แผนอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ.2558–2579 (Energy Efficiency Plan; EEP 2015)
สรปุ สาระสาคญั แผนอนุรกั ษ์พลงั งาน พ.ศ. 2558 – 2579 (Energy Efficiency Plan; EEP 2015) 1. ความเป็นมา การประชุมผู้นากลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (APEC) ระหว่าง วันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2554 ทฮี่ อนโนลลู ู ประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้นา APEC ทั้ง 21 เขตเศรษฐกิจรวมถึงประเทศไทยได้ ประกาศปฏิญญาในเร่ืองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความมั่นคงทางพลังงานและการพัฒนาพลังงาน สะอาด (APEC Leaders’ Declaration on Climate Change, Energy Security and Clean Development) โดยประกาศเจตจานงของ APEC ในการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีเป้าหมาย ร่วมที่จะลดอัตราส่วนของปริมาณพลังงานท่ีใช้ต่อผลของกิจกรรมหรือลดความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity, EI) ลงอย่างน้อยร้อยละ 45 ภายในปี พ.ศ. 2578 (ค.ศ. 2035) โดยมีสัดส่วนที่ประเทศพึงจะ สามารถมีส่วนร่วมได้ประมาณร้อยละ 26-30 ท้ังน้ีเป็นการประมาณการเบื้องต้นจาก Asia Pacific Energy Research Centre หรือ APERC กระทรวงพลังงานจึงเริ่มใช้ดัชนีความเข้มการใช้พลังงาน (EI) หรือพลังงานท่ีใช้พันตันเทียบเท่า น้ามันดิบ (ktoe) ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross domestic product; GDP; billion baht) เป็นแนวทางกาหนดนโยบายและจัดทาแผนอนรุ ักษ์พลงั งานในระยะยาวของประเทศไทย และคณะรัฐมนตรีใน การประชมุ เมอื่ วันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ไดเ้ หน็ ชอบเป้าหมายการลด EI ลงร้อยละ 25 ในปี พ.ศ. 2573 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2548 หรือเทียบเท่าการลดการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (Final Energy) ลงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2573 หรือประมาณ 30,000 พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe) ซ่ึงต่อมาภายหลังการเปล่ียนแปลงรัฐบาลในปี พ.ศ. 2554 คณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่ือ 27 ธันวาคม 2554 ได้กาหนดเป้าหมายการลด EI ลงร้อยละ 25 ในปี พ.ศ. 2573 เมอ่ื เทียบกับปี พ.ศ. 2553 หรือเทียบเท่าการลดการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายลงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2573 หรอื ประมาณ 38,200 ktoe นอกจากนั้น ประเทศภาคีสมาชิกอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ได้มีข้อตกลงว่าด้วยการให้ทุกประเทศแสดงเจตจานงในการลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของ ประเทศ (Nationally Appropriate Mitigation Actions: NAMAs) และประเทศไทยในการประชุม UNFCCC สมัยที่ 20 (COP20) เม่ือเดือนธันวาคม 2557 ณ กรุงลิมา สาธารณรัฐเปรู ได้เสนอเป้าหมายในปี พ.ศ. 2563 ที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคขนส่งและภาคพลังงานให้ได้ร้อยละ 7-20 จากปริมาณท่ี ปล่อยในปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) ซ่ึงเป็นไปตามกรอบแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2557-2593 จัดทาโดยสานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดล้อม (สผ.) และได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการนโยบายการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ ซึ่งมีพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเปน็ ประธาน เมือ่ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 -1-
ในปี พ.ศ. 2558 จากแนวโน้มการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของไทย และแผนการลงทนุ โครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านขนส่งตามนโยบายรัฐบาล (นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) รวมท้ังการเตรียมการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) จะส่งผลต่อการใช้พลังงานของ ประเทศไทยโดยรวม ดังนั้น กระทรวงพลังงานจึงบูรณาการแผนพลังงาน 5 แผนหลัก ได้แก่ (1) แผนพัฒนา กาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP) (2) แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP) (3) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก (AEDP) (4) แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย และ (5) แผนบริหารจัดการน้ามัน เชือ้ เพลงิ กระทรวงพลังงานได้ทบทวนค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานข้ันสุดท้ายในอนาคต ซึ่งเป็นการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ เช่น น้ามันสาเร็จรูป ไฟฟ้า เป็นต้น และพลังงานทดแทน เช่น ไม้ฟืน แกลบ พลังน้า เป็นต้น ซง่ึ ณ ปี พ.ศ. 2579 อยู่ทรี่ ะดบั 187,142 ktoe และกาหนดเป้าหมายภายใต้กรอบแผนอนุรักษ์พลังงานในช่วงปี พ.ศ.2558-2579 ท่ีจะลดความเข้มการใช้พลังงานลงร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 เม่ือเทียบกับปี พ.ศ. 2553 หมายถึงต้องลดการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ให้ได้ท้ังสิ้น 56,142 ktoe ของปริมาณการใช้พลังงานข้ันสุดท้าย ท้งั หมดของประเทศในปี พ.ศ. 2579 2. สาระสาคญั ของการจดั ทาแผน ในช่วงระยะส้ันถึงปานกลางมีการพยากรณ์ว่าราคาน้ามันในตลาดโลกน่าจะอยู่ในระดับ ที่ต่ากว่า 50 เหรียญสหรฐั ต่อบาร์เรล ดังนัน้ กระทรวงพลงั งาน จงึ เหน็ ว่าเปน็ โอกาสเหมาะที่จะยกระดับความเข้มข้นของ การขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงาน จึงมีความจาเป็นที่จะต้องปรับปรุงแผนเดิม (พ.ศ. 2554-2573) ให้มี ความเหมาะสมมากยิง่ ขึ้น 2.1 สมมติฐานท่ีใช้ในการจัดทาแผนอนุรักษ์พลังงานได้บูรณาการกับอีก 4 แผนหลักของกระทรวง พลังงาน ได้แก่ (1) แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (2) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก (3) แผนการจดั หาก๊าซธรรมชาติของไทย และ (4) แผนบริหารจัดการน้ามันเช้ือเพลิง โดยสมมติฐาน การคาดการณ์ความตอ้ งการพลงั งานในอนาคต ประกอบด้วย (1) อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์ การจัดทาแผนเดมิ การจดั ทาแผนใหม่ มวลรวมของประเทศ (GDP) พ.ศ.2554-2573 พ.ศ.2558-2579 เฉลีย่ รอ้ ยละ 4.3 ต่อปี เฉล่ยี รอ้ ยละ 3.94 ต่อปี (2) อตั ราการเพ่มิ ของประชากร เฉลี่ยร้อยละ 0.3 ตอ่ ปี เฉลี่ยร้อยละ 0.03 ตอ่ ปี (3) แบบจาลองท่ีพัฒนาข้ึนใช้ข้อมูล ปี พ.ศ. 2533 - ปี พ.ศ. 2553 ปี พ.ศ. 2537 - ปี พ.ศ. 2556 สถติ ยิ ้อนหลังจาก โดยใช้ ปี พ.ศ. 2553 เป็นปฐี าน โดยใช้ ปี พ.ศ. 2553 เปน็ ปีฐาน 2.2 กาหนดเปา้ หมาย 2.2.1 ลดความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity; EI) ลงร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 (ค.ศ. 2036) เม่อื เทียบกบั ปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) 2.2.2 ตระหนกั ถึงเจตจานงของ APEC มีเป้าหมายร่วมในการลด EI ลงร้อยละ 45 ในปี พ.ศ. 2578 เม่ือเทียบกับปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) โดยมุ่งเน้นสัดส่วนท่ีประเทศไทยจะ สามารถมีส่วนร่วมได้เป็นหลกั -2-
2.2.3 ตระหนักถึงเจตจานงของ UNFCCC ในการประชุม COP 20 ท่ีประเทศไทยได้เสนอ เปา้ หมาย NAMAs ในปี พ.ศ. 2563 จะลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกในภาคขนส่งและ ภาคพลังงานให้ได้ร้อยละ 7-20 จากปริมาณท่ีปล่อยในปี พ.ศ. 2548 ในภาวะปกติ (สาหรับกรณีทไ่ี ม่ได้รับความชว่ ยเหลือจากชาตอิ ่ืน) 2.3 กาหนดยุทธศาสตร์และแนวทางส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานของประเทศท้ังระยะส้ัน 1-2 ปี ระยะกลาง 5 ปี และระยะยาว 22 ปี มีเป้าหมายใน 4 ภาคเศรษฐกิจท่ีมีการใช้พลังงานมาก ได้แก่ ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาคบา้ นอยอู่ าศัย 3. ยุทธศาสตร์ในการขับเคลอ่ื นแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ กระทรวงพลังงานได้ทบทวนแผนอนุรักษ์พลังงาน ในช่วงปี พ.ศ. 2554-2573 โดยจัดสัมมนารับฟัง ความคิดเหน็ ทัว่ ประเทศรวม 4 ครั้ง และนาทุกความเหน็ ทไ่ี ด้รบั มาปรับปรุงและจัดทาเป็นแผนอนุรักษ์พลังงาน ในช่วงปี พ.ศ. 2558-2579 ท่ียังคงใช้มาตรการผสมผสานทั้งการบังคับ (Push) ด้วยมาตรการกากับดูแลผ่าน พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และ พ.ศ.2550 (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) ควบคู่กับ การจูงใจ (Pull) ด้วยมาตรการทางการเงินโดยการสนับสนุน ช่วยเหลือ อุดหนุนจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการ อนุรักษพ์ ลงั งาน จากมาตรการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการใช้พลังงานท่ีมีท้ังหมด 34 มาตรการ ซ่ึงนอกจากนโยบายหลักของ รัฐบาลในการยกเลิก/ทบทวนการอุดหนุนราคาพลังงานเพื่อส่งสัญญาณให้ผู้บริโภคตระหนักเรื่องราคาเป็นไป ตามกลไกตลาดแล้ว กระทรวงพลังงานได้ดาเนินการใน 4 กลุ่มเศรษฐกิจ คือ (1) ภาคอุตสาหกรรม (2) ภาค อาคารธุรกิจ อาคารของรัฐ (3) ภาคบ้านอยู่อาศัย และ (4) ภาคขนส่ง โดยปรับทิศทางด้วยการพิจารณา มาตรการท่สี ามารถเหน็ ผลได้เชิงประจกั ษใ์ น 3 กลยทุ ธ์ 10 มาตรการ ในการขับเคลอื่ นแผนสกู่ ารปฏบิ ัติ ได้แก่ (1) กลยทุ ธภ์ าคบงั คบั (Compulsory Program) (1.1) มาตรการบังคับใช้ พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2550 กากับอาคาร/ โรงงานที่ติดต้ังหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดตั้งแต่ 1,000 kW หรือ 1,175 kVA ขึ้นไป หรือใช้ ไฟฟา้ จากระบบความร้อนจากไอน้าหรอื พลังงานสิ้นเปลืองอื่นต้ังแต่ 20 ล้านเมกะจูลข้ึนไป จานวน 7,870 อาคาร และ 11,335 โรงงาน และอาจนามาตรการชาระค่าธรรมเนียม พิเศษการใช้ไฟฟ้ามาบังคับใช้ จะลดความต้องการใช้พลังงานลงร้อยละ 28 คิดเป็นไฟฟ้า 1,674 ktoe คดิ เปน็ ความรอ้ น 3,482 ktoe (1.2) มาตรการกาหนดมาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารใหม่ (Building Code) จานวน 4,130 อาคาร โดยประสานร่วมมือกับกระทรวงอุตสาหกรรม และมหาดไทย จะลดความต้องการ ใช้พลังงานลงร้อยละ 36 ของความต้องการใช้พลังงานในอาคารใหม่ คิดเป็นไฟฟ้า 1,166 ktoe รวมทั้งดาเนินการส่งเสริมมาตรฐานขั้นสูง ให้มีมาตรการสนับสนุนเพื่อยกระดับ อาคารที่ก่อสร้างใหม่ให้ได้ระดับการประเมินมาตรฐานอาคารเขียวในระดับสากล เช่น มาตรฐาน LEED หรือมาตรฐาน TREES ของสถาบันอาคารเขียวไทย เปน็ ต้น -3-
(1.3) มาตรการกาหนดตดิ ฉลากแสดงประสิทธิภาพการใช้พลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า 22 อุปกรณ์ และอุปกรณ์ความร้อน 8 อุปกรณ์ จะลดความต้องการใช้พลังงานในอุปกรณ์แต่ละประเภท ได้ร้อยละ 6-35 คิดเป็นไฟฟา้ 2,025 ktoe คดิ เป็นความร้อน 2,125 ktoe (1.4) มาตรการกาหนดให้ผู้ผลิตหรือผู้ใหบ้ รกิ ารด้านไฟฟา้ จะตอ้ งช่วยให้ผู้ใช้บริการหรือผู้ใช้ไฟฟ้า เพิ่มประสทิ ธิภาพในการใช้ไฟฟ้า Energy Efficiency Resource Standard (EERS) จะลด ความต้องการใชพ้ ลงั งานลงรอ้ ยละ 0.3 โดยที่ไมล่ ดผลผลติ คดิ เป็นไฟฟา้ 500 ktoe (2) กลยุทธภ์ าคความร่วมมือ (Voluntary Program) (2.1) มาตรการช่วยเหลือ อุดหนุนด้านการเงิน เพ่ือเร่งให้มีการตัดสินใจลงทุนเปล่ียนอุปกรณ์ และเกดิ การบริหารจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ จะลดความต้องการใช้พลังงานลง ร้อยละ 10-30 คิดเป็นไฟฟ้า 1,285 ktoe คิดเป็นความร้อน 8,234 ktoe โดยมีรูปแบบ การสนับสนุน เช่น - ผ่านองค์กรหรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนท่ีดาเนินธุรกิจเก่ียวกับการพัฒนา โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบครบวงจร (Turnkey) ที่เข้ามาช่วยรับภาระความเส่ียง (Risk Retention) การลงทุนและดาเนินการแทนเจ้าของกิจการ หรือท่ีเรียกว่า Energy Service Company; ESCO - เป็นเงินลดภาระดอกเบี้ยเงินกู้ เช่น เงินกู้อัตราดอกเบ้ียต่า (Soft Loan) เงินทุน หมุนเวียน (Revolving funds) การร่วมทุน (Joint Venture) เป็นเงินให้เปล่า (Grant) เป็นตน้ (2.2) มาตรการส่งเสริมการใช้แสงสว่างเพื่ออนุรักษ์พลังงาน โดยเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าแสงสว่างใน อาคารภาครัฐ 2 ลา้ นหลอด และทางสาธารณะ 3 ล้านหลอด เป็น Light Emitting Diode (LED) นอกจากจะลดความต้องการใช้พลังงานลงร้อยละ 50 คิดเป็นไฟฟ้า 928 ktoe ตลอดจนการสร้างตลาด LED ทาให้ราคาถกู ลงจนประชาชนสามารถซือ้ ไปใช้ไดแ้ พร่หลาย (2.3) มาตรการอนรุ กั ษ์พลังงานภาคขนสง่ - กากบั ราคาเชอื้ เพลิงในภาคขนส่งให้สะท้อนต้นทุนท่ีแท้จริง ส่งผลให้ผู้บริโภคตระหนัก เร่ืองราคาพลังงานและเปล่ียนลักษณะการใช้พลังงาน คิดเป็นพลังงานที่ลดลง 456 ktoe - สนับสนุนนโยบายของกระทรวงการคลังในการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ท่ีจะเริ่มจัดเก็บตามปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จะลดความต้องการใช้ พลังงานลงร้อยละ 27 คดิ เปน็ 13,731 ktoe - เพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งน้ามันของประเทศ โดยพัฒนาระบบขนส่งน้ามันทางท่อ จะช่วยลดการใชน้ า้ มันไดป้ ระมาณ 40 ล้านลติ รต่อปี หรือคดิ เป็น 34 ktoe - สนับสนุนนโยบายและแผนงานของกระทรวงคมนาคมในการพัฒนาระบบโครงสร้าง พ้นื ฐานการจราจรและขนส่งโดยเฉพาะการเปลี่ยนล้อเป็นราง ท่ีจะลดความต้องการใช้ พลังงานลงรอ้ ยละ 78 คิดเปน็ 9,745 ktoe -4-
- ศึกษา วางแผน และดาเนินการรองรับการใช้ยานยนต์พลังงานไฟฟ้า จะลดความ ต้องการใชพ้ ลังงานลง 1,123 ktoe - กระทรวงพลังงานจะช่วยเหลือผปู้ ระกอบกจิ การขนสง่ - ด้านวิศวกรรมเพอื่ ลดต้นทุนการขนส่ง เช่น การเปลี่ยนอุปกรณ์ การปรับปรุงรถ การเลือกใชย้ างรถยนต์ การจดั การรถเที่ยวเปล่า ฯลฯ ซ่ึงจะลดความต้องการใช้ พลงั งานลงรอ้ ยละ 10-12 คิดเปน็ 3,633 ktoe - ด้านพฒั นาบุคลากรในการขับขี่เพื่อการประหยัดพลังงาน (ECO Driving) ซึ่งจะ ลดความต้องการใช้พลงั งานลงรอ้ ยละ 25 คดิ เปน็ 1,491 ktoe (2.4) มาตรการส่งเสริมการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีอนุรักษ์พลังงาน การป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิง่ แวดลอ้ มจากการอนรุ กั ษ์พลังงาน และการกาหนดนโยบายและวางแผนพลงั งาน (3) กลยทุ ธส์ นับสนนุ (Complementary Program) (3.1) มาตรการสนับสนนุ การพัฒนาบคุ ลากร และสร้างกาลังคนด้านพลงั งาน (3.2) มาตรการสนับสนุนการรณรงค์สร้างจิตสานึกใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า และเปลี่ยน พฤติกรรมการใชพ้ ลงั งาน โดยมกี รอบแผนอนุรักษ์พลงั งาน ในชว่ งปี พ.ศ. 2558-2579 ดังนี้ -5-
กรอบแผนอนุรักษ์พลงั ง 1. มาตรการการจดั การโรงงานและอาคารควบคุม แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนินการ ปัจจุบันมีโรงงานควบคุม 5,285 โรงงาน และ การกากบั ดแู ล การสง่ เสรมิ ประกอบดว้ ย อาคารควบคุม 3,008 อาคาร มีการใช้พลังงาน 1. กากับดูแลให้โรงงานควบคุมและอาคารคว 21,430 ktoe และ 1,144 ktoe ตามลาดับ จากการ ระบบจัดการพลังงานเป็นไปตามมาตรฐาน ประเมินในปี 2579 จะเพิ่มจานวนเป็น 11,300 2. พัฒนาระบบให้มีผู้ตรวจสอบและรับรอง โรงงาน และ 6,100 อาคาร มีการใช้พลังงาน การพลงั งาน 41,600 ktoe และ 3,500 ktoe 3. ข้ึนทะเบียน และอบรมพัฒนาผู้รับผิดชอ แนวทางดาเนินการ กากับดูแลให้มีระบบจัด พลังงาน การพลังงานเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดอย่าง 4. พฒั นารูปแบบการกากบั ดแู ล และแก้ไขกฎร เข้มขน้ มกี ารตดิ ตามอยา่ งเป็นระบบ และส่งเสริมให้ และกฎหมาย โรงงานและอาคารยกระดับประสิทธิภาพการผลิต 5. การพัฒนาระบบการติดตาม มีระบบสาร และการใช้พลังงานไดด้ ว้ ยตวั เองอยา่ งตอ่ เน่ือง ฐานขอ้ มูล และดชั นีช้วี ดั ประสิทธิภาพพลังงาน 6. เตรียมนาระบบ “ค่าธรรมเนียมพิเศษ” มาประ กับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมท่ีไม่สาม การใช้พลงั งานตามเป้าหมายท่กี าหนดขึ้นเองได 7. คาดว่าจะเกิดการลงทุนของโรงงาน และ ควบคุม รวม -6
งาน พ.ศ. 2558-2579 หน่วยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ลา้ นบาท) (ktoe) พพ./ ภาครฐั เอกชน รวม สนพ./ 5,156 วบคุมมี สกพ. 4,767 4,767 งการจัด 55 อ บด้ า น 170 170 ระเบียบ 20 20 รสนเทศ 41 41 นรองรับ ะยุกต์ใช้ 38,672 38,672 มารถลด 5,156 5,002 38,672 43,674 ด้ ะอาคาร 6-
2. มาตรการใชเ้ กณฑ์มาตรฐานอาคาร แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนนิ การ ปัจจุบนั การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอนุรักษ์พลังงาน การกากับดแู ลการบงั คับใชก้ ฎหมายอนรุ กั ษ์พลังง กับอาคารสร้างใหม่ท่ีมีขนาดใหญ่ (พื้นที่ใช้สอย อาคารสร้างใหมท่ ี่มขี นาดใหญ่ และสง่ เสริมอาคาร มากกว่า 2,000 ต.ร.ม.) เพ่ือให้ออกแบบตาม กอ่ สรา้ งใหมใ่ ชเ้ กณฑม์ าตรฐานอาคาร มาตรฐาน BEC ที่กฎกระทรวงกาหนด พพ. ได้ ประกอบดว้ ย เตรียมความพร้อมรองรับการดาเนินการเรียบร้อย 1. บังคับใช้กฎหมายให้อาคารก่อสร้างให แล้ว โดยรอการกาหนดให้มาตรฐาน BEC เป็นหนึ่ง กระทรวงพลังงานกาหนด (อาคารสร้างใหม ในข้อบังคับใช้ในการขออนุญาตก่อสร้างร่วมกับ เติม เกิน 2000 ตรม.) ผ่านศูนย์ประสานง พ.ร.บ. ควบคมุ อาคารของกรมโยธาธิการฯ ออกแบบอาคารเพ่ือการอนรุ ักษ์พลังงาน แนวทางดาเนินการ จึงเป็นการประสานให้ 2. ส่งเสริมอาคารก่อสรา้ งใหมด่ าเนินการตามกร กรมโยธาธิการฯ กาหนดให้มาตรฐาน BEC เป็นหน่ึง พลงั งานกาหนด ในข้อบังคบั ใชใ้ นการขออนญุ าตกอ่ สร้าง พร้อมกับใช้ 3. ริเริ่มมาตรการสนับสนุนให้อาคารใหม่ได มาตรการส่งเสริมอาคารก่อสร้างใหม่ใช้เกณฑ์ ประเมินมาตรฐานอาคารเขียวในระดับสาก มาตรฐานอาคาร (BEC) รวมท้ังส่งเสริมมาตรฐานขั้นสูง LEED หรอื TREES ให้มีมาตรการสนับสนุนเพ่ือยกระดับอาคารท่ี 4. ส่งเสริมการก่อสร้างอาคาร NET ZERO E กอ่ สรา้ งใหมใ่ ห้ไดร้ ะดบั การประเมนิ มาตรฐานอาคาร BUILDING เขียวในระดับสากล เช่น มาตรฐาน LEED หรือ 5. คาดว่าจะเกิดการลงทุนเพ่ิมเติมในการก มาตรฐาน TREES ของสถาบนั อาคารเขยี วไทย อาคารใหม่ตามเกณฑ์มาตรฐานอาคาร รวม -7
หน่วยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ลา้ นบาท) (ktoe) ภาครฐั เอกชน รวม งานกับ ร 1,166 ห ม่ ต า ม พพ./ 195 195 ม่หรือต่อ สนพ./ งานการ ยผ. 4,506 4,506 ระทรวง 55 55 104,953 104,953 ด้รับการ กล เช่น 1,166 4,756 104,953 109,709 ENERGY ก่อสร้าง 7-
3. มาตรการใชเ้ กณฑม์ าตรฐานและติดฉลากอปุ กรณ์ แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนินการ ปัจจุบันมีการจัดทามาตรฐานประสิทธิภาพ ดาเนินการทาโดยกาหนดเกณฑม์ าตรฐานประสิท พลังงานของเครื่องจักรอุปกรณ์แล้ว 57 ผลิตภัณฑ์ พลังงานของอุปกรณ์ และตดิ ฉลากอย่างตอ่ เนื่อง และได้นามาตรฐานมาใช้เป็นเกณฑ์ของฉลาก กบั เพิ่มรายการผลติ ภณั ฑต์ ดิ ฉลากขั้นสงู เบอร์ 5 แ ประหยดั พลงั งานจานวน 27 ผลิตภณั ฑ์ ได้แก่ ปรบั ปรุงเกณฑ์เพ่อื ยกระดับใหส้ ูงขนึ้ ประกอบด้ว - กฟผ. ติดฉลากเบอร์ 5 อุปกรณ์ไฟฟ้า 1. ส่งเสริมเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุเพ จานวน 19 ผลติ ภัณฑ์ อนุรกั ษพ์ ลงั งานโดยการติดฉลากตอ่ เนื่อง - พพ. ติดฉลากเบอร์ 5 อุปกรณ์ความร้อน อุปกรณไ์ ฟฟ้า โดย กฟผ. จานวน 8 ผลิตภณั ฑ์ อุปกรณ์ความร้อน โดย พพ. แนวทางดาเนินการ เป็นการยกระดับเกณฑ์ 2. เพ่ิมรายการเคร่ืองจักร อุปกรณ์ และวัสดุเ ประสิทธภิ าพพลังงานของการติดฉลากเบอร์ 5 เพ่ือ อนุรักษ์พลังงานโดยการติดฉลาก และทบท ส่งเสริมใหผ้ ผู้ ลิตและจาหน่ายพฒั นาผลิตภัณฑ์อย่าง ยกระดบั เกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพพลังง ต่อเนื่อง โดยเน้นอุปกรณ์หลักท่ีใช้พลังงานร้อยละ อุปกรณ์ 70 ของการใช้ภายในบ้าน ได้แก่ เคร่ืองปรับอากาศ 3. คาดว่าจะเกิดการลงทุนเพ่ิมเติมในการป ตู้เย็น หลอดไฟ เตาแก๊ส และยงั รวมไปถึงเครอื่ งยนต์ อุปกรณ์ ขนาดเล็ก และเพิม่ รายการผลิตภัณฑ์ติดฉลากขั้นสูง เบอร์ 5 ในอุปกรณ์ท่ีมีผลกระทบด้านพลังงานสูง เช่น ยางรถยนต์ เปน็ ตน้ รวม -8
หน่วยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ล้านบาท) (ktoe) กฟผ./ ภาครัฐ เอกชน รวม พพ./ 4,150 ทธิภาพ สมอ. พรอ้ ม 753 753 และ วย 403 403 พ่ือการ 235,644 235,644 เพ่ือการ ทวนและ งานของ ปรับปรุง 4,150 1,156 235,644 236,800 8-
4. มาตรการบังคบั ใช้เกณฑม์ าตรฐานการประหยัดพลังงานสาหรบั ผผู้ ลิตและจาหน่ายพลงั งาน (EER แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนนิ การ เป็นมาตรการที่กาหนดให้ผู้ผลิตหรือผู้ ดาเนินการมาตรการบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐ ให้บริการด้านไฟฟ้าจะต้องช่วยให้ผู้ใช้บริการหรือ ประหยัดพลังงานสาหรับผู้ผลิตและจาหน่ายพ ผู้ใช้ไฟฟ้าเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช้ไฟฟ้า Energy (EERS) ประกอบด้วย Efficiency Resource Standard (EERS) และเป็น 1. พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานการประหยัดพลัง มาตรการใหมย่ งั ไม่เคยดาเนินการในประเทศไทยมา ผู้ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้าต้องดาเ ก่อน จาเป็นต้องมีการศึกษารูปแบบกลไกที่ อนุรักษพ์ ลังงานให้กบั ลกู ค้าของตนเองหรอื ต เหมาะสมในการนามาประยุกต์ใช้กับประเทศไทย มกี ารกาหนดข้อตกลงกนั และกาหนดระบบกลไกตรวจสอบติดตามท่ี 2. พัฒนากฎหมายรองรับการดาเนินการตาม เหมาะสม เพ่ือใช้ดาเนินการต่อเน่ือง และเป็นกลไก มาตรฐานการประหยดั พลังงานฯ ทีส่ าคัญของแผนในระยะถัดไป 3. กากับให้ผู้ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ ดาเนนิ การ อนรุ ักษ์พลงั งานให้กับลูกค้าของต 4. คาดวา่ จะเกิดการลงทุนในการปรบั ปรงุ อุปกร รวม -9
RS) หน่วยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ล้านบาท) (ktoe) านการ สนพ./ ภาครัฐ เอกชน รวม พลังงาน พพ./ 500 สกพ./ งงานให้ กฟผ./ 278 278 นินการ กฟภ./ ตามที่จะ กฟน./ ปตท. มเกณฑ์ 13,509 31,520 45,029 ฟ้ า ต้ อ ง ตนเอง รณ์ 500 13,787 31,520 45,307 9-
5. มาตรการสนับสนนุ ดา้ นการเงนิ แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนนิ การ ส่งเสริมการดาเนินการอนุรักษ์พลังงานด้วย ดาเนินการส่งเสริมด้านการเงิน 2 รูปแบ การอดุ หนุนการลงทุนปรับปรุงเครอื่ งจักรอุปกรณ์ให้ 1) รูปแบบเงินหมุนเวียน 2) เงินอุดหนุนบ ประหยัดพลังงาน โดยพัฒนาการอุดหนุนผล ประกอบด้วย ประหยัดให้เปน็ รปู แบบทีอ่ งิ ตามปรมิ าณผลประหยัด 1. อุดหนุนผลประหยัดในเคร่ืองจักรและอ ที่เกิดข้ึนจริง (Performance Base) มากข้ึน จาก มาตรฐาน (SOP) เดมิ ทอ่ี ุดหนุนตามปรมิ าณการลงทนุ (Cost base) 2. อุดหนุนผลประหยัดโดยวิธีประกวดราคา ขยายกลุ่มเป้าหมายไปสู่ ภาคที่อยู่อาศัย และ Bidding) ภาคขนส่ง และเพ่ิมการสนับสนุนกลุ่มเป้าหมายท่ี 3. เงินหมุนเวียนดอกเบ้ียต่า (Soft loan) เ เจาะจง (การนาความร้อนท้ิงกลับมาใช้) และเน้นการ อนรุ ักษพ์ ลังงาน เพิ่มระดับการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิต และปรับ 4. เงนิ ทุนหมุนเวยี นเพอ่ื การอนุรักษ์พลังงานโดย รูปแบบโปรแกรมให้เป็นแบบต่อเน่ืองช่วงละ 3 ปี แทน จัดการพลังงาน (ESCO Revolving Fund) แบบเดิม (ปตี อ่ ป)ี 5. การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี (Tax Ince ดาเนินการอุดหนุนในเครื่องจักรและอุปกรณ์ เพ่อื การอนรุ กั ษ์พลงั งาน มาตรฐาน ควบคู่กบั เทคโนโลยี หรอื อปุ กรณท์ ีไ่ มเ่ ป็น 6. คาดวา่ จะเกิดการลงทุนในการปรบั ปรงุ อุปกร มาตรฐาน เพื่อให้สามารถปรับรายการอุปกรณ์ที่จะ สนบั สนุนได้ ทาใหค้ า่ ใช้จา่ ยในการดาเนนิ การลดลง หมายเหตุ การสนับสนุนด้านการเงินของภาคขนส่งร มาตรการท่ี 7 มาตรการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานภา รวม - 10
หนว่ ยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ลา้ นบาท) สนพ. / (ktoe) ภาครัฐ เอกชน รวม พพ. บบ คือ 2,528 21,000 21,000 างส่วน อุปกรณ์ 5,942 20,992 20,992 า (DSM เพื่อการ 871 15,631 15,631 ยบริษัท entive) 167 7,785 7,785 รณ์ 16 16 16 130,590 130,590 รวมอยู่ใน าคขนสง่ 9,524 65,424 130,590 196,014 0-
6. มาตรการส่งเสริมการใชห้ ลอดแอลอีดี แนวทางดาเนินการ แผนดาเนนิ การ หลอดไฟแสงสว่างท่ีใช้ในประเทศไทยส่วน ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนการใช้งานหลอดแ ใหญ่เป็นชนิด fluorescent ซ่ึงปัจจุบันมีหลอด ประกอบด้วย Light Emitting Diode (LED) ทลี่ ดความต้องการใช้ 1. นารอ่ งเปลย่ี นหลอดไฟในอาคารภาครัฐ ไฟฟ้าได้ร้อยละ30-70 และมีอายุการใช้งานท่ี 2. สนับสนนุ การใช้งานหลอดแอลอดี ีด้วยกลไกร ยาวนานกว่า ซึ่งจะนามาทดแทนหลอดไฟฟ้า แบบเดิม แต่ด้วยราคาสูง จาเป็นต้องส่งเสริม 3. ใชโ้ คมไฟถนนหลอด LED การตลาดใหเ้ กดิ การใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลาย 4. ใชโ้ คมไฟสาธารณะ LED แนวทางดาเนินการ สนับสนุนการใช้งาน 5. คาดว่าจะเกิดการลงทุนในการปรบั เปล่ียนหล หลอดแอลอีดีด้วยกลยุทธ์ท่ีจะผลักดันราคาของ หลอดไฟ LED ให้มีราคาต่าลงเพ่ือให้ประชาชนและ ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงหลอดไฟ LED ได้ง่าย ข้ึน ร่วมกับการปรับเปลี่ยนหลอดไฟในส่วนของ ภาครัฐเป็นตัวอย่างแก่ภาคเอกชน และลดการใช้ พลังงานของภาครัฐ รวม - 11
หนว่ ยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ล้านบาท) พพ. (ktoe) ภาครัฐ เอกชน รวม สนพ./ แอลอีดี กฟผ./ 1 140 140 ราคา กฟภ./ 923 1,000 1,000 ลอดไฟ กฟน. 35 10,800 10,800 31 1,350 1,350 147,199 147,199 991 13,290 147,199 160,489 1-
7. มาตรการอนรุ ักษพ์ ลังงานภาคขนสง่ แนวทางดาเนินการ แผนดาเนนิ การ แนวทางดาเนินการ แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนอนุรักษ์พลังงานภา กลมุ่ ท่ี 1 ประกอบดว้ ย กากบั ราคาเชื้อเพลิงในภาคขนสง่ ใหส้ ะท้อนต้นทนุ ท่ี 1. ยกเลกิ /ทบทวนการอุดหนุนราคาพลังงาน (ด แทจ้ รงิ 2. สนับสนุนการใช้ยานยนต์ประหยดั พลังงานภ 1) ปรบั โครงสร้างราคาน้ามันเชื้อเพลิงต่างๆ ใหส้ ะท้อน ฉลากแสดงประสิทธิภาพ ต้นทนุ การจดั หาของเชอื้ เพลงิ แต่ละประเภท 2) ปรบั โครงสรา้ งอตั ราภาษีสรรพสามิตใหเ้ ปน็ ธรรมกบั 3. การติดฉลากแสดงประสิทธิภาพพลังงาน ผ้ใู ชน้ า้ มนั เชื้อเพลงิ ทุกประเภท รถยนต์ กลมุ่ ที่ 2 4. การบริหารจดั การขนส่งเพอื่ การประหยดั พล เพิ่มประสทิ ธภิ าพการใชเ้ ชอ้ื เพลงิ ในยานยนต์ 5. การขบั ขีเ่ พือ่ การประหยัดพลังงาน (ECO Dr 1) สนับสนุนให้ประชาชนเลือกซ้ือรถยนต์ท่ีมี 6. ส่งเสริมเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พ ประสทิ ธิภาพและประหยัดพลังงาน โดยการจัดเก็บภาษี สาหรับภาคขนส่ง ตามปริมาณการปล่อย CO2 ซึ่งสะท้อนถึงการส้ินเปลือง 7. สง่ เสริมการอดุ หนนุ ผลการประหยดั พลังงาน น้ามันโดยตรง และติดฉลากแสดงอัตราการส้ินเปลือง ภาคขนส่ง เชื้อเพลงิ 2) ส่งเสริมให้ประชาชนเลือกใช้ยางประหยัดเช้ือเพลิง โดยการตดิ ฉลากแสดงประสทิ ธภิ าพ - 12
หนว่ ยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ลา้ นบาท) สนพ. (ktoe) ภาครฐั เอกชน รวม สศอ./ าคขนส่ง สส./ 456 456 สนพ. 310 ดเี ซล) พพ. 13,731 310 ภาษีและ สนพ. 469 460 นในยาง สนพ. 5,096 สนพ. 1,362 460 13,500 ลังงาน 1,491 5,096 riving) สนพ. 13,440 พลังงาน 588 13,500 นสาหรับ 1,216 13,440 2-
7. มาตรการอนุรักษพ์ ลงั งานภาคขนส่ง (ตอ่ ) แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนินการ กลมุ่ ท่ี 3 8. การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานคมนาค สง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การการใช้รถบรรทุกและรถโดยสาร รถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชน และระบบเชอื่ มต่อ 1) พัฒนาผู้ประกอบการขนส่ง โดยสนับสนุน 9. การพัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานคมนาค ผู้เชี่ยวชาญให้ความรู้ และแนะนามาตรการ ในการจัดการ รถไฟรางคู่ ทีมงาน เทคโนโลยี การขนส่ง และการอบรมเชิง 10. ขยายระบบขนสง่ น้ามันทางท่อ ปฏิบัติการเพ่อื ให้เขา้ ใจและมีทกั ษะการขับข่ี 11. ใชร้ ถยนต์ไฟฟา้ EV 2) สนับสนุน ส่งเสริม การปรับปรุงรถบรรทุกและรถ 12. คาดว่าจะเกดิ การลงทุนในการปรับยานพาหน โดยสาร ด้วยการสนับสนนุ ด้านการเงนิ กลมุ่ ที่ 4 1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง เพื่อการ เปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง ตามแผนกระทรวงคมนาคม ในการพัฒนารถไฟฟ้า 12 สาย และรถไฟทางคู่ทั่ว ประเทศ 3,150 กิโลเมตร 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการขนส่งน้ามันของประเทศ โดย พฒั นาระบบขนส่งนา้ มนั ทางท่อ 3) ศึกษา วางแผน และดาเนินการรองรับการใช้ ยานยนตพ์ ลังงานไฟฟา้ รวม - 13
หน่วยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ลา้ นบาท) คค. (ktoe) ภาครฐั เอกชน รวม คค. 4,823 คมขนส่ง 580,000 580,000 คมขนส่ง ธพ. สนพ. 4,922 871,460 871,460 นะ 34 1,123 77,472 77,472 30,213 1,484,266 77,472 1,561,738 3-
8. มาตรการสง่ เสริมการศึกษา วิจัย พฒั นาเทคโนโลยอี นุรักษพ์ ลงั งาน แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนนิ การ แนวทางดาเนินการ ดาเนินการส่งเสริมการศึกษา วิจัย พัฒนาเทค - พัฒนางานวิจัยอย่างเป็นระบบเพ่ือการพ่ึงพา อนุรักษพ์ ลังงาน ประกอบด้วย ตนเอง และเหมาะสมกับประเทศ เริ่มจากประเด็น 1. พัฒนากลยุทธ์ และแผนงานวิจัย และทบท วิจัยไปจนถึงผลักดันไปสู่เชิงพาณิชย์และมีการ ระยะอยา่ งต่อเน่ือง นาไปใชอ้ ยา่ งแพร่หลาย 2. จัดตั้งคณะทางานขับเคลื่อนงานวิจัยการอ - กรอบการวิจัย การศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยี พลงั งาน อนุรักษ์พลังงาน การป้องกันและแก้ไขปัญหา 3. พัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ ส่ิงแวดล้อมจากการอนุรักษ์พลังงาน และการ วจิ ัย พัฒนาด้านอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน กาหนดนโยบายและวางแผนพลังงาน เพ่ือรองรับ 4. สนับสนุนการวิจัย พัฒนาด้านอนุรักษ์พลังงาน การดาเนนิ การตาม 7 มาตรการหลกั Lab Scale 1 พัฒนาประสทิ ธภิ าพเคร่อื งจักร อปุ กรณ์ และวสั ดุ 5. สนับสนุนการวิจัย พัฒนาด้านอนุรักษ์พลังงาน 2 พัฒนากระบวนการผลิต การทางาน และการ Scale Up จดั การ 6. สนับสนุนการวิจัย พัฒนาด้านอนุรักษ์พลังงาน 3 พัฒนานโยบายและวางแผนพลังงาน Pilot 4 พัฒนาระบบติดตามผลการดาเนินการ และ 7. พัฒนาระบบกลไก และกจิ กรรมผลกั ดนั งานวจิ ยั ระบบฐานข้อมูล ตลาดเชิงพาณชิ ย์ - มุ่งเน้นงานวิจัยที่มีศักยภาพการพัฒนาไปสู่เชิง พาณิชย์ และมีผลกระทบตอ่ การใชพ้ ลังงานสงู ก่อน รวม - 14
หน่วยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ล้านบาท) พน./ (ktoe) ภาครฐั เอกชน รวม สนพ./ คโนโลยี พพ. 40 40 ทวนเป็น อนุรักษ์ 10 10 ของการ 210 210 น ระดับ 1,050 1,050 น ระดับ 2,940 2,940 น ระดับ 190 190 ยให้ไปสู่ - - 4,440 - 4,440 4-
9. มาตรการพฒั นาบคุ ลากรด้านอนรุ ักษพ์ ลงั งาน แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนินการ แนวทางดาเนินการ ด า เ นิ น ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ด้ า น อ นุ รั ก ษ์ พ ล - สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเพ่ือเพิ่มความรู้และ ประกอบดว้ ย ทักษะ ด้านการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน ครอบคลมุ ทุกภาคสว่ น 1. พัฒนากลยุทธ์ และแผนงานพัฒนาบุคลา ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง และครบทุกระดบั อย่างตอ่ เน่อื ง อนุรักษ์พลังงาน และทบทวนเป็นระย - กรอบการพัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน ต่อเนื่อง เพือ่ รองรับการดาเนนิ การตาม 7 มาตรการหลัก 2. พัฒนาระบบและดาเนินการติดตามประเมนิ ผ 1 ฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากรเพ่ือรองรับการ 3. สนับสนุนทนุ การศึกษาระดับปริญญาตรี-เอก ดาเนนิ การตามกฎหมาย ตา่ งประเทศ 2 เพิ่มความรู้ และทักษะการเลือกซื้อและการใช้ 4. สนบั สนุนใหท้ นุ วจิ ยั นกั ศึกษาระดับปริญญาต งานอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงท่ีถูกต้องให้กับ 5. พัฒนาหลักสูตรสาหรับบุคลากรทางการศ ประชาชน ระบบ บุคลากรหน่วยงานภาครัฐ 3 ฝึกอบรม เพ่ิมความรู้ และทักษะการเลือกซ้ือ 6. พัฒนาส่ือการเรียนการสอน เพ่ิมความรู้ แล และการขับข่ยี านยนต์อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การเลือกซือ้ และการใชง้ านอุปกรณ์ประสิทธ 4 พัฒนาบคุ ลากรทางการศึกษาท้งั ระบบ นกั เรยี น ทถ่ี กู ตอ้ งให้กบั เยาวชนและประชาชน นักศึกษา ครู อาจารย์ นักวิจัย ทุกระดับอย่าง 7. พัฒนาศกั ยภาพบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งต่อ เหมาะสม 8. กิจกร รมพัฒนาบุ คลา กรเ พ่ือสนับสน 5 พัฒนาบุคลากรหน่วยงานภาครัฐที่กากับดูแล ดาเนนิ การตาม 7 มาตรการหลกั ด้านอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน รวม - 15
หน่วยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ล้านบาท) สนพ./ (ktoe) ภาครฐั เอกชน รวม พพ./ ลั ง ง า น สานักงาน 40 40 พลังงาน กรด้าน จงั หวดั 60 60 ยะอย่าง 750 750 ผล 540 540 กท้ังใน/ 150 150 ตรี-เอก 120 120 ศึกษาท้ัง 210 210 ละทักษะ ธิภาพสูง อเนอ่ื ง นุนกา ร - - 1,870 - 1,870 5-
10. มาตรการประชาสัมพันธส์ รา้ งปลกู จิตสานกึ การอนรุ กั ษพ์ ลังงาน แนวทางดาเนนิ การ แผนดาเนินการ แนวทางดาเนนิ การ ดาเนินการประชาสมั พันธ์สรา้ งปลูกจิตสานึกการ - สนับสนุนการรณรงค์สร้างจิตสานึกใช้พลังงาน พลังงาน ประกอบด้วย อย่างรู้คุณค่า และเปล่ียนพฤติกรรมการใช้พลังงาน ครอบคลมุ ทกุ ภาคสว่ น และครบทุกระดับ อย่างเป็น 1. พัฒนากลยุทธ์ และแผนการรณรงค์ประชาส ระบบและต่อเนือ่ ง และทบทวนเปน็ ระยะอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง - กรอบการประชาสัมพันธ์ กิจกรรมณรงค์สร้าง จิตสานึกในการอนุรักษ์พลังงาน เพ่ือสนับสนุนการ 2. พัฒนามาตรฐานและประเมินระดับพฤติกร ดาเนนิ การตาม 7 มาตรการหลัก อนุรักษ์และพัฒนาระบบฐานข้อมูล และ สารสนเทศ 1 การประชาสัมพันธ์ รณรงค์สร้างจิตสานึกใน 3. รณรงค์สร้างจิตสานึกแบบผสมผสาน และต การอนุรักษ์พลังงาน บุคลากรในสถานประกอบการ ได้แก่ การโฆษณา กิจกรรมการประกวด ก ต้ังแต่ระดับบรหิ ารถงึ พนกั งาน 2 ประชาสัมพันธ์ ณรงค์สร้างค่านิยมในการสร้าง การมสี ว่ นร่วม อาคารประหยดั พลังงาน 4. กิจกรรมรณรงค์สร้างจิตสานึกในการอ 3 ประชาสัมพันธ์ จัดกิจกรรมณรงค์สร้างความรู้ พลังงาน เพื่อสนับสนุนการดาเนินการ แ ล ะ ค่ า นิ ย ม ใ ห้ ป ร ะ ชา ช น เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ มาตรการหลกั ประสิทธิภาพสูงเบอร์ 5 เช่นเครื่องปรับอากาศ ยาง 5. ประเมนิ ระดับพฤติกรรมการอนุรักษ์ รถยนต์ และหลอด LED 4 ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูลข้อเท็จจริง เก่ียวกับต้นทุนการจัดหาน้ามันเชื้อเพลิงในภาค ขนสง่ ทุกประเภทอย่างตอ่ เนื่องและจรงิ จงั - ใช้กิจกรรมรณรงค์สร้างจิตสานึกแบบผสมผสาน และต่อเนื่อง ได้แก่ การโฆษณา กิจกรรมการ ประกวด กจิ กรรมการมีส่วนรว่ ม รวม รวมท้งั หมด หมายเหตุ รายละเอียดแผนอนรุ ักษพ์ ลงั งาน พ.ศ.2558–2579 (Energy Efficiency Plan; EEP 2015) ร - 16
หนว่ ยงาน ผลประหยดั งบประมาณ (ลา้ นบาท) พพ./ (ktoe) ภาครัฐ เอกชน รวม สนพ./ รอนุรักษ์ สานักงาน 20 20 พลังงาน 10 10 สัมพันธ์ จงั หวดั / กปส./ 6,600 6,600 รรมการ อสมท. ะระบบ ต่อเนื่อง กิจกรรม อนุรักษ์ รตาม 7 200 200 - - 6,830 - 6,830 - 51,700 1,600,821 766,050 2,366,871 รายปี แสดงในภาคผนวก 6-
4. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ 4.1 การบรรลเุ ป้าหมายตามนโยบายท่ีจะลดความเขม้ การใช้พลังงานลงร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 เม่ือเทียบกับปี พ.ศ. 2553 หรือเทียบเท่าการลดการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายประมาณ 56,142 ktoe นั้น นอกจากจะตระหนักถึงผลงานอนุรักษ์พลังงานท่ีผ่านมาที่ช่วยลด EI ปี พ.ศ. 2556 จาก 15.28 เป็น 14.93 ktoe/พันล้านบาท คิดเป็นพลังงานที่ประหยัดได้สะสมอยู่ 4,442 ktoe แล้ว กระทรวงพลังงานได้พิจารณา โอกาสและศักยภาพในทางปฏบิ ตั กิ อ่ นตดั สินใจเดนิ หน้าใน 4 กลุ่มเศรษฐกจิ 10 มาตรการทเ่ี หน็ ผลเชิงประจักษ์ ไดเ้ พมิ่ เตมิ อีก 51,700 ktoe ดังนี้ มาตรการ --> กลุ่มเศรษฐกจิ อุตสาหกรรม อาคารธรุ กจิ ทอี่ ยู่อาศยั ภาคขนส่ง รวม อาคารรฐั (ktoe) 1. ความตอ้ งการใชพ้ ลังงานข้ันสุดท้าย ณ ปี 2579 14,515 2,153 30,213 187,142 (กรณีปกติ) 4,388 4,819 - - 768 - - 4,442 2. ผลการอนุรักษ์พลงั งานท่ีผา่ นมา ทาให้ EI ปี 2556 - - ลดลง คดิ เปน็ พลังงานทป่ี ระหยดั ได้ 749 1,166 1,753 51,700 1,648 - 3. เป้าหมายการอนรุ กั ษพ์ ลังงานตามแผนอนรุ กั ษ์ 202 114 - 5,156 พลังงาน ในชว่ งปี พ.ศ.2558-2579 8,895 184 - - 629 30,213 1,166 (1) มาตรการบงั คบั ใชม้ าตรฐานการอนุรักษพ์ ลังงานใน 281 424 286 - โรงงาน/อาคารควบคมุ - - - 4,149 - - - - (2) มาตรการบังคับมาตรฐานอาคารก่อสร้างใหมเ่ พื่อการ - - - 500 อนรุ ักษพ์ ลงั งาน - - - - 9,524 (3) มาตรการกาหนดมาตรฐานและติดฉลากอปุ กรณ์ เครอ่ื งจกั ร และวสั ดเุ พ่อื การอนุรักษพ์ ลงั งาน 991 (Labeling) 30,213 (4) มาตรการบังคบั ใช้เกณฑ์มาตรฐานอนรุ ักษ์พลังงาน - สาหรบั ผูผ้ ลิตและจาหน่ายพลังงาน (EERS) - (5) มาตรการช่วยเหลือ/อุดหนนุ การดาเนนิ งานเก่ยี วกบั - การอนุรักษพ์ ลงั งาน 56,142 (6) มาตรการสง่ เสรมิ การใช้แสงสว่างเพอื่ อนุรักษ์ 131,000 พลงั งาน (LED) 30 (7) มาตรการอนุรกั ษพ์ ลังงานภาคขนสง่ (8) มาตรการวจิ ยั พฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม อนุรกั ษ์พลังงาน (9) มาตรการพัฒนาบคุ ลากรด้านอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน (10) มาตรการประชาสมั พันธ์สรา้ งปลูกจติ สานกึ การ อนรุ กั ษพ์ ลังงาน 4. รวมลดความตอ้ งการใชพ้ ลงั งานลงได้ (ktoe) [2+3] 5. ความตอ้ งการใชพ้ ลงั งาน ณ ปี 2579 (กรณี EE2015) [1-4] 6. คดิ เปน็ ลดความต้องการใชพ้ ลงั งานลงได้ (ร้อยละ) 4.2 ตามกรอบแผนการดาเนินการฯ จะลดความต้องการใช้พลังงานลงได้ท้ังส้ิน 15,623 ktoe, 52,849 ktoe และ 51,700 ktoe ของปริมาณการใช้พลังงานข้ันสุดท้ายทั้งหมดของประเทศในปี พ.ศ. 2563, พ.ศ. 2578 และ พ.ศ. 2579 ตามลาดบั เทยี บเทา่ ดชั นีชีว้ ัดประสทิ ธิภาพของแผนฯ ไดด้ ังน้ี - 17 -
4.2.1 ลด EI ลงร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 เมอ่ื เทียบกบั ปี พ.ศ. 2553 (เป้าหมายร้อยละ 30) 4.2.2 ลด EI ลงรอ้ ยละ 33 ในปี พ.ศ. 2578 เมื่อเทยี บกับปี พ.ศ. 2548 (เปา้ หมายรอ้ ยละ 26-30) 4.2.3 ลด CO2 ลงรอ้ ยละ 13 ในปี พ.ศ. 2563 เม่ือเทียบกับปี พ.ศ. 2548 (เปา้ หมายร้อยละ 7-20) (1) ความต้องการใช้พลงั งาน (ktoe) กรณีปกติ ปี 2548 ปี 2553 ปี 2563 ปี 2578 ปี 2579 (2) ความต้องการใช้พลังงาน (ktoe) กรณีแผน EE2015 62,397 70,248 101,172 180,283 187,142 (3) ลดความต้องการใชพ้ ลังงาน (ktoe) = (1) – (2) 62,397 70,248 85,549 127,434 131,000 (4) GDP (พันล้านบาท) 15,623 52,849 56,142 (5) EI (ktoe/พันลา้ นบาท) - - 6,621 9,785 12,247 3,858 4,596 12.92 10.80 10.70 (6) ลด CO2 (ลา้ นตัน CO2) 16.17 15.28 43 118 177 เปา้ หมายรอ้ ยละ 7-20 (UNFCCC) 23 ลด CO2 (รอ้ ยละ) 13 เปรียบเทียบความต้องการใช้พลงั งานของประเทศ ณ ปี พ.ศ. 2579 กรณีปกติ กับ กรณีมีแผนอนรุ ักษ์พลงั งาน ลดลง หนว่ ย ลดความตอ้ งการใช้พลงั งานของประเทศ 89,672 GWh/ปี (1) การใช้ไฟฟา้ 11,302 ล้านลติ ร/ปี (2) การใช้น้ามันเบนซิน 18,048 ล้านลติ ร/ปี (3) การใช้นา้ มันดเี ซล 343 ลา้ นลติ ร/ปี (4) การใช้น้ามันเตา 5,187 พนั ตัน/ปี (5) การใช้ LPG 5,548 พันตนั /ปี (6) การใชถ้ า่ นหิน 331,892 ล้านลูกบาศก์ฟตุ /ปี (7) การใชก้ า๊ ซธรรมชาติ พันตนั /ปี (8) การใชพ้ ลังงานหมนุ เวยี น (ชวี มวล) 12 ktoe/ปี รวมเป็นพลงั งานท่ปี ระหยดั ได้ 56,142 รอ้ ยละ หรอื คดิ เปน็ 30 ล้านบาทต่อปี รวมเปน็ มูลคา่ พลงั งานทป่ี ระหยัดได้ (ราคานา้ มันดิบ 1 ktoe 15 ลา้ นบาท) ล้านตัน CO2 รวมเปน็ ก๊าซเรือนกระจกภาคพลงั งานท่ีหลีกเลี่ยงการปลดปล่อยได้ 842,130 177 ผลจากการดาเนินการตาม 10 มาตรการข้างต้น คาดว่าจะช่วยความต้องการใช้พลังงานข้ันสุดท้าย ของประเทศ ณ ปี พ.ศ. 2579 จากระดบั 187,142 ktoe ลดลงไปอยู่ทร่ี ะดบั 131,000 ktoe โดยเป็นส่วนที่ลด การใช้พลังงานด้านไฟฟ้าลงร้อยละ 15 หรือคิดเป็น 7,641 ktoe หรือประมาณ 89,672 GWh (คิดท่ี 1 ktoe เทียบเท่า 11.735 GWh) และเปน็ สว่ นท่ลี ดการใชพ้ ลังงานด้านความร้อนลงร้อยละ 85 หรอื คิดเป็น 44,059 ktoe - 18 -
กราฟแสดงเป้าหมายการลด EI ลงร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 เมื่อเทียบกบั ปี พ.ศ. 2553 3.94 5. หนว่ ยงานขบั เคลื่อน มาตรการอนุรักษพ์ ลงั งาน พ.ศ.2558-2579 หนว่ ยงานหลักในการขับเคล่ือน (1) มาตรการบังคบั ใชม้ าตรฐานการอนรุ ักษพ์ ลงั งานใน กระทรวงพลงั งาน : กรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน (พพ.), โรงงาน/อาคารควบคมุ สานักงานนโยบายและแผนพลงั งาน (สนพ.), สานักงานคณะกรรมการกากบั กิจการพลังงาน (สกพ.) (2) มาตรการบังคับมาตรฐานอาคารกอ่ สร้างใหมเ่ พือ่ การ กระทรวงพลงั งาน : พพ., สนพ. อนรุ ักษพ์ ลงั งาน กระทรวงมหาดไทย : กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง (ยผ.) (3) มาตรการกาหนดมาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์ กระทรวงพลังงาน : พพ., การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย (กฟผ.), เครือ่ งจกั ร และวัสดเุ พ่ือการอนุรักษพ์ ลงั งาน กระทรวงอุตสาหกรรม : สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) (Labeling) (4) มาตรการบังคบั ใชเ้ กณฑม์ าตรฐานอนรุ ักษพ์ ลงั งาน กระทรวงพลังงาน : สนพ., พพ., สกพ., กฟผ., บรษิ ัท ปตท. จากดั (มหาชน) สาหรับผูผ้ ลิตและจาหนา่ ยพลงั งาน (EERS) กระทรวงมหาดไทย : การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.), การไฟฟา้ นครหลวง (กฟน.) (5) มาตรการชว่ ยเหลอื /อดุ หนุนการดาเนนิ งานเกี่ยวกบั กระทรวงพลังงาน : สนพ., พพ. การอนรุ ักษพ์ ลังงาน หนว่ ยงานอื่นๆ : สว่ นราชการ, รฐั วสิ าหกจิ , สถาบนั การศกึ ษา, องค์กร (6) มาตรการส่งเสริมการใชแ้ สงสวา่ งเพอื่ อนุรักษ์ เอกชน (ดา้ นพลงั งาน) ไม่มุง่ ค้าหากาไร พลังงาน (LED) กระทรวงพลังงาน : สนพ., พพ., กฟผ. กระทรวงมหาดไทย : กฟภ., กฟน. (7) มาตรการอนุรักษพ์ ลังงานภาคขนสง่ กระทรวงพลังงาน : สนพ., พพ., กรมธุรกจิ พลงั งาน (ธพ.) กระทรวงคมนาคม : สานกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร (สนข.) (8) มาตรการวจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยีและนวตั กรรม กระทรวงการคลงั : กรมสรรพสามิต (สส.) อนุรกั ษ์พลงั งาน กระทรวงอุตสาหกรรม: สานกั งานเศรษฐกจิ อุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงพลังงาน : สนพ., พพ. หน่วยงานอน่ื ๆ : สว่ นราชการ, รฐั วิสาหกจิ , องค์กรเอกชน (ดา้ นพลงั งาน) ไม่ม่งุ ค้าหากาไร (9) มาตรการพัฒนาบคุ ลากรด้านอนรุ ักษพ์ ลังงาน กระทรวงพลังงาน : สานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) (10) มาตรการประชาสัมพันธส์ ร้างปลูกจติ สานกึ การ กระทรวงพลงั งาน : สานักงานกองทนุ สนับสนุนการวิจยั (สกว.) ศูนย์เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ สนพ., พพ., สานกั งานพลงั งานจงั หวดั สนพ., พพ., สานักงานพลังงานจังหวัด อนุรกั ษพ์ ลงั งาน หน่วยงานอน่ื ๆ : กรมประชาสมั พนั ธ์ (กปส.), อสมท. - 19 -
ภาคผนวก แผนอนุรกั ษ์พลงั งาน พ.ศ.2558–2579 รายปี
แผนพฒั นาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลอื ก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) แผนพฒั นาพลังงานทดแทนและพลงั งานทางเลอื ก พ.ศ. 2558 – 2579 (Alternative Energy Development Plan: AEDP2015) กรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน กันยายน 25508
แผนพัฒนาพลงั งานทดแทนและพลงั งานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) สารบญั หน้า 1 1. บทนา 2 2. สถานภาพการพัฒนาพลังงานทดแทน 7 3. เปาู หมายการพัฒนาพลงั งานทดแทน 16 4. ยุทธศาสตร์ส่งเสรมิ การพฒั นาพลังงานทดแทน 20 5. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ ภาคผนวก 17 ภาคผนวก ก 50 ภาคผนวก ข 62 ภาคผนวก ค 1
แผนพฒั นาพลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) 1. บทนา กระทรวงพลังงาน ได้วางกรอบแผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติ ที่ให้ความสาคัญใน 3 ด้าน ประกอบด้วย (1) ด้านความม่ันคงทางพลังงาน (Security) ในการตอบสนองต่อปริมาณความต้องการพลังงาน ที่สอดคล้องกับอัตราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ อัตราการเพิ่มของประชากร และอัตราการขยายตัวของเขต เมือง รวมถึงการกระจายสัดส่วนของเชื้อเพลิงให้มีความเหมาะสม (2) ด้านเศรษฐกิจ (Economy) ท่ีต้อง คานึงถึงต้นทุนพลังงานท่ีมีความเหมาะสมและไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศในระยะยาว การปฏิรูปโครงสร้างราคาเช้ือเพลิงประเภทต่างๆ ให้สอดคล้องกับต้นทุน และให้มีภาระ ภาษีที่เหมาะสม เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงานของประเทศไม่ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างฟุมเฟือย รวมถึงส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (3) ด้านส่ิงแวดล้อม (Ecology) เพิ่มสัดส่วนการผลิต พลังงานหมุนเวียนภายในประเทศ และการผลิตพลังงานด้วยเทคโนโลยีประสิทธิภาพสูง เพ่ือลดผลกระทบต่อ สิง่ แวดลอ้ มและชุมชน ในแผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติ กระทรวงพลังงานได้ทบทวนการจัดทาแผนพลังงาน 5 แผนหลัก ในชว่ งปี พ.ศ. 2558 – 2579 ที่สอดคล้องกับรอบของการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แก่ แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟูาของประเทศไทย แผนอนุรักษ์พลังงาน แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย และแผนบริหารจัดการน้ามันเชื้อเพลิง โดยในการจัดทา แผนพัฒนาพลงั งานทดแทนและพลงั งานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan : AEDP2015) จะให้ความสาคัญในการส่งเสริมการผลิตพลังงานจากวัตถุดิบพลังงานทดแทนที่มีอยู่ภายในประเทศให้ได้เต็ม ตามศักยภาพ การพัฒนาศักยภาพการผลิตพลังงานทดแทนด้วยเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสม และการพัฒนา พลังงานทดแทนเพอื่ ผลประโยชนร์ ่วมในมิติด้านสังคมและสิ่งแวดลอ้ มแก่ชุมชน การจัดทาแผน AEDP2015 ได้เปิดรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผ่านการจัดสัมมนารับฟัง ความคิดเห็น “ทิศทางพลังงานไทย” ของกระทรวงพลังงาน ในระหว่างเดือนสิงหาคม – กันยายน 2557 ใน ภาคเหนอื (จังหวัดเชียงใหม่) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดขอนแก่น) ภาคใต้ (จังหวัดสุราษฎร์ธานี) และ สว่ นกลาง (กรุงเทพมหานคร) รวมไปถึงการสัมมนากลุ่มย่อย (Focus group) เม่ือเดือนสิงหาคม 2558 เพ่ือนา ความเห็นและขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ มาประกอบการจัดทาแผน AEDP ดว้ ย 1
แผนพัฒนาพลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลอื ก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) 2. สถานภาพการพฒั นาพลงั งานทดแทน การพัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทยเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นผลมาจากนโยบายส่งเสริมการ ผลิตการใช้พลังงานทดแทน โดยการใช้งานจะอยู่ในรูปของพลังงานไฟฟูา พลังงานความร้อน และเช้ือเพลิง ชีวภาพ โดยในปี 2557 ประเทศไทยมีการใช้พลังงานทดแทนท้ังสิ้น 9,025 พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe) เพ่ิมขึน้ จากปีก่อนร้อยละ 9.6 หรือคิดเปน็ ร้อยละ 11.9 ของการใช้พลงั งานข้นั สดุ ทา้ ย ตารางท่ี 2.1 ผลการดาเนนิ งานด้านพลงั งานทดแทน ปี 2555 - 2557 พลงั งานทดแทน หนว่ ย ผลการดาเนนิ งาน 2555 2556 2557 ไฟฟ้า* เมกะวัตต์ 2,786 3,788 4,494 พันตันเทียบเท่านา้ มนั ดบิ 1,138 1,341 1,467 1. แสงอาทติ ย์ เมกะวตั ต์ 376.72 823.46 1,298.51 2. พลงั งานลม เมกะวตั ต์ 111.73 222.71 224.47 3. พลังนา้ ขนาดเล็ก เมกะวัตต์ 101.75 108.80 142.01 4. ชวี มวล เมกะวัตต์ 1,959.95 2,320.78 2,451.82 5. ก๊าซชวี ภาพ เมกะวตั ต์ 193.40 265.23 311.50 6. ขยะชุมชน เมกะวตั ต์ 42.72 47.48 65.72 ความร้อน พันตันเทียบเท่านา้ มนั ดิบ 4,886 5,279 5,775 1. แสงอาทิตย์ พนั ตนั เทียบเท่าน้ามนั ดบิ 3.50 4.50 5.10 2. ชวี มวล พันตนั เทียบเทา่ นา้ มันดบิ 4,346.00 4,694.00 5,144.00 3. กา๊ ซชีวภาพ พันตันเทียบเทา่ น้ามนั ดบิ 458.00 495.00 528.00 4. พลงั งานขยะ พนั ตนั เทยี บเท่าน้ามนั ดบิ 78.20 85.00 98.10 เชอ้ื เพลิงชวี ภาพ ล้านลติ ร/วนั 4.20 5.50 6.10 พันตันเทียบเทา่ น้ามนั ดบิ 1,270 1,612 1,783 1. เอทานอล ล้านลิตร/วัน 1.40 2.60 3.21 2. ไบโอดีเซล ลา้ นลติ ร/วัน 2.80 2.90 2.89 การใช้พลงั งานทดแทน (พนั ตันเทยี บเทา่ น้ามันดบิ ) 7,294 8,232 9,025 การใช้พลงั งานขั้นสุดท้าย (พันตันเทยี บเทา่ น้ามนั ดิบ) 73,316 75,214 75,804 สดั ส่วนพลังงานทดแทนต่อการใช้พลงั งานขน้ั สดุ ท้าย 9.95 10.94 11.91 (%) *รวมการผลิตไฟฟูานอกระบบ (Including off grid power generation) และไม่รวมการผลติ ไฟฟูาจากพลงั นา้ ขนาดใหญ่ การใชพ้ ลังงานทดแทนจะอยู่ในรูปของพลังงานความร้อนมากท่ีสุด คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 60 ของการใชพ้ ลังงานทดแทนทง้ั หมด รองลงมา ได้แก่ เชื้อเพลิงชีวภาพ และไฟฟูา โดยในปี 2557 การใช้พลังงาน ความรอ้ นคดิ เปน็ รอ้ ยละ 64 เชอ้ื เพลิงชีวภาพ และไฟฟูา คิดเป็นร้อยละ 19.7 และ 16.3 ตามลาดบั 2
แผนพฒั นาพลงั งานทดแทนและพลงั งานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) 2.1 สถานภาพการผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานทดแทน กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมการผลิตไฟฟูาจากพลังงานทดแทนมาตั้งแต่ปี 2532 โดยให้ การไฟฟูาฝุายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) รับซ้ือไฟฟูาจากผู้ผลิตไฟฟูาเอกชนขนาดเล็ก (Small Power Produce: SPP) ท่ีผลิตพลังงานไฟฟูาและความร้อนร่วม (Cogeneration) จากกากหรือเศษวัสดุเหลือใช้จาก การเกษตรโดยนาพลังงานความร้อนท่ีเหลือจากกระบวนการผลิตไปใช้ในการผลิตไฟฟูาเพ่ือขายเข้าระบบสาย ส่งเปน็ การส่งเสริมการผลิตไฟฟูาอย่างมีประสิทธิภาพและช่วยแบ่งเบาภาระการลงทุนของภาครัฐในระบบการ ผลิตและจาหนา่ ยไฟฟูาดว้ ย ต่อมาไดข้ ยายผลสกู่ ารรบั ซอื้ ไฟฟาู จากพลงั งานหมุนเวียนประเภทอื่นๆ ท้ังพลังงาน แสงอาทิตย์ ก๊าซชีวภาพ ขยะ พลังน้า พลังงานลม จากผู้ผลิตไฟฟูาขนาดเล็กมาก (Very Small Power Produce: VSPP) ขนาดไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ เพื่อกระจายโอกาสไปยังพ้ืนท่ีห่างไกลให้มีส่วนร่วมในการผลิต ไฟฟาู ชว่ ยลดความสูญเสียในระบบไฟฟาู และลดการลงทุนกอ่ สร้างโรงไฟฟูาขนาดใหญ่เพ่ือจาหน่ายไฟฟูา โดย สนับสนุนผ่านมาตรการสว่ นเพิ่มราคารับซื้อไฟฟูา (Adder) ท้ังนี้ อัตราส่วนเพ่ิมและระยะเวลาในการสนับสนุน จะแตกต่างกันตามประเภทพลังงานทดแทน โดยมีส่วนเพิ่มอัตรารับซื้อไฟฟูาพิเศษสาหรับโครงการโรงไฟฟูา พลังงานหมุนเวียนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ 4 อาเภอในจังหวัด สงขลา จากมาตรการจูงใจดังกล่าวทาให้การผลิตไฟฟูาจากพลังงานทดแทนมีสัดส่วนเพ่ิมสูงข้ึนทุกปี โดยในปี 2550 มีสัดส่วนปริมาณไฟฟูาจากพลังงานทดแทนท่ีผลิตได้รวมการผลิตไฟฟูานอกระบบ (Including off grid power generation) ท้ังประเทศร้อยละ 4.3 และเพมิ่ เป็นรอ้ ยละ 9.87 ในปี 2557 (ไม่รวมพลังนา้ ขนาดใหญ่) 40000 ปรมิ าณพลังงานไฟฟาู ทผ่ี ลติ ได้จากพลังงานทดแทน (Gwh) 9.9 11 35000 17,217 10 30000 สดั สว่ นการผลติ ไฟฟูาจากพลงั งานทดแทน (%) 7.8 9.1 9 25000 13,360 15,739 2557 8 20000 7.5 7 15000 2555 2556 6 10000 5.9 5 4 5000 4.3 4.6 4.8 9,471 11,595 3 5,960 6,622 6,971 2 0 2550 2551 2552 2553 2554 ทีม่ า: ศูนย์สารสนเทศข้อมูลพลังงานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน กรมพฒั นาพลงั งานทดแทนและอนรุ ักษพ์ ลงั งาน รูปท่ี 2.1 ปรมิ าณพลังงานไฟฟาู จากพลงั งานทดแทนของประเทศไทยในปี 2550 – 2557 3
แผนพัฒนาพลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) 2.2 สถานภาพการผลิตความรอ้ นจากพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมหลักท่ีมีการใช้เช้ือเพลิงพลังงานทดแทนเพื่อผลิตความร้อนจะเป็นอุตสาหกรรม เกษตรท้ังสิ้น ได้แก่ อุตสาหกรรมน้าตาล อุตสาหกรรมผลิตน้ามันปาล์ม อุตสาหกรรมแปูงมันสาปะหลัง อตุ สาหกรรมแปรรูปไม้ อุตสาหกรรมกระดาษ โรงสขี า้ ว และฟารม์ ปศสุ ัตว์ ซึง่ ลว้ นเปน็ อุตสาหกรรมท่ีมีเศษวัสดุ เหลือท้ิงและของเสียจากกระบวนการผลิต ที่สามารถนามาเป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานในรูปของเช้ือเพลิง ชวี มวลและก๊าซชวี ภาพจากน้าเสีย เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายจากการจัดซ้ือเช้ือเพลิงจากภายนอกมาใช้ ทาให้วัสดุ เหลือท้งิ ประเภทเชื้อเพลิงชีวมวล ได้แก่ ชานอ้อย แกลบ เศษไม้ ใยปาล์ม กะลาปาล์ม และข้ีเล่ือย ได้รับความ นิยมในการนาไปเปน็ เช้ือเพลงิ ในภาคอตุ สาหกรรมเกษตรอย่างกว้างขวาง รปู ที่ 2.2 สดั ส่วนการใชเ้ ช้อื เพลงิ ผลติ ความรอ้ นในอตุ สาหกรรมเกษตร นโยบายรัฐบาลที่ส่งเสริมการผลิตไฟฟูาจากพลังงานทดแทนด้วยระบบผลิตพลังงานไฟฟูาและ ความร้อนร่วมเป็นส่วนหนึ่งที่กระตุ้นให้เกิดการลงทุนเพ่ิมประสิทธิภาพระบบผลิตพลังงาน รวมไปถึงการ สนับสนุนระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์และน้าเสียจากโรงงาน การนาพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตน้าร้อน และอบแห้งในภาคธุรกิจ เป็นต้น การเพ่ิมสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงพลังงานทดแทนเพ่ือลดการใช้เชื้อเพลิง ฟอสซิลเป็นการเพม่ิ ศักยภาพการแข่งขันให้กับอตุ สาหกรรมในการลดต้นทุนการผลิตโดยการนาของเสียกลับมา ใช้ประโยชน์ ลดภาระค่าใชจ้ า่ ยจากเชอื้ เพลิงฟอสซิล และสร้างสขุ ภาวะที่ดตี อ่ ชมุ ชนรอบโรงงานด้วย 4
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลอื ก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) ตารางที่ 2.2 การใชพ้ ลังงานความรอ้ นจากพลังงานทดแทนปี 2553 – 2557 ความรอ้ นจาก ความร้อน (ktoe) พลงั งานทดแทน ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 4,694 5,184 ชีวมวล 3,449 4,123 4,346 495 488 85.0 98 กา๊ ซชีวภาพ 311 402 458 4.5 5.1 5,279 5,775 พลงั งานขยะ 1.1 1.7 78.2 แสงอาทติ ย์ 1.8 2.0 4.0 รวม 3,763 4,529 4,886 ชีวมวลเป็นพลังงานทดแทนที่มีสัดส่วนมากที่สุดในการผลิตความร้อน โดยในปี 2557 มีสัดส่วน คิดเป็นร้อยละ 89 ของการผลิตพลังงานความร้อนจากพลังงานทดแทนทั้งหมด ก๊าซชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 9 และที่เหลอื เปน็ พลงั งานความรอ้ นจากขยะและพลังงานแสงอาทติ ย์ ซึง่ การผลิตพลังงานความร้อนจากขยะและ พลงั งานแสงอาทิตยย์ ังเปน็ ส่วนทีต่ ้องการการสนับสนุนให้เกิดการใช้ประโยชน์ในภาคบริการและภาคครัวเรือน ใหม้ ากข้ึน 2.3 สถานภาพการผลติ เชื้อเพลิงชีวภาพจากพลงั งานทดแทน นับเกือบทศวรรษท่ีกระทรวงพลังงานได้รับแนวพระราชดาริเร่ืองพลังงานทดแทนมาถือปฏิบัติ เป็นนโยบายหลักในการสร้างความม่ันคงด้านพลังงานและสร้างพื้นฐานด้านพลังงานทดแทนให้กับประเทศไทย โดยเฉพาะการทดแทนการใชน้ ้ามันเบนซนิ และน้ามันดีเซลด้วยเชื้อเพลิงชีวภาพท่สี ามารถผลิตได้ในประเทศ รูปที่ 2.3 ปริมาณการใชเ้ ชอ้ื เพลงิ ชีวภาพรายไตรมาสระหว่างปี 2551 - 2558 5
แผนพัฒนาพลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) กระทรวงพลงั งานได้ดาเนินการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอย่างเป็นรูปธรรมต้ังแต่ปี 2547 ท้ังการ อนุญาตให้ตั้งโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ การเพ่ิมสถานีบริการจาหน่ายเชื้อเพลิงชีวภาพ และประชาสัมพันธ์ สร้างความเชื่อมั่นต่อเชื้อเพลิงชีวภาพ อย่างไรก็ตามการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพก็ยังไม่เพิ่มอย่างมีนัยสาคัญ จนกระท่ังในปี 2551 เกิดวิกฤตการณ์พลังงานโลก ทาให้ราคาน้ามันดิบเพ่ิมสูงกว่า 150 เหรียญสหรัฐต่อ บารเ์ รล สง่ ผลให้ความตอ้ งการเชือ้ เพลิงชีวภาพในประเทศเพมิ่ ขึน้ เพื่อทดแทนและลดการนาเข้าน้ามันดิบ การ ใช้ไบโอเอทานอลเพ่ิมจาก 0.71 ล้านลิตรต่อวัน เป็น 1.29 ล้านลิตรต่อวัน และการใช้ไบโอดีเซลเพิ่มจาก 0.80 ลา้ นลิตรต่อวนั เปน็ 1.40 ล้านลติ รต่อวัน การใช้ไบโอดีเซลเร่ิมเพิ่มข้ึนอย่างมีนัยสาคัญอีกครั้งในปี 2554 เมื่อกระทรวงพลังงานได้เพิ่ม สัดส่วนผสมไบโอดีเซลในเน้ือน้ามันดีเซลท่ีอัตราส่วนร้อยละ 3 - 5 และ ในปี 2557 ได้เพิ่มสัดส่วนผสมไบโอ ดเี ซลเป็นรอ้ ยละ 7 อยา่ งไรกต็ าม เน่ืองจากปริมาณน้ามันปาล์มดิบซ่ึงเป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลมีความ ผันผวนทางฤดูกาลมาก ทาให้ในบางช่วงเวลา กระทรวงพลังงานต้องลดสัดส่วนการผสมไบโอดีเซลลงเพ่ือให้ สมดุลกับวัตถุดิบในประเทศ ในปี 2557 ประเทศไทยมีโรงงานผลิตไบโอดีเซลเพ่ิมเป็น 10 แห่ง กาลังการผลิต รวม 4.96 ล้านลิตรต่อวัน และใช้ไบโอดีเซลเพ่ือทดแทนน้ามันดีเซลรวม 1,054.92 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 2.89 ล้านลิตรต่อวนั สาหรับเอทานอลมีสัดส่วนการใช้เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดในปี 2556 เนื่องจากกระทรวง พลังงานได้ประกาศยกเลิกการใช้น้ามันเบนซิน ออกเทน 91 ซึ่งมีสัดส่วนการใช้ถึงร้อยละ 40 ของปริมาณการ ใช้น้ามันเบนซินทั้งหมด และจากราคาน้ามันดิบโลกในช่วงปี 2556 – 2557 ท่ีมีแนวโน้มสูงขึ้น จึงทาให้ ประชาชนหันมาใชน้ า้ มันแก๊สโซฮอล์เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การใช้เอทานอลเพ่ิมขึ้นตามไปด้วย โดยในปี 2557 มีโรงงานผลิตเอทานอลเพ่ิมเป็น 22 แหง่ กาลงั การผลิตรวม 5.31 ล้านลิตรต่อวัน และมีการใช้เอทานอล รวม 1,185.50 ล้านลิตร หรือเทยี บเทา่ 3.25 ลา้ นลิตรต่อวัน ตารางที่ 2.3 การใชเ้ ชอื้ เพลิงชวี ภาพ (เอทานอลและไบโอดเี ซล) ปี 2553 – 2557 เช้อื เพลิงชีวภาพ ปริมาณนา้ มนั เช้ือเพลิง (ล้านลติ รต่อวัน) ปี 2557 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 3.2 2.9 เอทานอล 1.2 1.2 1.4 2.6 6.1 ไบโอดีเซล 1.7 2.1 2.7 2.9 รวม 2.9 3.3 4.1 5.5 6
แผนพฒั นาพลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลอื ก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) 3. เปา้ หมายการพัฒนาพลงั งานทดแทน การพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นส่วนหนึ่งของการกาหนดนโยบายพลังงานในภาพรวมท่ีจาเป็นต้อง บูรณาการร่วมกบั แผนพลงั งานอื่นๆ เพอ่ื ให้การขับเคลื่อนสอดคล้องกัน ในการจัดทาแผน AEDP2015 ได้นาค่า พยากรณ์ความตอ้ งการใช้พลงั งานขน้ั สุดทา้ ยตามแผนอนรุ ักษ์พลังงาน (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) กรณที ่สี ามารถบรรลุเปูาหมายลดความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ลงร้อยละ 30 ในปี 2579 เม่ือ เทียบกับปี 2553 แล้ว คาดการณ์ความต้องการใช้พลังงานข้ันสุดท้าย ณ ปี 2579 จะอยู่ท่ีระดับ 131,000 พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe) ค่าพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟูาสุทธิของประเทศจากแผนพัฒนา กาลังผลิตไฟฟูาของประเทศไทย (Power Development Plan : PDP2015) ในปี 2579 มีค่า 326,119 ล้าน หนว่ ยหรือเทียบเทา่ 27,789 ktoe คา่ พยากรณ์ความตอ้ งการใช้พลงั งานความร้อน ในปี 2579 เท่ากับ 68,413 ktoe และคา่ พยากรณ์ความตอ้ งการใชเ้ ชอ้ื เพลิงในภาคขนสง่ จากแผนบรหิ ารจัดการน้ามันเช้ือเพลิง ในปี 2579 มีคา่ 34,798 ktoe มาเปน็ กรอบในการกาหนดเปาู หมายเพม่ิ สดั ส่วนการใช้พลังงานทดแทน รวมทั้งพิจารณาถึง ศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทนที่สามารถนามาพัฒนาได้ ทั้งในรูปของพลังงานไฟฟูา ความร้อน และเช้ือเพลิง ชีวภาพภายใต้แผน AEDP2015 เป็นร้อยละ 30 ของการใชพ้ ลงั งานขนั้ สดุ ทา้ ยในปี 2579 ตารางท่ี 3.1 เปูาหมายการพัฒนาพลงั งานทดแทนภายใตแ้ ผน AEDP ในปี 2579 พลงั งาน สดั ส่วนพลังงานทดแทน (ร้อยละ) การใช้พลงั งาน สถานภาพ เปา้ หมาย ข้ันสดุ ท้าย ไฟฟาู : ไฟฟาู ณ ปี 2557 ณ ปี 2579 ณ ปี 2579 ความร้อน : ความร้อน 27,789 เชอื้ เพลงิ ชวี ภาพ : เชื้อเพลิง 9 15 - 20 68,413 พลงั งานทดแทน : การใช้พลังงานข้นั สดุ ท้าย 17 30 - 35 34,798 7 20 - 25 131,000 12 30 3.1 เป้าหมายการผลติ ไฟฟา้ จากพลงั งานทดแทน กระทรวงพลังงานมีประเด็นการพิจารณาเพื่อกาหนดเปูาหมายการพัฒนาการผลิตไฟฟูาจาก พลังงานทดแทนให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับศักยภาพของเช้ือเพลิงวัตถุดิบ และความสามารถในการ รองรับระบบไฟฟูา ดงั นี้ ศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทนคงเหลอื ของแต่ละเทคโนโลยี ประเมินจากศักยภาพของเช้ือเพลิงพลังงานทดแทนท่ีมีอยู่ทั้งหมด หักด้วยปริมาณเช้ือเพลิง พลังงานทดแทนส่วนท่ีนาไปใชแ้ ล้วสาหรับแต่ละประเภทเชื้อเพลงิ พลังงานทดแทน 7
แผนพฒั นาพลงั งานทดแทนและพลงั งานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) ความต้องการการใชไ้ ฟฟ้า ประเมินจากการพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟูารายสถานีไฟฟูาของการไฟฟูานครหลวง (กฟน.) และการไฟฟูาส่วนภูมิภาค (กฟภ.) นามาปรับค่าให้สอดคล้องกับแผน EEP 2015 ซ่ึงมีค่าพยากรณ์ ความต้องการใชไ้ ฟฟูาขัน้ สดุ ทา้ ยของทั้งประเทศ ณ ปี 2579 เทา่ กับ 326,119 ล้านหน่วย ความสามารถของสายส่งในการรองรบั ไฟฟ้าท่ีผลติ จากพลงั งานทดแทน ในแผน PDP2015 การไฟฟาู ฝาุ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย (กฟผ.) ได้ประเมินศักยภาพสายส่งใน การรองรบั การผลติ ไฟฟูาจากพลังงานทดแทนรายสถานไี ฟฟาู และรายปี ตั้งแต่ปี 2558 - 2567 ซึ่งมีข้อจากัดใน การรองรับการผลิตไฟฟาู จากพลังงานทดแทน โดยหลังจากปี 2567 เป็นตน้ ไป ปัญหาขอ้ จากดั จะหมดไป ซึ่งจะ สามารถวางแผนพัฒนาสายส่งไฟฟูาให้สอดรับกับเปูาหมายการผลิตไฟฟูาจากพลังงานทดแทนที่จะเพิ่มขึ้นได้ อยา่ งเตม็ ท่ี การจัดลาดับเทคโนโลยีตามราคาต้นทุนสาหรับการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงพลังงาน ทดแทนประเภทต่างๆ (Merit Order from Levelized Cost of Electricity: LCOE) และตามนโยบาย ของรฐั บาลในด้านผลประโยชน์เชงิ สงั คมและส่งิ แวดล้อมจากโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน (Society Cost) พิจารณาจาก ต้นทุนค่าก่อสร้าง (Construction Cost) ค่าเดินระบบ (Operation Cost) และค่าบารุงรักษา (Maintenance Cost) ของโรงไฟฟูาพลังงานทดแทน รวมถึงค่าเช้ือเพลิงวัตถุดิบ (Fuel Cost) ในกรณที ่ีเป็นพลงั งานจากชีวมวล พลังงานจากขยะ และพลังงานจากก๊าซชีวภาพท่ีผลิตจากพืชพลังงาน ทั้งนี้ ราคาต้นทุนสุทธิในการผลิตไฟฟูาจากจะคิดเป็นช่วงตลอดอายุโครงการโรงไฟฟูาพลังงานทดแทน และ พิจารณาตามลาดับความสาคัญตามนโยบายการส่งเสริมของรัฐบาลจากปริมาณผลกระทบที่จะลดได้ (เทียบ เป็นมลู คา่ เงิน) จากการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเม่ือนาพลังงานทดแทนมาใช้ผลิตไฟฟูา รวมถึงมูลค่าการ จา้ งงานทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ การจัดสรรการผลติ ไฟฟ้าจากแหลง่ พลงั งานทดแทนเชงิ พนื้ ท่ี (RE Zoning) เป็นการกาหนดเปูาหมายปริมาณกาลังการผลิตไฟฟูาจากแหล่งพลังงานทดแทนประเภท ตา่ งๆ โดยใชห้ ลักการ Renewable Energy Supply-Demand Matching โดยนาศักยภาพคงเหลือของแหล่ง พลังงานทดแทนมาจัดเรียงตาม Merit Order เชิงนโยบายของเทคโนโลยีพลังงานทดแทนต่างๆ ให้สอดคล้อง กบั ความตอ้ งการใช้ไฟฟูาในพ้นื ท่ี และพิจารณาขอ้ จากดั ของสายสง่ ท่ีรับไดต้ ามข้ันตอน ดังน้ี (1) จัดทา Merit Order ตามต้นทุนการผลิตไฟฟูาจากพลังงานทดแทนและมูลค่า ผลประโยชน์เชิงสังคมและส่ิงแวดล้อม และปรับลาดับ Merit Order ให้สอดคล้องกับนโยบายการส่งเสริม พลงั งานขยะและพลังงานชีวภาพของภาครัฐ เพ่ือสร้างประโยชน์ร่วมกับเกษตรกรและชุมชน รวมถึงการเข้าถึง พลงั งานไฟฟาู ของประชาชนในพ้ืนท่ีห่างไกล ได้ลาดับ Merit Order ดังตอ่ ไปน้ี 12 3 4 5 67 8 ขยะ ชวี มวล ก๊าซชีวภาพจาก พลังนา้ ก๊าซชวี ภาพจาก พลังงาน พลังงาน พลังงานความรอ้ น น้าเสยี /ของเสีย ขนาดเล็ก พชื พลงั งาน ลม แสงอาทติ ย์ ใตพ้ ภิ พ 8
แผนพฒั นาพลังงานทดแทนและพลงั งานทางเลอื ก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) (2) จัดสรรเปูาหมายการผลิตไฟฟูาของแต่ละประเภทเช้ือเพลิงพลังงานทดแทน สาหรับใน แต่ละโซนพื้นที่ โดยนาปริมาณพลังงานไฟฟูาส่วนที่มีการติดตั้งแล้ว รวมท้ังที่มีแผนงานจะถูกนาไปใช้ (โครงการท่ีผูกพันกับภาครัฐ) มาเป็นฐานในการพิจารณาเพื่อให้ทราบส่วนต่างของปริมาณการผลิตไฟฟูาท่ี จะต้องดาเนินการเพิ่มเติม (โครงการใหม่) ให้เปูาหมายการผลิตไฟฟูาในโซนพ้ืนท่ีนั้น เพียงพอและสอดคล้อง กับข้อจากัดท่ีนามาพิจารณาในทุกข้อ อันประกอบด้วย ข้อจากัดด้านปริมาณความต้องการใช้ไฟฟูาส่วนเพิ่ม และ ขอ้ จากดั ดา้ นศกั ยภาพสายส่ง เปูาหมายการผลิตไฟฟูาจากพลังงานทดแทนแต่ละประเภทเช้ือเพลิงตามแผน AEDP2015 มีสัดส่วน การผลิตไฟฟูาจากเชือ้ เพลิงพลังงานทดแทนในภาพรวมของทงั้ ประเทศ ทรี่ ้อยละ 20 ของปริมาณความต้องการ พลังงานไฟฟูา (Energy) รวมสุทธิ ซึ่งสอดคล้องตามกรอบการกาหนดสัดส่วนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟูาของ แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟูาของประเทศไทย พ.ศ. 2558 - 2579 (PDP2015) ที่ระบุว่าจะให้มีสัดส่วนการผลิต ไฟฟูาจากพลังงานทดแทนอยใู่ นชว่ งร้อยละ 15 - 20 ภายในปี 2579 ตารางที่ 3.2 สถานภาพและเปูาหมายการผลิตไฟฟาู จากพลังงานทดแทนแตล่ ะประเภทเชอ้ื เพลิง ประเภทเช้อื เพลิง สถานภาพ สน้ิ ปี 2557* เปา้ หมายปี 2579 (เมกะวัตต์) (เมกะวตั ต์) 1. ขยะชมุ ชน 65.72 500.00 2. ขยะอุตสาหกรรม - 50.00 3. ชีวมวล 2,451.82 5,570.00 4. ก๊าซชวี ภาพ (นา้ เสีย/ของเสีย) 311.50 600.00 5. พลงั นา้ ขนาดเล็ก 142.01 376.00 6. กา๊ ซชวี ภาพ (พืชพลงั งาน) - 680.00 7. พลังงานลม 224.47 3,002.00 8. พลังงานแสงอาทติ ย์ 1,298.51 6,000.00 9. พลังนา้ ขนาดใหญ่ - 2,906.40** รวมเมกะวตั ตต์ ิดต้ัง (เมกะวัตต์) 4,494.03 19,684.40 รวมพลงั งานไฟฟาู (ลา้ นหนว่ ย) 17,217 65,588.07 ความต้องการพลงั งานไฟฟูาท้ังประเทศ (ล้านหน่วย) 174,467 326,119.00 สดั สว่ นผลิตไฟฟา้ จากพลังงานทดแทน (%) 9.87 20.11 * รวมการผลติ ไฟฟูานอกระบบ (Including off grid power generation) และไมร่ วมการผลติ ไฟฟูาจากพลังน้าขนาดใหญ่ ** เปน็ กาลังการผลติ ตดิ ตั้งทีม่ อี ยู่แลว้ ในปจั จุบัน โดยพลงั น้าขนาดใหญถ่ ูกรวมเป็นเปูาหมายการผลิตไฟฟาู จากพลังงานทดแทน ในแผน AEDP2015 9
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015) 3.2 เปา้ หมายการผลิตความรอ้ นจากพลงั งานทดแทน ความต้องการพลังงานเพ่ือการผลิตความร้อน เป็นสัดส่วนท่ีสาคัญในความต้องการพลังงานของ ประเทศ ซงึ่ มอี ัตราการเพ่ิมขนึ้ อยา่ งต่อเน่ืองและแปรผนั ตรงกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ เช่น การขยายตัวทาง เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การขยายตัวของเมืองและชุมชน และอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว รวมถึงภาค การเกษตรท่ีมีการปรับตัวเป็นภาคอุตสาหกรรมเกษตร การกาหนดเปูาหมายส่งเสริมการผลิตความร้อน พิจารณาตามขั้นตอน ดังตอ่ ไปน้ี (1) การคาดการณ์ความต้องการพลังงานเพื่อผลิตความร้อน ได้คาดการณ์ความต้องการพลังงานเพื่อผลิต ความร้อน ในปี 2579 โดยมีปริมาณทั้งสิ้น 68,413 ktoe ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ความต้องการ พลังงานข้ันสุดท้ายของประเทศตามแผน EEP 2015 ความต้องการพลังงานไฟฟูาตามแผน PDP2015 และความตอ้ งการเชอื้ เพลงิ ในภาคขนส่งตามแผนบรหิ ารจดั การน้ามนั เชื้อเพลงิ (2) การประเมินศักยภาพการผลิตความร้อน จะพิจารณาจากทรพั ยากรพลังงานทดแทนใน 4 กลมุ่ ดังน้ี (2.1) การผลิตความร้อนจากวัตถุดิบพลังงานทดแทนคงเหลือ ได้แก่ ขยะ ชีวมวล และก๊าซชีวภาพ โดย เป็นศักยภาพเชอื้ เพลิงคงเหลอื หลงั จากหักส่วนท่ปี ระเมินเพ่ือนาไปผลิตเป็นพลังงานประเภทอน่ื แลว้ ตารางท่ี 3.3 ศักยภาพการผลติ พลงั งานความรอ้ นจากวตั ถดุ ิบพลังงานทดแทนคงเหลอื ประเภทเชือ้ เพลิง หนว่ ย ศักยภาพ ศักยภาพในการนามาผลิตพลังงาน คงเหลือ ไฟฟ้า น้ามนั ไพโรไลซิส ความร้อน 1. ขยะ ขยะสะสมในพน้ื ที่ฝังกลบ ลา้ นตนั 30.80 - - 24.64 ยางรถยนต์ใชแ้ ล้ว ตนั /ปี 547,500 - - 383,250 ขยะชมุ ชน* ตนั /วัน 68,088 35,000 4,690 4,500 2.ชวี มวล ชวี มวลคงเหลือ ล้านตนั /ปี 31.42 ชีวมวลท่ีเพ่ิมขึ้นจากแผน ลา้ นตนั /ปี 48.52 37.43 - 42.51 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3. กา๊ ซชีวภาพ ปรมิ าณนา้ เสีย/ของเสีย ลา้ น ลบ.ม./ปี 3,411 1,142 - 1,245 * ขยะชมุ ชนสามารถรวบรวมมาผลิตพลังงานได้เพียงบางส่วนเน่อื งจากยังไม่มีระบบการจัดเก็บและรวบรวมในบางท้องถน่ิ (2.2) การผลิตความร้อนจากไม้โตเร็ว พิจารณาจากศักยภาพของพื้นท่ีดินเสื่อมโทรมในการปลูกไม้โตเร็ว โดยคัดเลือกพื้นที่ในการศึกษาเป็นพ้ืนท่ีเสื่อมโทรมในระดับวิกฤติ และระดับรุนแรง ในเขตปฏิรูป ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนอกเขตชลประทานเป็นหลัก ซึ่งไม่เหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก เพอ่ื ไมใ่ ห้เกิดผลกระทบในการแย่งพ้ืนที่เพาะปลูกพืชอาหาร พบว่า ประเทศไทยมีพื้นที่ท่ีมีศักยภาพ สาหรับการปลูกไม้โตเร็วประมาณ 4 ล้านไร่ เมื่อประเมินการใช้พื้นท่ีดังกล่าวเพียง 1 ใน 3 หรือ 1.45 ลา้ นไร่ จะสามารถผลติ ชวี มวลได้ประมาณ 18 ลา้ นตันตอ่ ปี 10
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110