความพรอ มดานตา ง ๆ ดังนี้ 1. ดานความรู ความสามารถ และประสบการณ 2. ความพรอมดา นสติปญญา 3. ความพรอมดา นพฤติกรรม 4. ความพรอมดา นรา งกาย 5. ความพรอมดานสงั คม การวิเคราะหผูเรียนมีการดำเนินการ ดังน้ี 1. เกบ็ รวบรวมขอมลู ในวชิ าทตี่ อ งการวเิ คราะหจ ากครูคนเดมิ ในปก ารศึกษา ทผี่ า นมา หรือจัดสรางเครื่องมอื แบบทดสอบวชิ านน้ั ๆ ข้นึ ใหมแ ลวนำมาใชทดสอบผเู รยี นทุกคน 2. นำขอมลู มาศึกษาวิเคราะห หรอื แยกแยะตามความเปน จริง พรอมจดั กลมุ ผูเรียน ออกเปน กลมุ เกง กลุมปานกลาง (หรอื ผา นเกณฑ) และกลุมท่ีตองปรับปรุงแกไข 3. การวเิ คราะหผ เู รยี นจะพจิ ารณาทงั้ ความพรอมดานความรูความสามารถ สตปิ ญ ญา และความพรอมดา นอ่นื ๆ ของผูเรียนควบคูกันไปดว ย 4. สำหรับนกั เรียนทีม่ ีความพรอมต่ำกวา เกณฑท ่ีกำหนด ผูสอนจะรบี ดำเนนิ การ ปรบั ปรงุ แกไขใหมคี วามพรอ มดีขน้ึ กอน จงึ คอยดำเนนิ การจดั การเรียนรใู นระดับชัน้ ท่จี ะทำการสอน สว นความพรอมดา นอื่น ๆไดพ ยายามปรบั ปรงุ แกไ ขใหดขี ้นึ ในลำดบั ตอไป

แนวคิด วัตถุประสงค และขอบเขตของการวิเคราะหผ เู รยี น 1. แนวคดิ ในการวิเคราะหผ ูเรียน 1) การจัดการเรียนรใู หป ระสบความสำเร็จ มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสงู ผูเรียน ควรมคี วามพรอมทีด่ ีในทกุ ๆ ดาน ดังนน้ั กอ นจะเรมิ่ ดำเนินการสอนวิชาใด ๆ ควรมกี ารศึกษา วเิ คราะหผเู รียนเปนรายบุคคล เกยี่ วกับ - ความพรอมดา นความรู ความสามารถ ประสบการณ - ความพรอมดา นสตปิ ญญา - ความพรอมดา นรา งกาย - ความพรอมดา น สงั คม 2) กอนจะเริ่มดำเนินการจดั การเรยี นรวู ิชาใด ๆ ผสู อนควรศึกษาวเิ คราะหผ เู รียน ใหร ถู ึงความแตกตางระหวางบคุ คลในแตละดา น หากพบผเู รียนคนใดมีขอบกพรองดานใดควร ปรับปรุงแกไ ขใหมีความพรอมที่ดีขน้ึ กอน 3) การเตรียมความพรอม หรอื การแกไขขอบกพรอง สำหรบั นักเรยี นทยี่ งั ขาด ความพรอ มในดานใด ๆ ควรใชกิจกรรมหลาย ๆ แบบ หรอื ใชเ ทคนคิ วธิ ีการทเี่ หมาะสม จน ผเู รียนมีความพรอมดีขึ้น 2) วตั ถุประสงคการวเิ คราะหผ ูเรยี น 1) เพื่อศกึ ษา วเิ คราะห แยกแยะเกี่ยวกบั ความพรอมของผเู รียนในแตล ะดานเปน รายบุคคล 2) เพอื่ ใหครผู ูสอนรูจักนักเรียนเปนรายบคุ คล และหาทางชวยเหลอื ผูเ รยี นทม่ี ขี อ บกพรอ งใหม ีความพรอมทดี่ ีข้ึน 3) เพอื่ ใหผูส อนไดจัดเตรยี มการสอน สือ่ หรือนวัตกรรม สำหรบั ดำเนนิ การจดั การเรียนรแู กผเู รยี นไดสอดคลองเหมาะสม ตรงตามความตองการของผูเรียน มากยิ่งขนึ้ 3) ขอบเขตของการวเิ คราะหผ เู รยี น การวเิ คราะหผ เู รียนเพือ่ แยกแยะหาความแตกตา งระหวา งบุคคลในเรือ่ งตา ง ๆ ดงั ตอไปน้ี 1) ความรู ความสามารถ และประสบการณ (1) ความรพู น้ื ฐานของวชิ าทจี่ ะทำการสอนในระดับชั้นน้นั ๆ (2) ความสามารถในการแกปญ หา (3) ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู 2) ความพรอมดานสตปิ ญญา

(1) ความคดิ ริเรม่ิ สรา งสรรค (2) ความมเี หตุผล (3) ความสามารถในการเรียนรู / การลำดับความ 3) ความพรอมดานพฤติกรรม (1) การแสดงออก (2) การควบคมุ อารมณ (3) ความมงุ มั่น ขยันหมั่นเพียร อดทน (4) ความรับผิดชอบ 4) ความพรอมดานรางกายและจิตใจ (1) ดา นสขุ ภาพรา งกายสมบรู ณ (2) การเจรญิ เตบิ โตสมวัย (3) ความสมบรู ณดานสุขภาพจิต 5) ความพรอมดานสงั คม (1) การปรับตัวเขากับคนอน่ื (2) การชว ยเหลอื เสียสละ แบง ปน (3) การเคารพ ครู กตกิ า และมรี ะเบียบวินัย

1.การวเิ คราะหผูเ รียน แบบวเิ คราะหผเู รยี นรายบุคคล

แบบวเิ คราะหผ เู รยี นรายบคุ คล สำหรบั นกั เรยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 1. ชอ่ื – สกุล……………………………………………………วัน/เดอื น/ปเกิด……………………อายุ………..ป 2. ผลการเรียนในปการศึกษาท่ผี า นมา ระดับชน้ั ………… เกรดเฉล่ีย……………………………………… 3. ขอ มลู ดา นสขุ ภาพ นำ้ หนกั ………..กก. สว นสูง…………ซม. โรคประจำตัว…………………………. 4. ปจจุบนั พกั อาศัยอยูกับ………………ซง่ึ เปน ผปู กครอง ชื่อ – สกลุ ……………………………………………. 5. บา นเลขท่ี…………..หมูท …่ี …..ตำบล........... อำเภอ .................................. จังหวัด.......................... ผลการประเมิน ดี ปาน ปรับ สรปุ ผล ดาน รายการวเิ คราะหผ เู รยี น กลาง ปรุง การ การปรับปรงุ แกไข ที่ (3) (2) (1) ประเมิน 1 ดานความรู ความสามารถ ……………………………………… และ ประสบการณ ……………………………………… 1) ความรูพนื้ ฐาน …… …… …… ……………………………………… 2) ความสามารถในการแกป ญ หา …… …… …… ………………………… 3) ความสนใจ / สมาธใิ นการเรียน …… …… …… 2 ความพรอ มดา นสติปญ ญา ……………………………………… 1) ความคดิ รเิ ร่มิ สรา งสรรค ……. ……. ……. ……………………………………… 2) ความมีเหตุผล ……. ……. ……. …………………………………… 3) ความสามารถในการเรียนรู ……. ……. ……. 3 ความพรอมดา นพฤตกิ รรม ……………………………………… 1) กลาแสดงออก ……. ……. …… ……………………………………… 2) การควบคมุ อารมณ ……. ……. …… …………………………………… 3) ความมุงมน่ั ขยันหมั่นเพียร ……. ……. …… 4 ความพรอ มดานรา งกาย จติ ใจ ……………………………………… 1) สุขภาพรา งกายสมบูรณ ……… ……. ……. ……………………………………… 2) การเจริญเติบโตสมวัย ……… ……. …… …………………………………… 3) มสี ุขภาพจิตดี ……. …… 5 ความพรอ มดานสงั คม ……………………………………… 1) การปรบั ตวั เขา กับผูอ ่ืน …… …… …… ……………………………………… 2) การชว ยเหลอื เสยี สละ แบงปน …… …… …… …………………………………… 3) มีระเบียบวินัย เคารพกฎ กติกา …… …… ……

2. แบบสรุปผลการวเิ คราะห ผเู รยี น

แบบสรุปผลการวเิ คราะหผ เู รยี น ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ช้ัน มัธยมศึกษาปท ี่ 2 ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นบานปรอผาโด ดา น รายการวเิ คราะห ดี ปานกลาง ปรับปรงุ หมาย ที่ ผูเ รียน เหตุ จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ จำนวน รอ ยละ 1 ดา นความรู ความสามารถ และ ประสบการณทางภาษา 1) ความรูพ้ืนฐาน 2) ความสามารถในการแกป ญหา 3) ความสนใจ /สมาธใิ นการเรยี น 2 ความพรอ มดานสติปญ ญา 1) ความคดิ รเิ ริ่ม สรางสรรค 2) ความมีเหตุผล 3) ความสามารถในการเรียนรู 3 ความพรอมดา นพฤติกรรม 1) กลา แสดงออก 2) การควบคุมอารมณ 3) ความมุง ม่นั ขยนั หมนั่ เพยี ร 4 ความพรอมดานรางกาย จิตใจ 1) สขุ ภาพรางกายสมบรู ณ 2) การเจริญเตบิ โตสมวยั 3) มสี ขุ ภาพจติ ดี 5 ความพรอมดานสงั คม 1) การปรับตวั เขา กับผูอน่ื 2) การชว ยเหลอื เสียสละแบงปน 3) มีระเบียบวินัย เคารพกฎ กติกา ลงช่อื เจรญิ ทรัพย ยาโนยะ ครผู สู อน ( นายเจริญทรพั ย ยาโนยะ )

3. การสรา งเครือ่ งมือเพ่ือ การวิเคราะหผูเรียน

แนวทางในการสรางเครื่องมือเพอื่ วเิ คราะหผ ูเ รียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………… การสรา งเคร่ืองมือสำหรับนำมาทดสอบ หรือตรวจสอบผูเรียน เพื่อใชเ ปนขอมลู สำหรับวิเคราะห ผเู รียนถอื เปนเร่ืองท่มี ีความจำเปน และมีความสำคัญมาก ซง่ึ สามารถทำไดหลายแนวทาง แตใ นท่ีนี้ ผูสอน เลอื กปฏิบตั แิ บบงา ย ๆ 2 แนวทาง ดังน้ี แนวทางท่ี 1 นำผลการประเมินปลายปก ารศกึ ษาทผี่ านมา ตลอดทั้งขอมูลดานตาง ๆท่ีครู ไดเก็บรวบรวมไว นำมาวเิ คราะหแ ยกแยะตามเกณฑทก่ี ำหนดไว 3 ระดบั คอื ระดบั ท่ี 1 ตอ งปรับปรงุ แกไข ระดับท่ี 2 ปานกลาง (ผานเกณฑ) ระดับท่ี 3 ระดับดี – ดีมาก การดำเนินการแยกแยะขอมูลของนักเรยี นเปน รายบคุ คลในแตล ะดา น แลวนำมากรอกขอ มลู ลง ในแบบวิเคราะหผ เู รียนรายบุคคล จากน้ันไดป ระมวลผลขอมลู สรปุ กรอกลงในแบบสรปุ ผลการวเิ คราะหผ ูเ รียน เมือ่ ไดขอสรุปแลวนำไปกำหนดแนวทางในการแกไขนักเรยี นทค่ี วรปรบั ปรงุ เรอื่ งตา ง ๆ ในแตละดา นตอไป แนวทางท่ี 2 ครผู สู อนสรางเคร่ืองมอื หรือแบบทดสอบเอง ใหเ หมาะสมกบั เรื่องทีจ่ ะวเิ คราะห ผเู รยี นในแตล ะดาน เชน การวัดความรูความสามารถ หรือความพรอ มดา นสตปิ ญ ญา ควรใชแบบทดสอบ สว นการตรวจสอบความพรอมพฤติกรรม ดา นรา งกายและจิตใจ ดานสงั คม ควรใชแบบสงั เกต หรือแบบ สอบถาม การสรา งเครือ่ งมือเพอื่ วิเคราะหผ ูเรียน ยดึ หลกั ทสี่ ำคัญ ดงั ตอ ไปน้ี 1) ควรใหค รอบคลมุ สาระหลัก ๆ ที่จะเรยี นรู หรอื ครอบคลมุ พฤติกรรมดานตา ง ๆ ของผเู รียน 2) สอดคลองกบั ประเด็นทจี่ ะวดั หรอื ประเมนิ ผเู รียนในแตละดาน 3) กำหนดเกณฑใหชดั เจน เชน - ตอบไดถ ูกตองหรอื มตี ามหัวขอ ประเมนิ นอ ยกวา รอยละ 40 ตอ งปรบั ปรงุ แกไ ข - ตอบไดถ ูกตองหรอื มตี ามหัวขอประเมนิ รอยละ 40 – 60 ปานกลาง - ตอบไดถ ูกตองหรอื มีตามหัวขอ ประเมิน รอยละ 70 ข้นึ ไป ไดร ะดบั ดี 4) การวัดหรือการทดสอบผเู รียนควรดำเนนิ การกอนทำการสอน เพื่อผสู อนนำผลสรุปการวิเคราะห ไปวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู เพือ่ ชวยเหลือ หรอื สง เสรมิ นักเรยี นไดอยา งเหมาะสม

ภาคผนวก

บันทึกขอความ สวนราชการ โรงเรียนบานปรอผาโด ที่ ……../………. วันท่ี ............เดอื น....................... พ.ศ. .......................... เรอ่ื ง รายงานผลการวิเคราะหผ ูเ รียน ……………………………………………………………………………………………………………………….. เรยี น ผูอำนวยการโรงเรียนบานรามนั สิ่งทสี่ งมาดว ย แบบสรุปผลการวิเคราะหผเู รียน 1 ฉบับ ดว ย ในปการศกึ ษา 2563 น้ี ขา พเจา นายเจริญทรัพย ยาโนยะ ครู วทิ ยฐานะ - โรงเรยี นบานปรอผา โด ไดรับมอบหมายใหสอนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปท่ี 2 กลุมสาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ซ่ึงมีจำนวนนักเรียนท้ังหมด 24 คน ในการวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเหมาะสมและชวยเหลือผูเรียนไดดีนั้น จำเปนอยา งยิ่ง ทผ่ี ูสอนจะตองทำการวิเคราะหผเู รียนเพื่อทราบปญหา และความสามารถของแตล ะบุคคล ดงั นน้ั ขาพเจาจงึ ไดทำการวิเคราะหผ เู รียน โดยใชแบบประเมนิ ผเู รยี นในดานตาง ๆ สรุปผลและ รายงานเพ่ือทราบ (ลงชอื่ )………………………………….. (นายเจรญิ ทรัพย ยาโนยะ) ตำแหนง ครู ความคดิ เหน็ ผบู รหิ าร/ผทู ี่ไดรับมอบหมาย ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. (ลงชือ่ ) ................................................... (นายไมตรี ศิรบิ ุญรอด) ตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นปรอผาโด

สรุปผลการวิเคราะหผเู รยี น ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 โรงเรียนบานปรอผาโด …………………………………………………………………………………………………………….. จากตารางสรปุ ผลการวิเคราะหผูเรยี น ชน้ั ม.2 จำนวน 24 คน ปรากฏวานกั เรยี น สว นมากของชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 2 อยใู นระดบั ดี ครผู สู อนไดน ำขอ มูลการวิเคราะหผ เู รยี น มาจดั แบงกลุมผูเรยี น ออกเปน 3 กลุม โดย พิจารณา จากเกณฑม ีความรู ความสามารถ และประสบการณท างภาษา ความพรอมดานสตปิ ญญา เพือ่ ใชเ ปนขอมลู ในการวางแผนการสอนใหเหมาะสมกบั สภาพความแตกตางของผเู รียน ดังนี้ 1. กลุมเกง มี ..4.... คน ดังน้ี --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. กลุมปานกลาง มี ......... คน ดังนี้ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 3. กลุมท่ีตองปรับปรุงแกไ ข มี ...... คน ดังนี้ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ลงช่ือ ( นายเจริญทรัพย ยาโนยะ ) ตำแหนง ครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook