Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติ (1)

ประวัติ (1)

Published by tanyaporn1343, 2018-02-08 01:25:31

Description: ประวัติ (1)

Search

Read the Text Version

ประวตั ศิ าสตร์ ม.2หน่วยท่ี8-9แหลง่ อารยธรรมโบราณในภมู ิภาคเอเชียอารยธรรมไทกรีส-ยเู ฟรตสี อารยธรรมจีน

สารบญัอารยธรรมล่มุ นา้ ไทกรีส-ยเู ฟรตีส 1 อารยธรรมของชาวสเุ มเรียน 2 อารยธรรมของชาวอมอไรต์ 3 อารยธรรมของชาวเอสซีเรีย 4 อารยธรรมของชาวคาลเดียน 5 อารยธรรมของชาวเปอร์เซีย 6 อารยธรรมของชาวฮิบรู 7 อารยธรรมล่มุ แม่นา้ สินธุ 8อารยธรรมจีนในสมยั ประวิศาสตร์ 13

ภมู ภิ าคเอเชียเป็นดินแดนที่มีอารยธรรมเก่าแก่แห่งหนงึ่ ของโลกที่มีอารยธรรมที่สาคญั ได้แก่อารยธรรมลมุ่ แมน่ า้ ไทกรีส-ยเู ฟรตีสในเอเชียตะวนั ตกเฉียงใต้ อารยธรรมล่มุ แม่นา้ ฮวงโหในประเทศจีนและอารยธรรมลมุ่ แมน่ า้ สนิ ธุในประเทศอินเดีย ซงึ่ อารยธรรมในแตล่ ะแหง่ เหลา่ นีม้ ีววิ ฒั นาการมาตงั้ แตส่ มยัยคุ หินลกั ษณะสาคญั ของในทวีปเอเชียมีลกั ษณะที่สาคญั ดงั นี ้ อารยธรรมล่มุ นา้ ไทกรีส-ยกู เฟสตีสหรืออารยธรรมเมโสโปเตเมียตงั้ อย่ใู นบริเวณของที่ราบลมุ่ ไทกรีสและแมน่ า้ ยเู ฟรตีสท่ีมีความอดุ มสมบรู ณ์ในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ตกเฉียงใต้หรือในประเทศอิรักปัจจบุ นั ได้มีชนเผ่าตา่ งๆ ผลดั เปลี่ยนกนั มาสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กบั เมโสโปเตเมียที่สาคญั ได้แก่ชาวสเุ มเรียน ชาวอมอไรต์ ชาวแอสซเี รีย ชาวคาลเดียน ชาวเปอร์เซยี และชาวฮิบรู เป็นต้น 1

1.อารยธรรมของชาวสเุ มเรียน ชาวสเุ มเรียนเป็ยชนเผ่าแรกที่มาตงั้ ถิ่นฐานที่เมโสโปเตเมีย เม่ือประมาน4000ปีก่อนคริสต์ศกั ราช มีพฒั นาการเมืองเร่ิมจากหม่บู ้านก่อนพฒั นามาเป็นชมุ ชน วดั มีพระเป็นผ้ปู กครอง ศนู ย์กลางปกครองอย่ทู ี่วดั ต่อมาเมื่อชมุ ชนขยายตวั เป็นชมุ ชนใหญ่เกิดองค์การเมืองแบบนครรัฐ แตล่ ะนครรัฐเป็นอิสระไม่ขนั แก่กนั มีกษัตริย์เป็นผ้นู า ชาวสเุ มเรียนบั ถือเทพเจ้าหลายองค์แตล่ ะนครรัฐจะมีเทพพระเจ้าประจานครรัฐ ชาวสเุ มเรียนมีการประดิษฐ์อกั ษรล่ิมหรือคนู ิฟอร์ม(cuniforrm)ขนึ ้ เพือ่ ใช้ในการติดต่อสือสารกนั โดยได้บนั ทงึ ลงในแผ่นดินเหนียว วรรณกรรมของชาวสเุ มเรียน คือ มหากาพย์กิลลาเมช(Gilgamesh)กลา่ วถงึ การผจญภยั ของบรรพบรุ ุษของชาวสเุ มเรียน และมหากาพย์เอรลิล(Enlil)พรรณนาถึงการสร้างโลกและนา้ ท่วมโลก นอกจากนนั้ ชาวสเุ มเรียนยงั รู้จกั การสร้างระบบชลประทานอย่างงา่ ย เช่น การสร้างแอง่ เก็บนา้ เพ่อื ชใ่ นการเกษตรกรรมเป็นต้น รู้จกั การคิดเลขบวก ลบ คณู หาร การจดั ปฏทิ นิ แบบจนั ทรคติที่มีควานสมั พนั ธ์กบั การเครื่อนท่ีของดวงจนั ทร์ 2

2.อารยธรรมของชาวอมอไรต์ ชาวอมอไรต์เป็นชนเผ่าท่ีได้เข้ามาสร้างความเจริญรุ่งเรืองในแเดนเมโสโปเตเมียตอ่ จากชนเผา่ สเุ มเรียน และขยายอาณาจกั รออกไปอย่ากว้างขวางสถาปนาจกั รวรรดิบาบโิ ลเนียขนึ ้ ประมาณ2000 ปีก่อนตริสตร์ศกั ราช มีนครบาบโลน เป็นศนู ย์กลางการปกครอง กษัตริย์ที่สาคญั คือ ประมวลกฎหมาย ฮมั บรู าบี ถือเป็นการประมวลจดหมายฉบบั แรกของโลกซง่ึ มีบทลงโทษเป็นแบบสนองตอบหรือตาต่อตา ฟันตอ่ ฟันมีการแบง่ ชนชนั้ ในสงั คมเป็นชนชนั้ สงู ชนชนั้ กลางและชนชนั้ ต่า 3

3.อารยธรรมของชาวแอสซเี รียน ชาวแอสซีเรียได้สถาปนาจกั รวรรดิแอสซีเรียขนึ ้ เม่ือประมาณ1100 ปีก่อนคริสต์ศกั ราชมีศนู ย์กลางการปกครองอยทู่ ่ีเมืองนเิ นอเวห์ ชาแอสซีเรียมีความสามารถในการรบสามารถขยายอาณาเขตได้อย่างกว้างขว้าง และมีกองทพั ท่ีแขง็ แกร่ง มีระเบียบวินยั ความริญของชาวแอสซเี รีย ไดแก่ การปัน้ ทงั้ แบบนนู และแบบลอยตวั มกั แสดงให้เห็นถงึ สดั สว่ นของร่างกายท่ีเป็นจริง การแกะสลกั ภาพนนู ต่าท่ีแสดงเหนือการเคล่ือนไหวเหนือธรรมชาติเป็นต้น 4

4.อารยธรรมของชาวคาลเดียน พวกแคลเดียนสถาปนาจกั รวรรดิคาลเดียนหรือบาบเิ นียใหม่โดยมีกรุงบาบิโลเนียเป็นศนู ย์กลางกาปกครอง เมื่อประมาณ 612 ปีก่อนคริสต์ศกั ราชมีอารยธรรมคือการสร้างสวนลอยบาบิโลนท่ีเป็นสง่ิ สาคญั ชนิ ้ หนงึ่ ของโลกนอกจากนนั้ ชนเผ่าคาลเดียนยงั เป็นผู้ความรู้ทางดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เป็นอย่างดี 5

5.อารยธรรมของชาวเปอร์เซยี พวกเปอร์เซยี เป็นชนเผ่าหนงึ่ ท่ีได้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กบั ดนิ แดนเมโสโปเตเมีย เป็นบรรพบรุ ุษของชาวอิหร่าน ปัจจบุ นั ได้มีการสถาปนาอาณาจกั รเปอร์เซียมาตงั้ แต่ประมาณ600ปีก่อนคริสต์ศกั ราชมีความเจริญรุ่งเรืองสงู สดุ ในสมยั พระเจ้าดาริอสุ ความเจิญของชนเผ่าเปอร์เซียท่ีสาคญั ได้แก่ การรู้จกั การสร้างถนนเช่ือมระหว่างเมืองหลวงกบั ดนิ แดนต่างๆในอาณาจกั รมีความยาวถึง2500กิโลเมตรเพอ่ื ควบคมุ มณฑลตา่ งๆภายในจกั รวรรดิและเพือ่ ความสะดวกในการตดิ ตอ่ ค้าขายนอกจากนนั้ ชาวเปอร์เซยี ยงั รู้จกั การประดษิ ฐ์อกั ษรใชเ่ พื่อดการติดตอ่ ส่ือสารกนั กบั การนบัถือศาสนาโซโรแอสเตอร์ซง่ึ นบั ถือไฟเป็นต้น 6

6.อารยธรรมของชาวฮิบรูอชาวฮบิ รูหรือยวิ เป็นชนเผ่าที่ได้เข้ามาสร้างความเจริญรุ่งเรืองในดนิ แดนแมโสโปเตเมียอกิ เผา่ หนง่ึ เป็นชนเผา่ เร่ร่อนเผ่าหนงึ่ ในดินแดนเอเชียตะวนั ตกเฉียงใต้พระเจ้าเดวดิ (David)จงึสถาปนาอาณาจกั รฮิบรูขนึ ้ ซงึ่ มีความเจริญระหวา่ ง มีศนู ย์การปกครองท่ีกรุงเยรูซาเล็ม และมีความเจริญสงู สดุ ในสมยั กษัตริย์โซโรมอน (Solomon)ซง่ึ มีความเจริญระหว่าง937-933ปีก่อนคริสต์ศกั ราช ความเจริญรุ่งเรืองของชนเผา่ ฮิบรูได้แก่ความเจริญรุ่งเรืองทางด้านศาสนา โดยศาสนายดู ายของชาวฮบิ รูได้กลายมาเป็ยศาสนาคริสต์ท่ีมีผ้นู บั ถือมากท่ีสดุ ในโลกปัจจบุ นั 7

7. อารยธรรมล่มุ แม่นา้ สินธุ เป็นอารยธรรมท่ีเก่าแก่แหง่ หนงึ่ ของโลกมีความเจริญรุ่งเรืองอย่รู ะหว่าง4000-2500 ปีก่อนคริสต์ศกั ราชมีการค้นพบซากเมืองโบราณในที่ราบล่มุ แม่นา้ สินธุคือเมืองฮารัปปา(Harrappa) และเมิองโมเฮนโจดาโร(Mohenjodaaro)โดยสิ่งท่ีได้ค้นพบท่ีสาคญั ได้แก่ซากเมืองที่มีการวางผงั เมืองอยา่ งดี ตดั ถนนอย่างเป็นระเบียบ เครื่องมือทาด้วยกระดกู สตั ว์ อารยธรรมในดนิ แดนเอเชียใต้ท่ีสร้างสรรค์โดยชนเผา่ อารยนั สามารถแบ่งออกเป็นยคุ ตา่ งๆได้ ดงั นี ้ 8

ยคุ พระเวท (ประมาณ 2000-1000ปีก่อนคริสต์ศกั ราช) คือ ชว่ งแรกท่ีชาวอารยนั เร่ิมเข้ามาในอินเดีย กล่าวถึงความเป็นมาและวิถีชีวติ ของชาวอารยนั วา่ สงั คมมีการแบ่งแยกระหว่างพวกอารยนัและพวกดราวเิ ดียน มีการรวบรวมคมั ภีร์ฤคเวทซงึ่ เป็นบทสวดอ้อนวอนพระเจ้าของชยเผ่าอารยนั และมีการให้กาเนดิ ศาสนาพราหมณ์ ยคุ มหากาพย์(ประมาณ1000-500ปีก่อนคริสต์ศกั ราช)คือช่วงท่ีชาวอารยนั ขยายอานาจของตนไปยงั แคว้นตา่ งๆ มีการก่อตงั้ เมืองทงั้ ขนาดใหญ่และขนาดเลก็ มีลกั ษณะคล้ายนครรัฐ เป็นอิสระไม่ขนึ ้ แก่กนั แต่ละเมืองมีกษัตริย์ปกครอง มีการนาระบบวรรณะมาใช้เพือ่ แบง่ แยกชาวอารยนั และพวกดราวิเดียน โดยแบง่ เป็น4วรรณะ คือพราหมณ์ หรือนกั บวช กษัตริย์หรือพวกนกั รบ แพศย์ หรือพอ่ ค้า ชาวนาเจ้าของท่ีดนิ และศทู ร หรือพวกทาส จณั ฑาลคือผ้ทู ่ีทาผิดกฎเกณฑ์ ของระบบวรรณะมีการประดษิ ฐ์ภาษาสนั สกฤตและเกิดวรรณคดีขนึ ้ หลายเรื่อง เช่นมหากาพย์มหาภารตะและมหากาพย์รามายณะ เป็นต้น เชื่อในเร่ืองตรีมรู ติ คือการมีพระเจ้าสงู สกุ 3พระองค์ ได้แก่พระพราหมณ์(ผ้สู ร้าง)พระวิษณ(ุ ผ้รู ักษา)พระศิวะ(ผ้ทู าลาย) เกิดคมั ภีร์ของพราหมณ์อีก3เลม่ คือเรียกว่า ไตรเวท ประกอบด้วยคมั ภีร์ สามเวทยชรุ เวทและอาถรรพเวท ยคุ ฮินดเู ก๋า(ประมาณ550-320 ปีก่อนคริสต์ศกั ราช)เป็นยคุ ท่ีมีความเช่ือในเร่ืองที่พระมหากษัตริย์เป็นสมมติเทพมีการกาเนิดพระพทุ ธศาสนาและกาเนิดศาสนาเชน สมยั พระพทุ ธศาสนา(ประมาณ320-100ปีก่อนคริสต์ศกั ราช) เป็นช่วงเวลาที่พระพทุ ธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สดุ ในสมยั จกั รวรรดเิ มาริยะท่ีก่อตงั้ โดยพระเจ้าจนั ทรคปุ ต์และในสมยั ของพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงสนบั สนนุ พระพทุ ธศาสนาโดยทรงสง่ สมทตู ออกไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนางๆดนิ แดนต่างๆเป็นช่วงที่พระพทุ ธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สดุ ในสมยั ของราชวงศ์พระเจ้ากนิษะทรงทานบุ ารุงพระพทุ ธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองตอ่ เป็นยคุ ที่มีการเผ่ยแผ่คาสอนไปยงั เอเชียตะวนั ออก ได้แก่ จีน ญี่ป่ นุ เป็นต้น ยคุ ฮนิ ดใู หม่ (ประมาณ ค.ศ.320-550)สมยั จกั รวรรดคิ ปุ ตะเป็นช่วงเวลาที่อนิ เดียมีการฟื น้ ฟคู าสอนและศาสนาพทุ ธมีความเจริญรุ่งเรืองอยดู่ ้านวรรณคดีว่าเป็นยคุ ทองของสนั สกฤต เทพนยิ าย นทิ านสภุ าษิต 9

สมยั ราชวงศ์โมกลุ (ค.ศ.1526-1858) เป็นยคุ ที่อนิ เดียตกอย่ใู ต้การปกครองของชาวมสุ สลมิมีความเจริญสดุ ๆในสมยั พระเจ้าอกั บาร์มหาราช เป็นยคุ สดุ ท้ายก่อนตกเป็นอานานคิ มของประเทศองั กฤษมีความเจรอญรุ่งเรืองที่สาคญั ได้แก่งานทางสถาปัตยกรรมเป็นศลิ ปะผสมฮินดแู ละมองโก อินเดียภายใต้การปกครองของประเทศองั กฤษ ในอนคลายกดระเบียบทางสงั คมและยคุ ของการลา่ อณานคิ มอนิ เดียได้ตกเป็นเมืองขนึ ้ ขององั กฤษป็นเวลานานได้นาวิทยาการของชาติตะวนั ตกเข้าเผยแผ่ในอินเดียการผอ่ นคลายกฎระเบียบทางสงั คม และมีการยกเลิกประเพณีท่ีไม่ได้รับการยอมรับเชน่ การนามนษุ ย์บชู ายญั เป็นต้น สภาพสงั คมที่เคยเข้มงวดในสงั คมอินเดียได้ผ่อยคลายลง มีการเลียนแบบตะวนั ตกทงั้ การแต่งกาย การศกึ ษา ภาษาองั กฤษกลายเป็นภาษาราชการใช้ในอินเดียองั กฤษได้ประกาศให้อสิ รภาพ แก่อินเดีย หลงั สงครามโลกครัง้ ที่2 ในปี ค.ศ.1948 1 0

8.อารยธรรมจีน เร่ิมปรากฏในบริเวณล่มุ แมน่ า้ เหลือง(แม่นา้ ฮวงโห)ประมาณ2000ปีก่อนคริสต์ศกั ราชได้พฒั นาระดบั ความเจริญจากชมุ ชนยคู หนิ ใหม่ไปส่คู วามเป็นปึกแผ่นของรัฐเลก็ ๆก่อนจะรวมตวั กนั ในทางการเมืองเป็นอาณาจกั รและเป็นจกั รวรรดิในท่ีสดุ อารยธรรมจีนในสมย่ั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ เป็นดินแดนท่ีมนษุ ย์เข้ามาอาศยั ตงั้ แต่สมยั ดกึ ดาบรรพ์ประมาณ ค.ศ.1927 คอื โครงกระดกู มนษุ ย์ปักกิ่ง ซง่ึ มีอยปู่ ระมาณ 400000ปี สว่ นอารยธรรมใยยคุ หนิ ใหมข่ องจีน ได้ปรากฏได้ขดุ พบโบราณคดี2แห่งคือ 1.วฒั นธรรมหยางเซา เป็นแหล่งอารยธรรมแห่งแรกของจีนตงั้ อย่ใู นเขตที่ราบล่มุ แมน่ า้ หวงโฮจนถงึ แม่นา้ แยงซเี กียง มีการขดุ พบซากโบราณคดพีเครื่องปัน้ ดินเผาที่มีสีแดง ประดบั ประดาลวดลายเป็นเส้นตรง รู้จกั ทาเครื่องมือเคร่ืองใช้จากทองแดง 2.วฒั นธรรมลงุ ซาน พบในพนื ้ ที่มณฑลชานตงุ ทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของจีน มีการขดุ พบเครื่องปัน้ ดินเผาชนิดสามขาสีดาขดั มนั เป็นเงา อารยธรรมจีนในสมยั ประวตั ศิ าสตร์ เป็นยคุ สมนั ท่ีมนษุ ย์มีความสามารถในการประดษิ ฐ์ตวั อกั ษรเพอ่ื ใช้ในการติดต่อสื่อสารกนั โดยเร่ิมจากรัชสมยั ราชวงศ์ชางเป็นต้นมา 1 1

อารยธรรมจีนในสมยั ประวตั ศิ าสตร์ เป็นยคุ สมนั ท่ีมนษุ ย์มีความสามารถในการประดิษฐ์ตวั อกั ษรเพือ่ ใช้ในการตดิ ตอ่ สื่อสารกนั โดยเริ่มจากรัชสมยั ราชวงศ์ชางเป็นต้นมา ราชวงศ์ชาง (ประมาณ1766-1122ก่อนคริสต์ศกั ราช)เป็นราชวงศ์แรกที่ปกครองจีนมีความเจริญรุ่งเรืองท่ีสาคญั ได้แก่การปกครองแบบนครรัฐ กษัตริย์ผ้นู าการปกครองการทหารละเศรษฐกิจมีอานาจเหนือการปกครองแคว้นต่างๆ มีการประดิษฐ์ปฏทิ นิ แบบจทั รคติการประดิษฐ์ตวั อกั ษร การรู้จกั การใช้สาริดมาประดิษฐ์เป็นเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ เป็นต้น ราชวงศ์โจว(ประมาณ1122-249ก่อนคริสต์ศกั ราช)ยคุ สมยั ของราชวงศ์โจวแบง่ เป็น2ช่วงคือโจวตะวนั ตก(1122-770ก่อนคริสต์ศกั ราช) มีศนู ย์กลางการปกครองอย่ทู ่ีเมืองฉางอนั และโจวตะวนั ออก(770-256ปีก่อนคริสต์ศกั ราช)มีศนู ย์กลางการปกครองอยทู่ ่ีเมืองล่อหยางมีความเจริญรุ่งเรืองท่ีสาคญั ได้แก่ แนวคิดท่ียกย่องจกั รพรรดิให้เป็นโอรสแห่งสวรรค์ มีการนาระบบศกั ดินามาใช้ในสงั คมจีนครัง้ แรกและเป็นยคุ ท่ีถือกาเนดิ ลทั ธิขงจื๊อ ผ้ใู ห้กาเนิดคือ ขงจื๊อ ซงึ่ สอนในเรื่องคณุ ธรรมและจริยธรรมเน้นการปฏิบตั ติ นต่อสงั คมที่ตนอย่ใู ห้ดีท่ีสดุ ตามหน้าที่ของตน คือผ้ปู กครองทาหน้าท่ีผ้ปู กครอง ประชาชนทาหน้าที่ประชาชน เป็นต้น พธิ ีกรรมและการบชู าเป็นการแสดงออกท่ีดีของมนษุ ย์ คือ ความกตญั ํรู ู้คณุ และความแกรงกลวั ต่ออานาจธรรมชาติ การทาพธิ ีนามาเป็นอนั หนง่ึ อนั เดียวกนั และลทั ธิเต๋า คือลา่ จือ้ มีคาสอนให้รู้จกั รักความสงบสนั โดษดาเนินชีวิตสอดคล้องกบั ธรรมชาติ 1 3

ราชวงศ์ฉิน(221-206ก่อนคริสต์ศกั ราช)การปกครองยกเลิกการปกครองระบบศกั ดินานาการปกครองแบบรวมอานาจเข้าส้ศู นู ย์กลางมีเมืองเซยี นหยางเป็นเมืองมีความเจริญรุ่งเรืองที่สาคญัได้แก่ การผลติ เงินตรา แบบเดียวกนั เคร่ืองชงั่ ตวงมาตรฐานเดียวกนั ระเบียบการเก็บภาษีที่ดินให้เป็นระบบเดียวกนั มีการสารวจสามะโนกรประชากรครั่งแรกเพอ่ื นบั จานวนไพร่พลท่ีแท้จริงาร้างพระราชวงั อนั ใหญ่โตมโหฬาร รูปปัน้ ทหารและม้า ทาด้วยดนิ เผามีลกั ษณะเหมือนส่งิ มีชีวติ และการสร้างกาแพงเมืองจีนเพ่ือปอ้ งกนั การรุกรานชาวชนเผา่ เร่ร่อนทางเหนือ เป็นต้น ราชวงศ์ฮนั่ (202ก่อนคริสต์ศกั ราช-ค.ศ.220)เจริญรุ่งเรืองสงู สดุ ในสมยั พระเจ้าหวตู่ ิ(้ 141-87ปีก่อนคริสต์ศกั ราช)พระองค์ทรงขยายดินแดนจีนออกไปกว้างขวาง มีการสอบคดั เลือกบคุ คลเป็นข้าราชการอาศยั ความรู้ความสามารถสว่ นบคุ ลเป็นหลกั เป็นยคุ ทองทางการค้าของจีนมีการค้ากบัตา่ งประเทศโดยใช้เส้นทางสายไหมและเป็ยยคุ ที่พระพทุ ธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในแผ่นดนิ จีน ราชวงศ์ถงั (ค.ศ.618-907)เป็นยคุ ทองของจีนที่มีความเจริญรุ่งเรืองในทกุ ด้านเศรษฐกิจการค้าการเจริญรุ่งเรืองของพระพทุ ธศาสนามีการสงเสริมทางด้านการศกึ ษามีการสอบจองหงวนเป็นยคุทองทางด้านวรรณกรรม ราชวงศ์ซ้อง(ค.ศ.960-1279)มีความเจริญก้าวหน้าใสนการเดนเรือสาเภาค้าขายทางทะเลและงานศลิ ปกรรมแขนงตา่ งๆ มีความก้าวหน้าในวิทยากรใหม่หลายอย่างก่อนชาตติ ะวนั ตก เชน่ การใช้ลกู คิด การใช้เข็มทศิ ในการเดนเรือ การประดิษฐ์แท่นพมิ พ์หนงั สือ มีการประดษิ ฐ์ดินปืนการผลติถ้วยกระเบือ้ งท่ีมีคความงดงาม เป็นต้น ราชวงศ์หยวน(ค.ศ.1279-1368) เป็นราชวงศ์ของชนเผา่ มองโกท่ีเขามาประเทศจีน กษัตริย์ท่ีมีชื่อเสียง คือหงวนสีโจ๊วฮอ่ งเต้(หรือกบุ ไลขา่ น)เป็นสมยั ที่จีนมีความเข้มแข็งทางด้านการปกครองจกั รวรรดทิ ี่ยิงใหญ่มีควาเจริญทางด้านศิลปะการละครคืองวิ ้ ราชวงศ์หมงิ หรือเหม็ง(ค.ศ.1368-1644) เป็นสมยั ท่ีจีนรุ่งเรืองทางการค้าและมีการฟืน้ ฟูศลิ ปะ มีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการค้ากบั ตา่ งประเทศ ความเจริญทางด้านวรรณกรรมท่ีนิยมเขียนท่ีใช้ภาษาพดู มากกว่าภาษาเขียน เป็นต้น ราชวงศ์เชง็ หรือชงิ (ค.ศ.1644-1912)เป็นชนเผ่าแมนจทู ี่เข้ามาปกครองจีน และเป็นราชวงศ์สดุ ท้ายของจีนก่อนท่ีจะถกู ดร.ซนุ ยตั เซนปฏวิ ตั แิ ปลี่ยนแปลงการปกครองระบอกสาธารณรัฐ 1 4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook