Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคสระบุรี (7 เม.ย. 64)

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคสระบุรี (7 เม.ย. 64)

Published by wichien.ta, 2021-04-08 08:57:02

Description: มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคสระบุรี (7 เม.ย. 64)

Search

Read the Text Version

คำนำ ตาม กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ข้อ 3 กำหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษ าที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกำหนด พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาและจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา เป็นประจำทุกปี งานประกันคุณภาพและมาตราฐานการศึกษามุ่งหวังที่จะนำผลการประเมินในครั้งนี้ เป็นแนวทางในการ พัฒนาปรับปรุงวิทยาลยั ให้มีคุณภาพ เพื่อสร้างเยาวชนที่ดีของชาติ และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนในท้องถน่ิ ให้เปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้ทเี่ จริญกา้ วหน้าต่อไป งานประกันคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมือ

สารบญั หนา้ ก คำนำ ข สารบญั 1 ข้อมูลเกย่ี วกบั วิทยาลัย 2 คำชแ้ี จง 3 ประกาศวิทยาลยั เทคนิคสระบุรี 4 มาตรฐานการศึกษา วทิ ยาลัยเทคนคิ สระบุรี พ.ศ.2561 4 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ลกั ษณะของผูส้ ำเร็จการศึกษาอาชวี ศกึ ษาทพ่ี ึงประสงค์ 5 7 ประเด็นการประเมินท่ี 1.1 ด้านความรู้ 9 ประเด็นการประเมนิ ที่ 1.2 ด้านทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้ 14 ประเด็นการประเมินท่ี 1.3 ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 14 มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชวี ศกึ ษา 16 ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2.1 ด้านหลักสูตรอาชวี ศึกษา 23 ประเด็นการประเมินที่ 2.2 ดา้ นจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษา 29 ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2.3 ดา้ นการบริหารจัดการ 31 ประเดน็ การประเมินที่ 2.4 ด้านการนำนโยบายสู่การปฏบิ ัติ 31 มาตรฐานที่ 3 การสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 35 ประเด็นการประเมนิ ท่ี 3.1 ด้านความรว่ มมือในการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ ประเดน็ การประเมนิ ท่ี 3.2 ดา้ นนวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานวจิ ัย

ปรัชญา “ความร้ดู ี มวี ินัย ใฝค่ ุณธรรม กิจกรรมเดน่ ” วิสัยทศั น์ “วิทยาลัยเทคนคิ สระบรุ ี เป็นองค์กรที่มุ่งมั่นในการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาให้ได้คุณภาพมีคณุ ธรรม และสอดคล้องกับความต้องการของชมุ ชนในการพัฒนาประเทศ” อัตลักษณ์ “ทักษะเยย่ี ม” เอกลกั ษณ์ “การจัดการศึกษารว่ มกบั ชมุ ชน” พนั ธกจิ ๑. การจดั การอาชีวศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ ๒. การผลติ และพฒั นากำลงั คนดา้ นการอาชีวศกึ ษา เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ของ ประเทศ ๓. การพัฒนาศกั ยภาพกำลังคนดา้ นการอาชีวศกึ ษาใหม้ ีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการใน การพัฒนาประเทศ ๔. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มในดา้ นการอาชีวศกึ ษา ๕. การจัดการอาชีวศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งเสริมคุณภาพชวี ิต เป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม ๖. การเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบการบริหารจดั การอาชีวศึกษา

คำชีแ้ จง มาตรฐานการศึกษา วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ได้ใช้ มาตรฐานการอาชีวศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นมาตรฐานกลาง ในการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยมแี นวทางการปฏบิ ัติดังน้ี ๑. ให้สาขาวิชาทุกสาขาวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน ใช้มาตรฐานนี้ในการจัดการเรียนการสอนใน สถานศกึ ษาใหเ้ กดิ คุณภาพตามทม่ี าตรฐานการศึกษา วิทยาลยั เทคนคิ สระบรุ ี ประกาศกำหนด ๒. ใชใ้ นการประเมินตนเองสำหรบั สาขาวิชา/สาขางาน ตามประเดน็ การประเมิน



กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 กำหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกำหนด พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และดำเนินการ ตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการ ดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศกึ ษาให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้ หน่วยงานตน้ สังกัด หรอื หน่วยงานท่ีกำกับดแู ลสถานศึกษาเปน็ ประจำทุกปี จากความสำคัญดังกลา่ ว วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จึงได้ศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวงศึกษา ความต้องการในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ผลการ ประเมินและติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ได้แก่ สถานประกอบการ หน่วยงาน องค์การ สถาบันการศึกษาที่รับผู้สำเร็จการศึกษาของ สถานศกึ ษาเขา้ ทำงานหรือศึกษาต่อ ชุมชน ผู้ปกครอง ผ้เู รียน ครูของสถานศึกษา และมาตรฐานการอาชวี ศึกษา 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน เพื่อรวบรวมประเด็นความต้องการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของ สถานศึกษามากำหนดมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคสรสะบุรี ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละ ระดบั และประเภทการศึกษาทร่ี ฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกำหนด โดยมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ที่ได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี เพื่อใช้ในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และการฝึกอบรมวิชาชีพ ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมนิ ดังนี้ การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาผสู้ ำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาใหม้ ีความรู้ มีทักษะ และการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศกึ ษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ประกอบดว้ ยประเดน็ การประเมนิ ดังน้ี 1.1 ดา้ นความรู้ 1.2 ดา้ นทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้ 1.3 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์

ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือทำงาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎี หรือข้อเท็จจริง เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ อาชวี ศึกษาแต่ละระดับการศกึ ษา พจิ ารณาจาก ขอ้ รายการ ผทู้ เี่ ก่ียวข้อง 1.1.1 ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชพี - งานวดั ผลและประเมนิ ผล 1.1.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติด้านอาชวี ศึกษา (V-NET) - งานวดั ผลและประเมนิ ผล คำอธบิ าย จำนวนผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีท่ี 3 และผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ชั้นปีท่ี 2 ที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพในครั้งแรกตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสตู รเทียบร้อยละกับจำนวนผู้เรียนท่ีลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตาม โครงสรา้ งหลกั สูตรจำแนกตามระดบั ประเภทวิชาสาขาวิชาสาขางานและภาพรวมของสถานศึกษาโดยมีเกณฑ์การ ประเมินดังนี้ ระดับปวช. - ด้านความรู้ต้องไดค้ ะแนนไม่ตำ่ กว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของคะแนนเตม็ - ดา้ นทักษะและการประยุกต์ใช้ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ ของคะแนนเต็ม - ผเู้ รียนตอ้ งได้คะแนนผา่ นเกณฑ์ประเมนิ ท้งั ๒ด้านจงึ คดิ เป็นผู้ผา่ นการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี ระดับปวส. - ดา้ นความรู้ต้องได้คะแนนไม่ตำ่ กว่าร้อยละ ๗๐ ของคะแนนเตม็ - ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ต้องได้คะแนนไมต่ ่ำกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของคะแนนเต็ม - ผเู้ รียนต้องไดค้ ะแนนผ่านเกณฑป์ ระเมินท้งั ๒ด้านจึงคิดเป็นผูผ้ ่านการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี การประเมนิ ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพในครั้งแรกเทียบกับผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบ ทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลกั สตู รโดยพิจารณาในภาพรวมของสถานศกึ ษา การคำนวณ ร้อยละ = จำนวนผู้เรยี น ปวช. ๓ และ ปวส. ๒ ทีผ่ า่ นการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ในคร้ังแรก X ๑๐๐ จำนวนผ้เู รยี น ปวช. ๓ และ ปวส. ๒ ท่ีลงทะเบยี นเรียนครบทุกรายวชิ าตามโครงสร้างหลกั สตู ร

การตรวจสอบขอ้ มูล ๑. กระบวนการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพเปน็ ไปตามทส่ี ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ๒. จำนวนผ้เู รียนระดับปวช. ชน้ั ปที ่ี ๓ ทีล่ งทะเบยี นเรียนครบทกุ รายวิชาตามโครงสรา้ งหลักสตู ร ๓. จำนวนผ้เู รียนระดบั ปวส. ชนั้ ปที ่ี ๒ ทล่ี งทะเบยี นเรยี นครบทุกรายวชิ าตามโครงสร้างหลักสตู ร ๔. จำนวนผเู้ รยี นระดับปวช. ช้นั ปีท่ี ๓ ท่ผี ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชพี ในคร้งั แรก ๕. จำนวนผ้เู รียนระดบั ปวส. ช้นั ปีที่ ๒ ที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพในครั้งแรก เกณฑ์การประเมนิ นำผลการคำนวณมาเทียบกับเกณฑ์การประเมินดังนี้ ผลการประเมนิ คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป 5 ยอดเยี่ยม รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ 4 ดเี ลิศ ร้อยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ 3 ดี ร้อยละ ๕๐.๐๐ - 5๙.๙๙ 2 ปานกลาง น้อยกวา่ ร้อยละ ๕๐.๐๐ 1 กำลังพัฒนา คำอธิบาย จำนวนผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 ที่ได้คะแนนตั้งแต่ค่าคะแนนเฉล่ีย ระดับชาติขึ้นไป จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) จากสถาบันทดสอบทาง การศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) เทียบร้อยละกับจำนวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตาม โครงสร้างหลักสูตร จำแนกตามระดบั ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของสถานศึกษา การประเมิน ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปเทียบกับผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร โดยพจิ ารณาในภาพรวมของสถานศกึ ษา การคำนวณ รอ้ ยละ = จำนวนผ้เู รยี นท่ไี ดค้ ะแนนตั้งแต่คา่ คะแนนเฉลีย่ ระดบั ชาติขึ้นไป X ๑๐๐ จำนวนผู้เรียนปวช. ทล่ี งทะเบียนเรยี นครบทุกรายวชิ าตามโครงสรา้ งหลักสตู ร การตรวจสอบขอ้ มลู ๑. จำนวนผูเ้ รียนระดบั ปวช. ชนั้ ปที ่ี ๓ ทล่ี งทะเบยี นเรยี นครบทกุ รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร 2. จำนวนผเู้ รยี นระดบั ปวช. ชนั้ ปที ่ี ๓ ที่ไดค้ ะแนนตัง้ แต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดบั ชาติขึน้ ไป 3. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ในภาพรวมของสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมิน นำผลการคำนวณมาเทยี บกับเกณฑ์การประเมนิ ดังนี้ ผลการประเมิน คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป 5 ยอดเย่ยี ม รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ 4 ดีเลิศ รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ 3 ดี ร้อยละ ๕๐.๐๐ - 5๙.๙๙ 2 ปานกลาง น้อยกวา่ ร้อยละ ๕๐.๐๐ 1 กำลงั พัฒนา ผูส้ ำเรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษามที ักษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะวชิ าชีพ และทกั ษะชีวิตเป็นไปตาม มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการดำรงชีวิตอยู่ รว่ มกับผอู้ นื่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุขตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมสี ขุ ภาวะท่ีดี พิจารณาจาก ขอ้ รายการ ผทู้ ีเ่ กยี่ วขอ้ ง 1.2.1 ผู้เรียนมสี มรรถนะในการเป็นผปู้ ระกอบการหรือการประกอบอาชพี อิสระ - แผนกวิชา - ศนู ยบ์ ่มเพาะฯ 1.2.2 ผลการแขง่ ขันทักษะวิชาชีพ - แผนกวชิ าชพี คำอธบิ าย สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการ ประกอบอาชีพอิสระ สามารถประสบความสำเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ หรือ สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมตามแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระ ของศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ปรากฏผลการประเมินศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ตาม เกณฑ์การประเมนิ ท่ีสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากำหนด ในระดบั สถานศกึ ษา ระดับจังหวดั ระดบั ภาค และระดบั ชาติ การประเมิน ร้อยละของผู้เรียนที่ประสบความสำเร็จสู่การเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ เทียบกับ จำนวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ หรือมีผลการ ประเมนิ ศูนยบ์ ่มเพาะผู้ประกอบการอาชวี ศึกษา ตามเกณฑ์การประเมินที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนด

การคำนวณ ร้อยละ = จำนวนผ้เู รียนท่ีประสบความสำเรจ็ ส่กู ารเปน็ ผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ X ๑๐๐ จำนวนผู้เรยี นกลมุ่ เปา้ หมายทผ่ี า่ นการพัฒนาการเปน็ ผู้ประกอบการหรอื การประกอบอาชพี อสิ ระ การตรวจสอบขอ้ มูล 1. สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะในการเป็น ผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ หรือการพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะในการเป็นผู้ ประกอบการหรือ การประกอบอาชีพอสิ ระของศูนยบ์ ่มเพาะผ้ปู ระกอบการอาชีวศึกษา 2. จำนวนผเู้ รียนกล่มุ เปา้ หมายท่ีผา่ นการพฒั นาการเปน็ ผปู้ ระกอบการหรอื การประกอบอาชพี อสิ ระ ๓. จำนวนผเู้ รียนประสบความสำเร็จสกู่ ารเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชพี อิสระ 4. ผลการประเมินศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ตามเกณฑ์การประเมินที่สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ประกอบด้วย ระดบั 1 ดาว ระดับ 2 ดาว ระดบั 3 ดาว ระดบั 4 ดาว และ ระดับ 5 ดาว เกณฑก์ ารประเมิน นำผลการคำนวณมาเทยี บกับเกณฑก์ ารประเมิน ดงั นี้ ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไปหรือมผี ลการประเมนิ ศูนย์บ่มเพาะเพาะฯ ในระดบั 5 ดาว 5 ยอดเย่ยี ม ร้อยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ หรือมีผลการประเมินศูนย์บ่มเพาะฯ ในระดบั 4 ดาว 4 ดเี ลิศ รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ หรือมีผลการประเมินศนู ย์บม่ เพาะฯ ในระดบั 3 ดาว 3 ดี รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ – 5๙.๙๙ หรอื มผี ลการประเมนิ ศนู ย์บม่ เพาะฯ ในระดบั 2 ดาว 2 ปานกลาง น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ หรือมีผลการประเมินศูนยบ์ ่มเพาะฯ ในระดบั 1 ดาว 1 กำลงั พัฒนา คำอธิบาย สถานศึกษามีการสง่ เสริมสนับสนนุ ให้ผูเ้ รียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพปรากฏผลจากการเข้าร่วม การประกวดแข่งขันทางด้านทักษะวิชาชีพตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนดหรือหน่วยงาน อนื่ ๆ ท้งั ในระดบั จงั หวดั ระดับภาคระดับชาตหิ รอื ระดับนานาชาติ การประเมิน ๑. สถานศึกษามีการสง่ เสรมิ สนับสนุนให้มีการประกวดแข่งขันทักษะวิชาชพี ในระดับสถานศึกษา ๒. ผเู้ รียนไดร้ ับรางวลั จากการประกวดแข่งขันทักษะวิชาชพี ในระดบั จงั หวัด ๓. ผเู้ รยี นไดร้ ับรางวลั จากการประกวดแข่งขันทักษะวชิ าชพี ในระดับภาค ๔. ผเู้ รยี นไดร้ ับรางวลั จากการประกวดแข่งขันทักษะวชิ าชพี ในระดับชาติ ๕. ผเู้ รยี นไดร้ บั รางวัลจากการประกวดแข่งขนั ทักษะวชิ าชีพในระดับนานาชาติ

หมายเหตุ 1. รางวัลหมายถึงรางวัลชนะเลิศรองชนะเลิศหรือคุณภาพมาตรฐานระดับเหรียญทองเหรียญเงินเหรยี ญ ทองแดงหรือรางวัลอืน่ ๆ ไมน่ ับรางวัลชมเชย 2. การแข่งขันระดับนานาชาติหมายถึงการจัดกิจกรรมประกวดแข่งขันของหน่วยงานหรือองค์กรใน ระดับชาติของประเทศใดประเทศหนึ่งไม่นับรวมการจัดกิจกรรมประกวดแข่งขันของสถานศึกษาที่จัดขึ้นเองโดย รว่ มกบั ต่างประเทศหรอื เขา้ รว่ มกับสถานศกึ ษาในตา่ งประเทศ การตรวจสอบขอ้ มูล 1. สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพในการ เข้าร่วมการประกวดแข่งขันทางด้านทักษะวิชาชีพทั้งในระดับสถานศึกษาระดับจังหวัดระดับภาคระดับชาติและ ระดบั นานาชาติ ๒. ผลการประกวดแข่งขันทางด้านทักษะวิชาชีพตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด หรือเขา้ ร่วมกบั หนว่ ยงานอื่นๆทั้งในระดบั จังหวัดระดับภาคระดบั ชาตหิ รือระดับนานาชาติ เกณฑก์ ารประเมนิ นำผลการประเมนิ มาเทยี บกับเกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดบั คุณภาพ มีผลการประเมินตามข้อ ๑ และขอ้ ๕ 5 ยอดเย่ียม มผี ลการประเมินตามข้อ ๑ และขอ้ ๔ 4 ดีเลิศ มีผลการประเมินตามข้อ ๑ และขอ้ ๓ 3 ดี มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑ และขอ้ ๒ 2 ปานกลาง มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑ 1 กำลังพฒั นา ผ้สู ำเรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี เจตคติและกิจนิสัยท่ดี ี ภูมิใจและ รกั ษาเอกลกั ษณข์ องชาตไิ ทย เคารพกฎหมาย เคารพสทิ ธิของผอู้ น่ื มีความรับผิดชอบตามบทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ มจี ิตสาธารณะ และมีจิตสำนึกรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม พจิ ารณาจาก ข้อ รายการ ผทู้ ีเ่ กย่ี วข้อง 1.3.1 การดแู ลและแนะแนวผู้เรยี น - ครูท่ีปรึกษา 1.3.2 ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ - งานแนะแนว 1.3.3 การมีงานทำและศึกษาตอ่ ของผู้สำเรจ็ การศึกษา - งานทะเบยี น - แผนกวิชา - งานกิจกรรมฯ - ครูท่ีปรึกษา - งานแนะแนวฯ

คำอธิบาย สถานศึกษามีการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือและแนะแนวผู้เรียนให้สามารถสำเร็จการศึกษา ตาม ระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดและลดปัญหาการออกกลางคัน จำแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน และภาพรวมของสถานศกึ ษา การประเมิน ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทั้งหมดเทียบกับจำนวนผู้เรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แรกเข้าของรุ่นที่สำเร็จการศึกษา โดยพิจารณาในภาพรวมของสถานศึกษา การคำนวณ การตรวจสอบข้อมลู ๑. กระบวนการดูแลและแนะแนวผู้เรียนของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสำเร็จการศึกษาตาม ระยะเวลาทีห่ ลักสตู รกำหนด และลดปญั หาการออกกลางคนั ๒. จำนวนผเู้ รียนระดับ ปวช. ช้นั ปีท่ี 3 แรกเข้าของร่นุ ทีส่ ำเร็จการศกึ ษา ๓. จำนวนผเู้ รียนระดบั ปวส. ช้ันปีท่ี ๒ แรกเข้าของรนุ่ ทส่ี ำเร็จการศึกษา ๔. จำนวนผเู้ รียนระดบั ปวช. ของรนุ่ ท่ีสำเร็จการศกึ ษา ๕. จำนวนผเู้ รยี นระดบั ปวส. ของรุ่นท่ีสำเร็จการศึกษา 6. ผลการดูแลและแนะแนวผู้เรยี นของสถานศกึ ษา การคำนวณ รอ้ ยละ = จำนวนผู้เรยี นระดบั ปวช. และ ปวส. ทส่ี ำเร็จการศกึ ษาของรนุ่ X ๑๐๐ จำนวนผ้เู รยี นระดับ ปวช. และ ปวส. แรกเข้าของรุ่นที่สำเร็จการศึกษา เกณฑ์การประเมนิ นำผลการคำนวณมาเทียบกับเกณฑก์ ารประเมิน ดังน้ี ผลการประเมิน คา่ คะแนน ระดบั คุณภาพ รอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป 5 ยอดเยีย่ ม ร้อยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ 4 ดีเลศิ ร้อยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ 3 ดี ร้อยละ ๕๐.๐๐ – 5๙.๙๙ 2 ปานกลาง นอ้ ยกว่าร้อยละ ๕๐.๐๐ 1 กำลังพัฒนา

คำอธบิ าย ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ หมายถึง ผู้เรียนเป็นคนดี แสดงออกทั้งด้านจิตใจ และพฤติกรรม โดยเฉพาะความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ และการเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความเป็นประชาธิปไตย ทำงานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้อย่างเป็นกลั ยาณมติ ร มภี าวะผูน้ ำ กลา้ แสดงออก ภมู ิใจในความเป็นไทย เหน็ คณุ ค่าและร่วม พัฒนาภูมปิ ัญญาไทย มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือสถานศกึ ษามีการส่งเสรมิ สนบั สนุนใหผ้ เู้ รยี นร่วมกันจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพ่ือพัฒนาผ้เู รียนให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตามแนวทาง การจัดกิจกรรมขององค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) หรือองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) ปรากฏผลการประเมิน การจัดกิจกรรมขององค์การฯ ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ การประเมิน ๑. ผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความเป็น ประชาธิปไตยทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทย เห็น คุณค่าและร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือมีการจั ด กิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามแนวทางการจัดกิจกรรมขององค์การ นักวชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) หรอื องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยในพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อกท.) ๒. ผู้เรียนร้อยละ 6๐ – 6๙.99 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความเป็น ประชาธิปไตยทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทย เห็น คุณค่าและร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือมีผลการ ประเมินกิจกรรมองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) หรือองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง ประเทศไทยในพระราชปู ถัมภ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) โดยได้รับผลการประเมิน ในระดับเหรยี ญทอง เหรยี ญเงนิ หรือเหรียญทองแดง ในระดบั จงั หวัด ๓. ผู้เรียนร้อยละ 70 – 79.99 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความเป็น ประชาธิปไตยทำงานร่วมกับผู้อื่นไดอ้ ย่างเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทย เห็น คุณค่าและร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือมีผลการ ประเมินกิจกรรมองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) หรือองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง ประเทศไทยในพระราชปู ถมั ภ์สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) โดยไดร้ บั ผลการประเมิน เปน็ องค์การมาตรฐานดีเดน่ ระดบั กล่มุ จงั หวัด ๔. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ – 89.99 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความเป็น ประชาธิปไตยทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทย เห็น คุณค่าและร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือมีผลการ ประเมินกิจกรรมองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) หรือองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง ประเทศไทยในพระราชูปถมั ภส์ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อกท.) โดยไดร้ ับผลการประเมิน ในระดับเหรียญทอง เหรยี ญเงนิ หรอื เหรยี ญทองแดง ในระดบั ภาค

๕. ผู้เรียนร้อยละ 90 ขึ้นไป มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ และเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความเป็น ประชาธิปไตยทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทย เห็น คุณค่าและร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือมีผลการ ประเมินกิจกรรมองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) หรือองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง ประเทศไทยในพระราชูปถัมภส์ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) โดยไดร้ ับผลการประเมิน เปน็ องคก์ ารมาตรฐานดีเด่นระดบั ภาค หรอื องค์การมาตรฐานดเี ด่นระดบั ชาติ การตรวจสอบขอ้ มูล 1. จำนวนผู้เรียนท้ังหมดของสถานศกึ ษา 2. จำนวนผเู้ รียนท่ีมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ประกอบด้วย ความรบั ผิดชอบ ซอ่ื สตั ย์ และเสียสละเพ่ือส่วนรวม มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย ทำ งานร่วมกับผู้อื่นได้อยา่ งเป็นกลั ยาณมิตร มภี าวะผู้นำ กล้า แสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าและร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 3. หลกั ฐานสนบั สนนุ การพฒั นาผูเ้ รยี นให้มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์ ๔. ผลงานหรือผลการประเมนิ ตามเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมนิ นำผลการประเมินมาเทียบกบั เกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดบั คุณภาพ มีผลการประเมินตามข้อ ๕ 5 ยอดเยย่ี ม มผี ลการประเมินตามข้อ ๔ 4 ดเี ลิศ มีผลการประเมินตามขอ้ ๓ 3 ดี มผี ลการประเมินตามขอ้ ๒ 2 ปานกลาง มีผลการประเมินตามขอ้ ๑ 1 กำลังพฒั นา คำอธบิ าย ผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)ทั้งหมดของปีการศึกษาที่ผ่านมา มีงานทำในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษา ต่อ โดยไม่นับรวมผู้เรียนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ จำแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน และภาพรวมของสถานศึกษา การประเมนิ ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในปีการศึกษาที่ผ่านมา มีงานทำในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศกึ ษาตอ่ เทียบกับผู้สำเร็จการศกึ ษาระดับ ปวช. และ ปวส. ทั้งหมดในปีการศึกษาที่ผ่าน มา โดยพิจารณาในภาพรวมของสถานศึกษา

การคำนวณ รอ้ ยละ = จำนวนผู้สำเร็จการศกึ ษาระดับ ปวช. และ ปวส. ในปีการศกึ ษาที่ผา่ นมา ท่ีมงี านทำ หรือศึกษาต่อ X ๑๐๐ จำนวนผ้สู ำเร็จการศึกษาระดบั ปวช. และ ปวส. ท้งั หมดในปกี ารศกึ ษาที่ผ่านมา เกณฑ์การประเมิน นำผลการประเมินมาเทียบกบั เกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดบั คุณภาพ มีผลการประเมินตามขอ้ ๕ 5 ยอดเยย่ี ม มผี ลการประเมินตามข้อ ๔ 4 ดีเลิศ มีผลการประเมินตามขอ้ ๓ 3 ดี มผี ลการประเมินตามข้อ ๒ 2 ปานกลาง มีผลการประเมินตามข้อ ๑ 1 กำลังพัฒนา การตรวจสอบข้อมูล 1. กระบวนการหรอื รูปแบบในการตดิ ตามผ้สู ำเร็จการศึกษาของสถานศึกษา ๒. จำนวนผู้สำเรจ็ การศกึ ษาหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) ในปที ่ผี ่านมา ๓. จำนวนผูส้ ำเร็จการศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) ในปีทผี่ า่ นมา ๔. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในปีที่ผ่านมาที่มีงานทำ ประกอบ อาชพี อสิ ระหรือศึกษาต่อ 5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในปีที่ผ่านมาที่มีงานทำ ประกอบอาชพี อิสระหรอื ศึกษาต่อ 6. มีผลการติดตามผู้สำเรจ็ การศึกษาทมี่ ีงานทำ ประกอบอาชพี อสิ ระหรือศกึ ษาต่อ หมายเหตุ ๑. การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา หมายถึง การทำงานหรือศึกษาต่อในสาขาวิชาที่ เกยี่ วข้องกับสาขาวิชาทสี่ ำเร็จการศกึ ษา หรอื การประกอบอาชพี อสิ ระ ๒. สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษาเฉพาะการฝึกอบรมวิชาชีพ ให้พิจารณาเฉพาะการทำงานหรือการ ประกอบอาชีพอสิ ระ ไม่นับรวมการศกึ ษาต่อ

สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มี ความสำเร็จในการดำเนินการตามนโยบายสำคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วยประเดน็ การประเมิน ดงั น้ี ๒.๑ ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ๒.๒ ด้านการจดั การเรียนการสอนอาชวี ศึกษา ๒.๓ ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ๒.๔ ด้านการนำนโยบายสกู่ ารปฏิบตั ิ สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะทีส่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มกี ารปรบั ปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวชิ าใหม่ หรือกลมุ่ วชิ าเพิม่ เติมให้ทันตอ่ การเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่ เก่ียวข้อง พจิ ารณาจาก ข้อ รายการ ผู้ที่เกยี่ วข้อง 2.1.1 การพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ - งานพัฒนาหลักสูตรฯ - แผนกวิชา 2.๑.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา - งานพฒั นาหลกั สตู รฯ หรือปรบั ปรงุ รายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ๑) สถานศึกษามีการศึกษาความต้องการของตลาดแรงงานเพ่ือการพฒั นาหรือการปรบั ปรงุ หลกั สูตร ๒) สถานศึกษามีการประสานงานกับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง ในการพัฒนาหรือการปรับปรุง หลกั สูตร ๓) สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขางานหรือรายวิชาร่วมกับสถานประกอบการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้เรยี นมสี มรรถนะอาชีพสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยแี ละความ ตอ้ งการของตลาดแรงงาน ๔) สถานศกึ ษามกี ารใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะท่ไี ดจ้ ากการพัฒนา ๕) สถานศึกษามีการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะที่ได้จากการพัฒนาอย่าง ตอ่ เน่อื ง

การตรวจสอบข้อมูล 1. ผลการศึกษาความต้องการของตลาดแรงงานเพื่อการพัฒนาหรือการปรับปรุงหลกั สตู ร ๒. การมสี ว่ นรว่ มของสถานประกอบการในการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะของสถานศึกษา ๓. มีหลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของ ตลาดแรงงาน ๔. มกี ารใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะ ๕. มกี ารตดิ ตาม ประเมินผล และปรับปรุงอยา่ งต่อเนอ่ื ง เกณฑ์การประเมิน นำผลการประเมนิ มาเทยี บกับเกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้ ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม มีผลการประเมนิ ตามขอ้ ๑,๒,๓,๔,๕ 5 ดเี ลศิ ดี มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑,๒,๓,๔ 4 ปานกลาง กำลงั พัฒนา มผี ลการประเมินตามข้อ ๑,๒,๓ 3 มีผลการประเมนิ ตามข้อ ๑,๒ 2 มผี ลการประเมนิ ตามข้อ ๑ 1 การคำนวณ ร้อยละ = จำนวนสาขาวิชาหรอื สาขางานท่มี กี ารพัฒนาหลักสตู รฯ X ๑๐๐ จำนวนสาขาวชิ าหรอื สาขางานทง้ั หมด การตรวจสอบขอ้ มูล 1) จำนวนสาขาวิชาหรอื สาขางานท่ีสถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอน 2) จำนวนสาขาวิชาหรือสาขางานมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือ ปรับปรุงรายวชิ าเดมิ หรอื กำหนดรายวชิ าเพม่ิ เติม เกณฑ์การประเมิน นำผลการคำนวณมาเทยี บกบั เกณฑ์การประเมนิ ดงั น้ี ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดบั คุณภาพ ยอดเยีย่ ม รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป 5 ดเี ลิศ ดี รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ 4 ปานกลาง กำลังพฒั นา ร้อยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ 3 ร้อยละ ๕๐.๐๐ - 5๙.๙๙ 2 นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๕๐.๐๐ 1

สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื เป็นผู้พร้อมท้งั ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความเขม้ แข็งทางวชิ าการและวชิ าชพี จัดการเรยี นการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทำงาน ตามหลักสูตร มาตรฐาน คุณวุฒิอาชีวศกึ ษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกบั การจัดการศึกษาและการประเมนิ ผล การเรียนของแต่ละหลักสตู ร ส่งเสริม สนบั สนุน กำกับ ดแู ลให้ครจู ดั การเรียนการสอนรายวชิ าใหถ้ ูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ พจิ ารณาจาก ข้อ รายการ ผู้ที่เก่ียวขอ้ ง 2.2.1 คณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ส่กู ารปฏิบตั ิ - ครผู ูส้ อน - แผนกวิชา 2.2.2 การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - แผนกวชิ า และนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน - งานพฒั นาหลักสตู รฯ 2.2.๓ การจัดการเรยี นการสอน - งานบคุ ลากร - ครผู ู้สอน - แผนกวชิ า - งานวิจัย พฒั นานวัตกรรมฯ 2.2.๔ การบรหิ ารจัดการช้ันเรยี น - ครผู ูส้ อน - แผนกวิชา 2.2.๕ การพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพ - งานบคุ ลากร - ครผู สู้ อน - แผนกวชิ า 2.2.๖ การเขา้ ถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอน - ครผู ูส้ อน ในชั้นเรียน - แผนกวิชา - งานศนู ย์ขอ้ มลู สารสนเทศ

คำอธิบาย ๑. ครผู ู้สอนมกี ารวิเคราะห์หลักสตู รรายวิชา เพ่ือกำหนดหน่วยการเรียนร้ทู ม่ี ุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ ๒. แผนการจัดการเรียนรู้มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. แผนการจัดการเรียนรู้มีการกำ หนดรูปแบบการเรียนรู้สู่การปฏิบัติและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย เช่น PjBL Active Learning STEM Education เปน็ ต้น ๔. แผนการจัดการเรียนรู้มีการกำหนดการใช้สื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสม และนำมาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ๕. แผนการจัดการเรยี นรู้มีการกำหนดแนวทางการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง ดว้ ยรูปแบบวธิ ีการท่ี หลากหลาย การตรวจสอบขอ้ มลู ๑. ครผู ้สู อนวเิ คราะห์หลักสูตรรายวิชา ๒. แผนการจัดการเรียนรู้มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓. แผนการจัดการเรียนรู้มีการกำหนดรูปแบบการเรียนรู้สู่การปฏิบัติและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ หลากหลาย เชน่ PjBL Active Learning STEM Education เปน็ ต้น ๔. แผนการจัดการเรียนรู้มีการกำหนดการใช้สื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสม และนำมาใช้ในการจดั การเรียนการสอน ๕. แผนการจดั การเรียนรู้มีการกำหนดแนวทางการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง ด้วยรปู แบบ วิธีการ ท่ีหลากหลาย เกณฑก์ ารประเมนิ นำผลการประเมินมาเทยี บกบั เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั น้ี ผลการประเมนิ คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ มีผลการประเมนิ ตามข้อ ๑,๒,๓,๔,๕ 5 ยอดเยีย่ ม มีผลการประเมนิ ตามขอ้ ๑,๒,๓,๔ 4 ดเี ลิศ มีผลการประเมนิ ตามข้อ ๑,๒,๓ 3 ดี มีผลการประเมินตามขอ้ ๑,๒ 2 ปานกลาง มีผลการประเมนิ ตามขอ้ ๑ 1 กำลงั พฒั นา

การคำนวณ จำนวนครูผ้สู อนทจ่ี ัดทำแผนการจดั การเรียนร้สู ่กู ารปฏบิ ตั ทิ ี่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ รอ้ ยละ = และนำไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน X ๑๐๐ จำนวนครผู ู้สอนทง้ั หมด การตรวจสอบข้อมูล 1. จำนวนครูผสู้ อนทัง้ หมดของสถานศึกษา 2. จำนวนครูผู้สอนที่จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัตทิ ี่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและนำไปใช้ในการ จัดการเรียนการสอน เกณฑก์ ารประเมิน นำผลการคำนวณมาเทียบกบั เกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป 5 ยอดเยยี่ ม รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ 4 ดีเลิศ ร้อยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ 3 ดี รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ - 5๙.๙๙ 2 ปานกลาง นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕๐.๐๐ 1 กำลังพัฒนา คำอธบิ าย ครูผู้สอนมีคุณวุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญทุกรายวิชาที่สอน จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควธิ ีการสอนที่หลากหลาย มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง มีการใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และทำวิจัย เพอ่ื คณุ ภาพจัดการเรยี นรูแ้ ละแก้ปญั หาการจดั การเรียนรู้ การประเมิน ๑. รอ้ ยละของครผู สู้ อนทม่ี คี ุณวุฒิตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน ๒. รอ้ ยละของครูผูส้ อนทีม่ ีแผนการจดั การเรียนรคู้ รบทกุ รายวิชาท่ีสอน ๓. ร้อยละของครูผู้สอนที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนท่ี หลากหลาย มกี ารวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ๔. ร้อยละของครูผู้สอนที่ใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียน การสอน ๕. ร้อยละของครูผสู้ อนท่ีทำวิจัยเพอ่ื พัฒนาคุณภาพจดั การเรียนรู้และแก้ปัญหาการจดั การเรียนรู้

การคำนวณ กำหนดให้ N = จำนวนครูผู้สอนทั้งหมด V = จำนวนครูผู้สอนที่มีคณุ วุฒทิ างการศึกษาตรงตามสาขาวิชาท่สี อน W = จำนวนครูผู้สอนที่มแี ผนการจัดการเรยี นรคู้ รบทุกรายวชิ าท่สี อน X = จำนวนครูผู้สอนที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่ หลากหลาย มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง Y = จำนวนครูผู้สอนที่ใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการ สอน Z = จำนวนครผู สู้ อนทท่ี ำวจิ ัยเพอื่ พฒั นาคุณภาพจัดการเรยี นร้แู ละแก้ปญั หาการจดั การเรียนรู้ ร้อยละเฉลย่ี = 100{V+W+X+Y+Z} 5N การตรวจสอบข้อมลู 1. จำนวนครูผ้สู อนท้ังหมดของสถานศกึ ษา 2. จำนวนครผู สู้ อนทีม่ ีคุณวุฒกิ ารศกึ ษาตรงตามสาขาวชิ าทส่ี อน 3. จำนวนครผู ู้สอนท่มี แี ผนการจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ทกุ รายวิชาทส่ี อน 4. จำนวนครูผู้สอนที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่ หลากหลาย มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ 5. จำนวนครผู สู้ อนทใ่ี ช้สอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษา และแหล่งเรยี นรใู้ นการจัดการเรยี นการสอน 6. จำนวนครูผู้สอนที่ครทู ำวิจัยเพอื่ พฒั นาคุณภาพการจดั การเรยี นร้แู ละแก้ปญั หาการจดั การเรียนรู้ เกณฑ์การประเมนิ นำผลการคำนวณมาเทยี บกบั เกณฑ์การประเมิน ดังนี้ ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป 5 ดเี ลศิ ดี ร้อยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ 4 ปานกลาง กำลังพัฒนา ร้อยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ 3 ร้อยละ ๕๐.๐๐ - 5๙.๙๙ 2 น้อยกวา่ ร้อยละ ๕๐.๐๐ 1

คำอธิบาย ครูผู้สอนมีการจัดทำข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศหรือเอกสารประจำชั้นเรียนและ รายวชิ าใช้เทคนิควธิ กี ารบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นให้มบี รรยากาศทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ เป็นผ้เู สรมิ แรงให้ผู้เรียนมีความ มุ่งมั่นตั้งใจในการเรียน ดูแลชว่ ยเหลือผ้เู รียนรายบุคคลด้านการเรยี นและด้านอ่นื ๆ การประเมิน ๑. ร้อยละของครูผ้สู อนที่จัดทำข้อมูลผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล ๒. รอ้ ยละของครูผู้สอนทม่ี ีขอ้ มูลสารสนเทศหรอื เอกสารประจำช้นั เรยี นและรายวิชาเปน็ ปจั จุบนั ๓. รอ้ ยละของครูผู้สอนที่ใช้เทคนคิ วธิ กี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นให้มบี รรยากาศทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ๔. ร้อยละของครผู ้สู อนท่ีใช้วธิ ีการเสรมิ แรงใหผ้ ้เู รยี นมคี วามมงุ่ มัน่ ตั้งใจในการเรียน ๕. ร้อยละของครูผสู้ อนท่ีดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี นรายบคุ คลดา้ นการเรยี นและด้านอน่ื ๆ การคำนวณ กำหนดให้ N = จำนวนครผู สู้ อนทั้งหมด V = จำนวนครูผู้สอนท่จี ัดทำข้อมลู ผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล W = จำนวนครูผ้สู อนท่มี ีข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจำชัน้ เรียนและรายวชิ าเปน็ ปัจจุบนั X = จำนวนครผู ูส้ อนท่ใี ชเ้ ทคนคิ วิธกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นใหม้ ีบรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้ Y = จำนวนครผู สู้ อนทใ่ี ช้วธิ ีการเสรมิ แรงใหผ้ ู้เรียนมีความมุง่ ม่ันตั้งใจในการเรียน Z = จำนวนครผู สู้ อนท่ีดแู ลชว่ ยเหลือผ้เู รยี นรายบุคคลด้านการเรียนและดา้ นอน่ื รอ้ ยละเฉลย่ี = 100{V+W+X+Y+Z} 5N การตรวจสอบข้อมูล 1. จำนวนครผู ู้สอนทงั้ หมดของสถานศึกษา 2. จำนวนครูผ้สู อนท่ีจัดทำขอ้ มลู ผูเ้ รียนเป็นรายบุคคล 3. จำนวนครูผู้สอนท่มี ีขอ้ มูลสารสนเทศและเอกสารประจำช้ันเรยี นและรายวชิ าเป็นปัจจบุ ัน 4. จำนวนครูผูส้ อนที่ใช้เทคนคิ วิธีการบริหารจดั การชน้ั เรยี นให้มบี รรยากาศทเี่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ 5. จำนวนครผู ้สู อนทใี่ ช้วิธเี สรมิ แรงให้ผูเ้ รยี นมคี วามม่งุ มัน่ ตง้ั ใจในการเรียน 6. จำนวนครูผู้สอนท่ดี แู ลชว่ ยเหลือผเู้ รียนรายบคุ คลดา้ นการเรยี นและด้านอนื่ ๆ

เกณฑก์ ารประเมนิ นำคา่ ร้อยละเฉลย่ี ทีค่ ำนวณมาเทยี บกับเกณฑ์การประเมนิ ดังน้ี ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป 5 ดีเลศิ ดี รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ 4 ปานกลาง กำลงั พฒั นา รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ 3 รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ - 5๙.๙๙ 2 นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕๐.๐๐ 1 คำอธบิ าย ครูผ้สู อนจัดทำแผนพฒั นาตนเองและเขา้ ร่วมกระบวนการพัฒนาวชิ าชพี ไดร้ บั การพฒั นาตามแผนพฒั นา ตนเองและกระบวนการพัฒนาวชิ าชพี มกี ารนำผลการพัฒนาตนเองมาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนมผี ลงานจาก การพัฒนาตนเองและการพฒั นาวิชาชพี ผลงานหรอื นวัตกรรมได้รบั การยอมรบั หรือเผยแพร่ การประเมนิ ๑. รอ้ ยละของครูผ้สู อนท่จี ัดทำแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมการพัฒนาวชิ าชพี ๒. ร้อยละของครูผสู้ อนที่ไดร้ ับการพฒั นาตนเองอยา่ งน้อย 12 ชว่ั โมงต่อปี ๓. ร้อยละของครผู ้สู อนทน่ี ำผลจากการพฒั นาตนเองและการพฒั นาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ๔. รอ้ ยละของครผู สู้ อนที่มผี ลงานจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวชิ าชพี ๕. รอ้ ยละของครผู ้สู อนท่ีมีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวชิ าชพี ท่ีได้รับการยอมรบั หรือเผยแพร่ การคำนวณ กำหนดให้ N = จำนวนครผู สู้ อนทง้ั หมด V = จำนวนครูผสู้ อนท่จี ัดทำแผนพฒั นาตนเองและเข้ารว่ มการพัฒนาวิชาชพี W = จำนวนครูผสู้ อนทีไ่ ด้รบั การพฒั นาตนเองอยา่ งน้อย 12 ชั่วโมงต่อปี X = จำนวนครผู สู้ อนท่นี ำผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชพี มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน Y = จำนวนครูผูส้ อนท่ีมีผลงานจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวิชาชพี Z = จำนวนครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับหรือ เผยแพร่ ร้อยละเฉลยี่ = 100{V+W+X+Y+Z} 5N

การตรวจสอบข้อมลู 1. จำนวนครูผู้สอนท้งั หมดของสถานศกึ ษา 2. จำนวนครูผสู้ อนทจี่ ดั ทำแผนพฒั นาตนเองและเขา้ ร่วมการพฒั นาวชิ าชพี 3. จำนวนครผู ูส้ อนได้รับการพัฒนาตนเองอยา่ งนอ้ ย 12 ช่วั โมงต่อปี 4. จำนวนครผู ูส้ อนท่ีนำผลจากการพฒั นาตนเองและการพฒั นาวชิ าชีพมาใช้ในการจดั การเรียนการสอน 5. จำนวนครูผสู้ อนทม่ี ผี ลงานจากการพฒั นาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ 6. จำนวนครูผู้สอนที่ใช้นวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับ หรือ เผยแพร่ เกณฑก์ ารประเมนิ นำค่าร้อยละเฉลย่ี ที่คำนวณมาเทียบกับเกณฑ์การประเมนิ ดงั น้ี ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดับคุณภาพ ยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป 5 ดเี ลิศ ดี รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ 4 ปานกลาง กำลงั พฒั นา ร้อยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ 3 รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ - 5๙.๙๙ 2 นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕๐.๐๐ 1 คำอธิบาย สถานศึกษาพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนใช้ในการจัดการเรียนการสอน การสืบคน้ และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรยี นไดเ้ ตม็ ศักยภาพ การประเมนิ ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในการจัดการเรี ยนการสอน เทียบกับจำนวนห้องเรยี น หอ้ งปฏิบัติการทีใ่ ช้ในการจดั การเรยี นการสอนทั้งหมดของสถานศกึ ษา การคำนวณ รอ้ ยละ = จำนวนหอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทสี่ ามารถใช้อินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สงู ในการจดั การเรยี นการสอน X ๑๐๐ จำนวนหอ้ งเรยี น ห้องปฏิบตั ิการทใี่ ช้ในการจัดการเรียนการสอนทงั้ หมดของสถานศึกษา การตรวจสอบข้อมลู 1. จำนวนห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารท่ใี ช้ในการจัดการเรยี นการสอนทงั้ หมดของสถานศึกษา 2. จำนวนหอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบัติการที่สามารถใช้อนิ เทอรเ์ น็ตความเรว็ สงู ในการจดั การเรียนการสอน

เกณฑ์การประเมิน นำค่าร้อยละเฉลี่ยท่คี ำนวณมาเทยี บกบั เกณฑ์การประเมิน ดังนี้ ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป 5 ยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ 4 ดีเลิศ รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ 3 ดี รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ - 5๙.๙๙ 2 ปานกลาง นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕๐.๐๐ 1 กำลงั พัฒนา สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และงบประมาณของสถานศึกษาทีม่ ี อยูอ่ ยา่ งเต็มศักยภาพและมปี ระสิทธภิ าพ พิจารณาจาก ขอ้ รายการ ผู้ท่ีเก่ียวข้อง 2.3.1 การบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ - งานศนู ย์ขอ้ มูลสารสนเทศ สถานศึกษา 2.3.2 อาคารสถานที่ หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏิบัตกิ าร โรงฝกึ งาน หรืองานฟารม์ - ครผู สู้ อน - แผนกวิชา - งานอาคารสถานท่ี 2.3.๓ ระบบสาธารณูปโภคพ้นื ฐาน - แผนกวิชา - งานอาคารสถานที่ 2.3.๔ แหล่งเรยี นรู้และศนู ยว์ ทิ ยบริการ - งานวทิ ยบริการฯ - แผนกวชิ า 2.3.๕ ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายใน - งานศูนย์ข้อมูล สถานศกึ ษา - แผนกวิชา คำอธบิ าย ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการบริหารสถานศึกษา มีระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการสถานศึกษา ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ สถานศกึ ษา

การประเมนิ 1. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาจดั ให้มีข้อมูลพื้นฐานทีจ่ ำเปน็ ในการบริหารจดั การศึกษา 2. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาจดั ให้มรี ะบบข้อมูลสารสนเทศสำหรบั การบรหิ ารจัดการดา้ นตา่ ง ๆ 3. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามีการนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการบริหารจัดการข้อมลู สารสนเทศ 4. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามกี ารประเมินประสทิ ธภิ าพระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5. ผู้บรหิ ารสถานศึกษามีการนำผลจากการประเมนิ ไปใช้พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือใช้ในการ บริหารจัดการศกึ ษา การตรวจสอบขอ้ มูล ๑. ขอ้ มลู พน้ื ฐานท่จี ำเปน็ ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ๒. มีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ๓. การใชข้ อ้ มูลสารสนเทศในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา ๔. ผลการประเมนิ ประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕. ผลการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการสถานศึกษา เกณฑ์การประเมิน นำผลการประเมนิ มาเทียบกับเกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้ ผลการประเมนิ คา่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม มีผลการประเมินตามข้อ ๑,๒,๓,๔,๕ 5 ดเี ลิศ ดี มผี ลการประเมินตามข้อ ๑,๒,๓,๔ 4 ปานกลาง กำลงั พัฒนา มีผลการประเมินตามขอ้ ๑,๒,๓ 3 มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑,๒ 2 มีผลการประเมนิ ตามขอ้ ๑ 1 คำอธิบาย สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอำนวยความสะดวกให้มีความพร้อมและเพียงพอต่อการใช้งาน ของผู้เรยี นหรอื ผรู้ ับบรกิ าร เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้ สอดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษา การประเมนิ 1. สถานศึกษามีอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอำนวยความสะดวกในการให้บริการผูเ้ รยี นเพียงพอต่อความต้องการ และมีการพัฒนาดูแลสภาพแวดล้อม ภูมทิ ศั น์ของสถานศกึ ษาให้เอ้อื ต่อการจัดการเรียนรู้ 2. สถานศึกษามีแผนงาน โครงการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอำนวยความสะดวกให้มีความพร้อมและ เพยี งพอต่อการใชง้ านของผู้เรยี นหรือผ้รู ับบริการโดยการมีสว่ นรว่ มของครู บุคลากรและผเู้ รยี น

3. สถานศึกษามีการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรยี นรู้ โรงฝกึ งาน หรอื งานฟารม์ และสิง่ อำนวยความสะดวกตามแผนงาน โครงการท่ีกำหนด 4. สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัตกิ าร แหล่งการเรยี นรูโ้ รง ฝึกงาน หรืองานฟารม์ และสิ่งอำนวยความสะดวกทเี่ อ้ือต่อการจดั การเรียนรู้ 5. สถานศึกษาปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหลง่ การเรียนรู้ โรงฝกึ งาน หรอื งานฟารม์ และส่ิงอำนวยความสะดวกใหส้ อดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษา การตรวจสอบข้อมลู 1. อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอำนวย ความสะดวกในการใหบ้ ริการผูเ้ รียนเพยี งพอต่อความต้องการ 2. แผนงาน โครงการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรยี นรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอำนวยความสะดวกให้มีความพร้อมและเพียงพอต่อการใช้งาน ของผเู้ รียนหรือผูร้ บั บริการโดยการมีส่วนรว่ มของครู บุคลากรและผเู้ รยี น 3. การพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมทิ ัศน์ อาคารสถานที่ หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏิบตั กิ าร แหลง่ การเรยี นรู้ โรงฝกึ งาน หรอื งานฟาร์ม และสิ่งอำนวยความสะดวกตามแผนงาน โครงการทกี่ ำหนด 4. สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรือ งานฟาร์ม และสิง่ อำนวยความสะดวกเอ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ 5. สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรือ งานฟาร์ม และส่ิงอำนวยความสะดวกสอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศกึ ษา เกณฑ์การประเมิน นำผลการประเมนิ มาเทยี บกบั เกณฑก์ ารประเมิน ดังน้ี ผลการประเมิน คา่ คะแนน ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑,๒,๓,๔,๕ 5 ดีเลิศ ดี มีผลการประเมินตามข้อ ๑,๒,๓,๔ 4 ปานกลาง กำลังพัฒนา มีผลการประเมนิ ตามข้อ ๑,๒,๓ 3 มีผลการประเมินตามขอ้ ๑,๒ 2 มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑ 1

คำอธิบาย สถานศึกษามีการบริหารจัดการระบบไฟฟ้า ระบบประปา ระบบคมนาคม ระบบการสื่อสาร รวมทั้งการ จัดระบบรักษาความปลอดภัยภายในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่ออำนวยประโยชน์สำหรับให้บริการทาง การศึกษาแก่บคุ ลากรทางการศึกษา ผ้เู รยี น หรอื ผใู้ ช้บรกิ ารในสถานศึกษา การประเมิน 1. สถานศึกษามีระบบไฟฟ้าทเ่ี หมาะสมกบั สภาพใช้งานในสถานศึกษา ได้แก่ 1.1 ระบบส่งกำลัง 1.2 ระบบควบคุม 1.3 ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั ิการ โรงฝึกงานหรอื งานฟารม์ 1.4 สภาพวสั ดุ อปุ กรณ์ของระบบไฟฟ้าอยูใ่ นสภาพพร้อมใชง้ าน และปลอดภัย 2. สถานศกึ ษามีระบบประปา หรอื นำ้ ดื่ม น้ำใชเ้ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการ 3. สถานศึกษามีถนน ช่องทางเดิน หรอื ระบบคมนาคมในสถานศึกษาที่สะดวก ปลอดภัย มีระบบระบายน้ำ ระบบกำจดั ขยะภายในสถานศกึ ษาท่สี อดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษา 4. สถานศึกษามรี ะบบการสือ่ สารภายใน และภายนอกทท่ี นั สมยั สะดวก รวดเร็ว 5. สถานศกึ ษามรี ะบบรกั ษาความปลอดภัย การตรวจสอบขอ้ มลู ๑. ระบบไฟฟ้าท่ีเหมาะสมกับสภาพใชง้ านในสถานศึกษา ๒. ระบบประปา หรือน้ำด่มื น้ำใชเ้ พียงพอต่อความตอ้ งการ ๓. ถนน ช่องทางเดิน หรือระบบคมนาคมในสถานศึกษาที่สะดวก ปลอดภัย มีระบบระบายน้ำ ระบบกำจดั ขยะภายในสถานศึกษาทีส่ อดคล้องกับบรบิ ทของสถานศึกษา ๔. ระบบการส่อื สารภายใน และภายนอกท่ีทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ๕. ระบบรักษาความปลอดภัย เกณฑ์การประเมิน นำผลการประเมนิ มาเทียบกบั เกณฑ์การประเมนิ ดงั น้ี ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม มีผลการประเมนิ 5 ขอ้ 5 ดเี ลศิ ดี มีผลการประเมนิ 4 ขอ้ 4 ปานกลาง กำลงั พัฒนา มีผลการประเมนิ 3 ขอ้ 3 มผี ลการประเมนิ 2 ข้อ 2 มีผลการประเมิน 1 ข้อ 1

คำอธบิ าย สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการหรือห้องสมุดที่มีความพร้อมและเพียงพอสำหรับให้ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผูเ้ รียน หรอื ผูส้ นใจ ใชบ้ ริการคน้ คว้าหาความรเู้ พอื่ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ การประเมนิ 1. สถานศกึ ษามีแผนงาน โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรู้และศนู ย์วทิ ยบริการหรอื หอ้ งสมุดอย่างต่อเนื่อง ๒. สถานศึกษามีศูนย์วิทยบริการหรือห้องสมุดที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการศึกษา ค้นคว้า ของครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผูเ้ รียน หรือผสู้ นใจ ๓. ศูนย์วิทยบริการหรือห้องสมุดมีจำนวนหนังสือต่อจำนวนผู้เรียนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และมีระบบสืบค้นด้วยตนเองเพยี งพอ ๔. สถานศกึ ษามกี ารสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรยี นเข้าใช้บรกิ ารศูนย์วิทยบริการหรือห้องสมุดไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80ของผู้เรียนท้งั หมดของสถานศกึ ษาโดยพิจารณาจากสถติ ิของผู้ใช้บริการ ๕. มีแหลง่ เรียนรู้ หรือสือ่ อุปกรณ์ ห้องเรียนเฉพาะทางครบทกุ สาขาวิชาทส่ี ถานศึกษาจดั การเรียนการสอน การตรวจสอบข้อมูล 1. แผนงาน โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรแู้ ละศูนยว์ ิทยบริการหรอื หอ้ งสมดุ ๒. ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารหรอื หอ้ งสมดุ มสี ภาพแวดล้อมเอ้ือตอ่ การศึกษา ค้นคว้าของครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผู้เรยี น หรอื ผูส้ นใจ ๓. จำนวนหนังสือต่อจำนวนผู้เรียนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และมีระบบสืบค้นด้วยตนเอง เพียงพอ ๔. จำนวนผูเ้ รียนทง้ั หมดของสถานศกึ ษา ๕. จำนวนผู้เรียนทใี่ ช้บรกิ ารศนู ยว์ ิทยบริการหรือห้องสมุด ๖. จำนวนสาขาวชิ าทสี่ ถานศึกษาจดั การเรยี นการสอน ๗. จำนวนสาขาวชิ าทีม่ แี หล่งเรยี นรู้ หรือสือ่ อปุ กรณ์ ห้องเรียนเฉพาะทาง เกณฑก์ ารประเมิน นำผลการประเมนิ มาเทียบกบั เกณฑ์การประเมิน ดังน้ี ผลการประเมนิ คา่ คะแนน ระดับคุณภาพ ยอดเยีย่ ม มีผลการประเมนิ 5 ข้อ 5 ดเี ลศิ ดี มีผลการประเมิน 4 ข้อ 4 ปานกลาง กำลงั พฒั นา มผี ลการประเมิน 3 ข้อ 3 มผี ลการประเมิน 2 ข้อ 2 มีผลการประเมิน 1 ขอ้ 1

คำอธบิ าย สถานศึกษามีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง สำหรับบริหารจัดการระบบสารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพ ในการบริหารจดั การสถานศึกษา ในด้านความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ทันเหตุการณ์ ประหยัดเวลา บุคลากรและ งบประมาณ เกิดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศระหว่างสถานศึกษากับสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษาและหนว่ ยงานอื่นทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง การประเมนิ 1. สถานศกึ ษามีระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตทีม่ ปี ระสิทธิภาพเหมาะสมกบั การใชง้ าน 2. มผี ูร้ ับผิดชอบ ดูแล และบริหารจดั การข้อมลู การเข้าถงึ ข้อมลู ระบบความปลอดภยั ในการจัดเกบ็ และ ใช้ขอ้ มูล 3. มรี ะบบอนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สงู ครอบคลุมพ้นื ท่ใี ชง้ านภายในสถานศึกษา 4. มีระบบสารสนเทศเช่ือมโยงการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา 5. มรี ะบบสารสนเทศเชอื่ มโยงการบริหารจัดการภายนอกสถานศึกษา การตรวจสอบขอ้ มลู 1. ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพเหมาะสมกบั การใช้งาน 2. ผู้รับผิดชอบ ดูแล และบรหิ ารจดั การขอ้ มลู การเข้าถงึ ข้อมลู ระบบความปลอดภยั ในการจดั เก็บและใช้ ขอ้ มูล 3. ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ครอบคลุมพน้ื ทใี่ ช้งานภายในสถานศกึ ษา 4. ระบบสารสนเทศเช่อื มโยงการบรหิ ารจดั การภายในสถานศึกษา 5. ระบบสารสนเทศเช่ือมโยงการบรหิ ารจัดการภายนอกสถานศกึ ษา เกณฑก์ ารประเมนิ นำผลการประเมนิ มาเทยี บกับเกณฑก์ ารประเมิน ดงั น้ี ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม มผี ลการประเมนิ 5 ข้อ 5 ดเี ลศิ ดี มผี ลการประเมิน 4 ข้อ 4 ปานกลาง กำลงั พฒั นา มีผลการประเมนิ 3 ข้อ 3 มีผลการประเมนิ 2 ขอ้ 2 มีผลการประเมิน 1 ข้อ 1 หมายเหตุ : ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (Broadband Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยง เข้ากับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้เกิดการสื่อสารและแลกเปล่ี ยนข้อมูลที่ เป็นสื่อประสมและมีรายละเอียดสูงได้อย่างรวดเร็ว โดยมีความเร็วไม่น้อยกว่า 100 Mbps(เมกะบิท ตอ่ วนิ าที)

สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนนิ การบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสำคัญที่หน่วยงานตน้ สังกัดหรือหน่วยงานที่กำกบั ดแู ลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผู้เรียนรวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานที่ เกย่ี วข้องท้ังภาครฐั และภาคเอกชน พิจารณาจาก ขอ้ รายการ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง 2.4.1 การจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี - งานอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี - แผนกวชิ า คำอธิบาย ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจงึ ได้จัดทำแนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีขน้ึ เพ่ือให้สถานศึกษา และสถานประกอบการนำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ให้มคี ุณภาพและประสิทธิภาพ ย่งิ ขึน้ การประเมิน การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการจัดการ อาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ที่สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ประกอบด้วย 5 ขัน้ ตอน ดังนี้ ขน้ั ท่ี 1 ขั้นเตรียมความพร้อมในการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี 1.1 การสำรวจความพรอ้ มของสถานประกอบการ หนว่ ยงาน องคก์ าร ในการจัดการอาชวี ศกึ ษา ระบบทวภิ าคีรว่ มกับสถานศึกษา 1.2 การบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมอื (MOU) ในการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี ข้ันท่ี 2 ข้นั วางแผนในการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี 2.1 จดั ทำแผนงานและจัดทำ แผนการเรียนในการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีรว่ มกับสถาน ประกอบการ หนว่ ยงาน องค์การ 2.2 ประชาสัมพันธ์ แนะแนวผู้เรยี น ข้นั ท่ี 3 ขน้ั จัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี 3.1 คัดเลือกผู้เขา้ เรียน 3.2 ทำสญั ญาการฝกึ อาชพี ปฐมนิเทศผ้เู รยี น การประชมุ ผู้ปกครอง 3.3 จดั ทำแผนการจัดการเรียนรหู้ รอื แผนการฝกึ อาชพี 3.4 จดั การเรยี นการสอนหรอื การฝกึ อาชพี ขั้นท่ี 4 ขั้นตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพในการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี 4.1 การนเิ ทศการจดั การเรียนการสอนหรือการฝึกอาชพี 4.2 การวัดและประเมินผลรายวชิ าหรือการฝึกอาชีพ

ข้นั ที่ 5 ข้ันสรปุ รายงานผลการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี 5.1 การสำเรจ็ การศกึ ษาผ้เู รยี นอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี 5.2 การตดิ ตามผูส้ ำเร็จการศกึ ษาอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี 5.3 การสรปุ ผลการดำเนินงานและรายงานประจำปีในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี การตรวจสอบข้อมลู ๑. ความพรอ้ มในการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคีของสถานศกึ ษา ๒. การวางแผนในการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคขี องสถานศึกษา ๓. การจดั การเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคขี องสถานศกึ ษา 4. การติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพในการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษา 5. การสรปุ รายงานผลการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคขี องสถานศกึ ษา เกณฑ์การประเมิน นำผลการประเมินมาเทียบกบั เกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้ ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม มีผลการประเมิน ครบถ้วน ท้ัง 1, 2, 3, 4, 5 5 ดเี ลศิ ดี มผี ลการประเมิน ครบถว้ น ตั้งแต่ขั้นตอนท่ี 1, 2, 3, 4 4 ปานกลาง กำลังพัฒนา มผี ลการประเมิน ครบถว้ น ตั้งแต่ขัน้ ตอนท่ี 1, 2, 3 3 มีผลการประเมิน ครบถ้วน ตั้งแต่ขนั้ ตอนที่ 1, 2 2 มีผลการประเมิน ครบถว้ น ตามขน้ั ตอนท่ี 1 1

สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั ประกอบดว้ ยประเดน็ การประเมนิ ดงั น้ี ๓.๑ ดา้ นความร่วมมือในการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ ๓.๒ ดา้ นนวัตกรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการ จัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้ เทคโนโลยที ี่เหมาะสม เพื่อพฒั นาผเู้ รียนและคนในชุมชนสู่สังคมแห่งการเรยี นรู้ พิจารณาจาก ข้อ รายการ ผ้ทู ีเ่ กีย่ วขอ้ ง 3.1.1 การบริหารสถานศึกษาแบบมสี ่วนร่วม - งานประกนั ฯ 3.1.๒ การระดมทรัพยากรเพอ่ื การจัดการเรยี นการสอน - งานวางแผนและงบประมาณ - งานบคุ ลากร 3.1.๓ การบรกิ ารชมุ ชนและจิตอาสา - งานบริหารงานทว่ั ไป - งานความรว่ มมอื - งานบคุ ลากร - แผนกวิชา - งานแนะแนว - งานโครงการพเิ ศษฯ - งานกจิ กรรมฯ - แผนกวิชา คำอธิบาย ผู้บริหารสถานศึกษาให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วม ในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษา จัดทำแผนพฒั นาสถานศึกษาและแผนปฏิบตั ิราชการประจำปี หรือแผนปฏบิ ตั งิ านประจำปี และได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามสี ่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการ ของสถานศึกษา ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการสถานศึกษา และใช้นวัตกรรมในการบริหารจัดการ สถานศกึ ษา

การประเมิน ๑. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีสว่ นรว่ มในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษามสี ว่ นรว่ มในการจัดทำแผนพฒั นาสถานศึกษา ๓. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามสี ว่ นรว่ มในการจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ๔. คณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการบริหารสถานศึกษามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ สถานศึกษา ๕. ผู้บริหารสถานศึกษามนี วตั กรรมการมีสว่ นรว่ มในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา การตรวจสอบขอ้ มลู ๑. การมีสว่ นร่วมในการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ๒. การมสี ว่ นรว่ มในการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ๓. การมีส่วนรว่ มในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ๔. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาในการบริหาร จดั การสถานศกึ ษา ๕. มกี ารใชน้ วตั กรรมในการบริหารจัดการสถานศึกษา หมายเหตุ : สำหรับสถานศึกษาเอกชนคณะกรรมการสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงเรยี นเอกชน เกณฑ์การประเมนิ นำผลการประเมนิ มาเทียบกบั เกณฑ์การประเมนิ ดังน้ี ผลการประเมนิ คา่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม มผี ลการประเมินตามข้อ ๑,๒,๓,๔,๕ 5 ดีเลศิ ดี มีผลการประเมินตามข้อ ๑,๒,๓,๔ 4 ปานกลาง กำลงั พฒั นา มีผลการประเมินตามข้อ ๑,๒,๓ 3 มีผลการประเมินตามขอ้ ๑,๒ 2 มีผลการประเมนิ ตามข้อ ๑ 1 คำอธิบาย สถานศึกษามีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการอาชีวศึกษาทั้งใน ประเทศและหรือต่างประเทศ ในด้านครูพิเศษ ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น ครูผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิสถาน ประกอบการ ด้านงบประมาณ ทุนการศึกษา วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ และมีการประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อการปรับปรุงอย่างตอ่ เน่ือง

การประเมิน 1. สถานศึกษามีแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรที่หลากหลายในการจัดการอาชีวศึกษาทั้งใน ประเทศและหรือต่างประเทศ 2. สถานศกึ ษามเี ครือข่ายความรว่ มมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานอ่ืน ๆ เพื่อพฒั นาศักยภาพครู และครฝู กึ ในสถานประกอบการ 3. สถานศึกษามีการจัดให้ครูพิเศษ ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น ครูผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิในสถาน ประกอบการทั้งในประเทศและหรือต่างประเทศร่วมพัฒนาผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนสาขางานท่ี สถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอน 4. สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เช่น งบประมาณ ทุนการศึกษา วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ปรากฏผลการพัฒนาตามวัตถุประสงค์ของการระดมทรัพยากรอย่าง เปน็ รูปธรรม 5. สถานศึกษามีการประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรในการ จัดการอาชวี ศกึ ษากับเครอื ข่าย เพื่อการปรบั ปรงุ และพฒั นาอย่างต่อเน่ือง การตรวจสอบขอ้ มูล 1. แผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรที่หลากหลายในการจัดการอาชีวศึกษา ทั้งในประเทศและ หรือตา่ งประเทศ ๒. เครือข่ายความร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาของ สถานศกึ ษา 3. จำนวนสาขางานท้งั หมดทีส่ ถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอน 4. จำนวนสาขางานที่จัดให้ครูพิเศษ ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น ครูผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิในสถาน ประกอบการ ทัง้ ในประเทศและหรอื ต่างประเทศรว่ มพัฒนาผเู้ รยี น ๕. ผลการระดมทรพั ยากรของสถานศึกษา ๖. ผลการประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรในการจัดการ อาชวี ศกึ ษากบั เครอื ข่าย เพื่อการปรบั ปรงุ และพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง เกณฑ์การประเมิน นำผลการประเมินมาเทียบกับเกณฑ์การประเมนิ ดังนี้ ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑,๒,๓,๔,๕ 5 ดเี ลศิ ดี มผี ลการประเมินตามข้อ ๑,๒,๓,๔ 4 ปานกลาง กำลังพัฒนา มีผลการประเมนิ ตามขอ้ ๑,๒,๓ 3 มผี ลการประเมนิ ตามข้อ ๑,๒ 2 มีผลการประเมนิ ตามข้อ ๑ 1

คำอธบิ าย สถานศึกษามีการบริหารจัดการ การบริการชุมชน การบริการวิชาการ การบริการวิชาชีพ และจิตอาสา โดยการมีสว่ นร่วมของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูเ้ รยี น และสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นเปน็ ผมู้ ีจติ อาสาโดยใช้ วิชาชีพสร้างประโยชนใ์ ห้กบั ชมุ ชนและสงั คม การประเมิน ๑. สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมให้ผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมบริการชุมชน ๒. สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมให้ผ้บู ริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผ้เู รยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมบรกิ ารวิชาการ ๓. สถานศึกษาจัดกิจกรรมให้ผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผูเ้ รยี นเข้ารว่ มกิจกรรมบรกิ ารวิชาชพี ๔. สถานศึกษาจดั กจิ กรรมใหผ้ บู้ ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผู้เรยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมจิตอาสา ๕. สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริการชุมชน วิชาการ วิชาชพี และจิตอาสาของสถานศึกษา การตรวจสอบขอ้ มลู ๑. ผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมบรกิ ารชมุ ชนของผูบ้ รหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผู้เรยี น ๒. ผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมบรกิ ารวชิ าการของผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผ้เู รยี น ๓. ผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมบริการวิชาชพี ของผ้บู รหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูเ้ รยี น ๔. ผลการเข้ารว่ มกิจกรรมจิตอาสาของผู้บรหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียน ๕. การใชน้ วัตกรรมในการบรกิ ารชมุ ชน วิชาการ วชิ าชพี และจติ อาสาของสถานศกึ ษา เกณฑ์การประเมนิ นำผลการประเมินมาเทียบกับเกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ ผลการประเมนิ คา่ คะแนน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม มผี ลการประเมนิ 5 ขอ้ 5 ดเี ลิศ ดี มีผลการประเมนิ 4 ข้อ 4 ปานกลาง กำลังพัฒนา มผี ลการประเมนิ 3 ข้อ 3 มผี ลการประเมนิ 2 ข้อ 2 มีผลการประเมนิ 1 ขอ้ 1

สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนนุ ใหม้ ีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บรหิ าร ครูบุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตาม วัตถุประสงคแ์ ละเผยแพรส่ ่สู าธารณชน พิจารณาจาก ข้อ รายการ ผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง 3.2.1 ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ - แผนกวิชา งานวจิ ยั - งานวิจัย พัฒนานวัตกรรม และสงิ่ ประดษิ ฐ์ คำอธบิ าย สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ผลงานของผู้เรียนได้รับรางวัลจากการประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยตามที่สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนดหรือเข้าร่วมกับหน่วยงานอื่น หรือมีการนำมาใช้ประโยชน์ได้จริงในระดับ จงั หวัดระดับภาค ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ การประเมิน ๑. สถานศึกษามกี ารจดั กิจกรรมประกวดนวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยในสถานศกึ ษา ๒. ผลงานนวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ัยมีการนำไปใช้ประโยชนจ์ รงิ ในระดบั สถานศึกษา หรอื ได้รับรางวลั จากการประกวด นวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย ระดบั จังหวดั ๓. ผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยมีการนำไปใช้ประโยชน์จริงในระดบั ชุมชนหรือ ได้รับรางวลั จากการประกวด นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย ระดับภาค ๔. ผลงานนวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยมกี ารนำไปใชป้ ระโยชน์จริงในระดบั จังหวัดหรือ ได้รับรางวัลจากการประกวด นวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั ระดบั ชาติ ๕. ผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยมีการนำไปใช้ประโยชน์จริงในระดับประเทศ หรือได้รับรางวัลจากการประกวด นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย ระดับนานาชาติ การตรวจสอบข้อมูล 1. ผลการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ใน สถานศึกษา ๒. การนำ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยไปใช้ประโยชน์จริงในระดับสถานศึกษาระดบั ชมุ ชน ระดับจงั หวดั ระดับชาติ ๓. รางวัลการประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัยในระดับจังหวัด ระดับภาค ระดบั ชาติและระดบั นานาชาติ หมายเหตุ : รางวลั หมายถึง รางวลั ชนะเลิศ รองชนะเลศิ หรอื รางวลั อื่นๆ โดยไม่นับรางวัลชมเชย

เกณฑก์ ารประเมิน นำผลการประเมินมาเทยี บกับเกณฑ์การประเมินดังนี้ ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดับคุณภาพ ยอดเยยี่ ม มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑ และขอ้ ๕ 5 ดีเลศิ ดี มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑ และข้อ ๔ 4 ปานกลาง กำลงั พฒั นา มผี ลการประเมินตามข้อ ๑ และขอ้ ๓ 3 มผี ลการประเมินตามขอ้ ๑ และขอ้ ๒ 2 มีผลการประเมินตามขอ้ ๑ 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook