Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงาน 2561

รายงานผลการดำเนินงาน 2561

Published by วารสาร สพม.ปจนย, 2021-02-18 03:14:35

Description: รายงานผลการดำเนินงาน 2561

Search

Read the Text Version

ก คำนำ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ได้จัดทารายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 เพ่ือสรุปผลการดาเนินงาน ตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 7 ในรอบปีท่ผี ่านมา เพอื่ เผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ ส่สู าธารณชน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 ขอขอบคณุ ผทู้ ีม่ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งทุกทา่ น ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทาให้เกิดภาพความสาเร็จ ทราบถึงปัญหา และอุปสรรคของการ ปฏิบัติงานในรอบปีท่ีผ่านมาอย่างชัดเจน เพื่อนามาปรับปรุง แก้ไข และวางแผนพัฒนาการจัด การศึกษาในปีต่อไป สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 7 ตลุ าคม 2561

สารบัญ ข เร่อื ง หน้า คานา ก สารบัญ ข สว่ นที่ 1 บทนา 1- 9 - ความเปน็ มา 10 - 29 - โครงสร้างการบรหิ าร - ขอบขา่ ยภารกิจการจดั การศกึ ษา 31 - 98 สว่ นท่ี 2 ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษา - แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 99 - 100 - นโยบายของ สพม.7 ค - วสิ ยั ทศั น์ - พันธกจิ - เปา้ ประสงค์ - ค่านิยมองค์กร สว่ นที่ 3 ผลการดาเนนิ งาน - ยุทธศาสตร์ที่ 1 - ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 - ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 - ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 - ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 - ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 ส่วนท่ี 4 ปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ ภาคผนวก - คาส่ัง ....................................................

ส่วนท่ี 1 บทนา ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 เป็นหน่วยงานทางการศึกษาท่ีต้ังขึ้นตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 มาตรา 33 วรรคสอง “ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคาแนะนาของสภาการศึกษามีอานาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษา กาหนดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพ่ือการบริหารและจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน แบ่งเป็นเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ” ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกาหนดเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษา ข้อ 18 “เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 7” ประกอบด้วยท้องท่ี จังหวัด ปราจีนบุรี จังหวัดนครนายก และจังหวัดสระแก้ว ” และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วน ราชการภายในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา พ.ศ. 2553 ข้อ 4 ให้แบ่งส่วนราชการสานักงาน เขต ดังตอ่ ไปนี้ 1. กลมุ่ อานวยการ 2. กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล 3. กลุ่มนโยบายและแผน 4. กล่มุ ส่งเสริมการจดั การศึกษา 5. กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา 6. กลมุ่ บริหารงานการเงินและสนิ ทรพั ย์ 7. หนว่ ยตรวจสอบภายใน มีอานาจหน้าท่ี ดงั นี้ 1. จดั ทานโยบาย แผนพฒั นา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาใหส้ อดคล้อง กับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานและความตอ้ งการของ ทอ้ งถิ่น 2. วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษา และหน่วยงาน ในเขตพื้นที่การศึกษา และแจ้งจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบและกากับ ตรวจสอบ ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของหนว่ ยงานดังกลา่ ว 3. ประสาน ส่งเสรมิ สนับสนุน และพฒั นาหลกั สูตรรว่ มกบั สถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา 4. กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและในเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา 5. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมลู สารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา 6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การจดั และพฒั นาการศึกษาในเขตพื้นที่การศกึ ษา 7. จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา 8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่ จดั รปู แบบทีห่ ลากหลายในเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา

9. ดาเนินการและประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นท่ี การศึกษา 10. ประสาน สง่ เสรมิ การดาเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะทางานด้านการศึกษา 11. ประสานการปฏิบัติราชการท่ัวไปกับองค์กร หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กร ปกครองสว่ นท้องถิน่ ในฐานะสานกั งานผู้แทนกระทรวงศกึ ษาธิการในเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา 12. ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมิได้ระบุให้เป็นหน้าท่ีของ ผ้ใู ดโดยเฉพาะ หรอื ปฏบิ ตั ิงานอืน่ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

ขอบข่ายภารกจิ การจดั การศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ภาครฐั ทีต่ ั้ง : สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 เลขท่ี 60 หมู่ 14 ถนนสุวรรณศร ตาบลบ้านพระ อาเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวดั ปราจนี บรุ ี 25000 มพี นื้ ทค่ี รอบคลุม 3 จงั หวัด รวม 44 โรงเรียน ดงั น้ี สถานศึกษาในจังหวัดปราจนี บุรี 19 โรง สถานศึกษาในจังหวดั สระแก้ว 14 โรง สถานศึกษาในจังหวดั นครนายก 11 โรง ท่ตี ัง้ และอาณาเขตจังหวดั ปราจนี บุรี จงั หวัดปราจนี บรุ ี ประกอบดว้ ย 7 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองปราจีนบรุ ี อาเภอศรีมโหสถ อาเภอบ้านสร้าง อาเภอประจนั ตคาม อาเภอศรมี หาโพธิ อาเภอกบนิ ทร์บรุ ี อาเภอนาดี มี หน้าที่รับผดิ ชอบดแู ลโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัด จานวนทั้งสน้ิ 19 โรงเรยี น สภาพพน้ื ท่โี ดยทวั่ ไปของจังหวดั ปราจนี บรุ ี ต้ังอยู่ภาคตะวันออกของประเทศ ห่างจาก กรุงเทพโดยทางรถไฟ 122 กโิ ลเมตร โดยทางรถยนต์ 136 กโิ ลเมตร มีเนื้อท่ี 4,762,362 ตารางกิโลเมตร เปน็ ท่ีราบสงู และภูเขา มีอุทยานแหง่ ชาติ 2 แห่ง คอื อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาตทิ บั ลาน ร้อยละ70 ของพืน้ ทตี่ อนลา่ งเป็นทีร่ าบล่มุ มแี มน่ ้าปราจีนบุรี ไหลผา่ น อาเภอกบินทรบ์ ุรี อาเภอประจนั ต คาม อาเภอศรมี หาโพธิ อาเภอเมอื งปราจนี บุรี และอาเภอบ้านสร้าง ยาวประมาณ 180 กิโลเมตร หรอื ประมาณ2,976,476.2 ไร่ มอี าณาเขตตดิ ตอ่ ดงั นี้  ทศิ เหนอื ตดิ จังหวดั นครราชสีมา  ทศิ ตะวนั ออก ตดิ จังหวัดสระแกว้  ทศิ ใต้ ติดจงั หวดั ฉะเชิงเทรา  ทิศตะวันตก ตดิ จังหวัดนครนายก และ จงั หวัดฉะเชิงเทรา

รายชอื่ โรงเรยี นระดบั มัธยมศึกษาในจังหวดั ปราจนี บุรี ที่ โรงเรยี น ท่อี ยู่ 1. ปราจณิ ราษฎรอารงุ 880 ถนนปราจนี อนสุ รณ์ ตาบลหนา้ เมือง อาเภอเมือง จงั หวดั ปราจีนบุรี 25000 2. ปราจนี กัลยาณี ถนนปราจีนอนสุ รณ์ ตาบลหนา้ เมอื ง จงั หวดั ปราจนี บุรี 25000 3. ไทยรัฐวทิ ยา 7 7 หมู่ 13 ตาบลดงขีเ้ หล็ก อาเภอเมือง จังหวัดปราจนี บุรี 25000 4. ปราจณิ ราษฎรอารุง 2 47/2 หมู่ 2 ตาบลบางเดชะ อาเภอเมอื ง จงั หวัดปราจีนบรุ ี 25000 “อดุลศาสนกิจศึกษา” 217 หมู่ 7 ตาบลโคกปปี อาเภอศรมี โหสถ จังหวดั ปราจีนบุรี 25190 5. ศรีมโหสถ 48 หมู่ 4 ตาบลกระทมุ่ แพ้ว อาเภอบา้ นสรา้ ง จังหวดั ปราจนี บรุ ี 25150 6. กระทุ่มแพ้ววิทยา 261 หมู่ 1 ตาบลประจนั ตคาม อาเภอประจันตคาม จังหวดั ปราจีนบรี 7. ประจนั ตราษฎร์บารงุ 25130 72 หมู่ 5 ตาบลคาโตนด อาเภอประจันตคาม จงั หวดั ปราจนี บรุ ี 25130 8. สวุ รรณวทิ ยา 209 หมู่ 5 ตาบลวังตะเคยี น อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จังหวดั ปราจีนบุรี 25110 9. วังตะเคยี นวทิ ยาคม 115 หมู่ 9 ตาบลศรมี หาโพธิ อาเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจนี บรุ ี 25140 10. ศรมี หาโพธิ หมู่ 7 ตาบลกรอกสมบูรณ์ อาเภอศรมี หาโพธิ์ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี 25140 11. กรอกสมบูรณ์วทิ ยาคม 166 หมู่ 6 ตาบลกบินทร์ อาเภอกบนิ ทรบ์ ุรี จงั หวดั ปราจนี บรุ ี 25110 12. กบนิ ทรว์ ิทยา 1 หมู่ 10 ตาบลลาดตะเคยี น อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จงั หวดั ปราจนี บรุ ี 25110 13. ลาดตะเคยี นราษฎร์บารงุ 99 หมู่ 13 ตาบลเมอื งเก่า อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจีนบุรี 25240 14. กบนิ ทรบ์ รุ ี หมู่ 7 ตาบลกรอกสมบูรณ์ อาเภอศรีมหาโพธ์ิ จังหวัดปราจีนบรุ ี 25140 15. วัดพรหมประสทิ ธ์ิ 146 หมู่ 4 ตาบลบา้ นสรา้ ง อาเภอบา้ นสรา้ ง จงั หวัดปราจนี บรุ ี 25150 16. ชติ ใจชนื่ 7113 หมู่ 10 ตาบลวงั ดาล อาเภอกบินทรบ์ ุรี จังหวัดปราจนี บุร2ี 5110 17. วังดาลวทิ ยาคม 404 หมู่ 1 ตาบลสาพันตา อาเภอนาดี จังหวดั ปราจีนบุรี 25220 18. มณีเสวตรอุปถัมภ์ หมู่ 1 ตาบลบพุ ราหมณ์ อาเภอนาดี จงั หวดั ปราจนี บุรี 25220 19. รม่ เกล้าปราจีนบุรี

ที่ตัง้ และอาณาเขตจังหวัดนครนายก จงั หวดั นครนายก ประกอบด้วย 4 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมอื งนครนายก อาเภอบ้านนา อาเภอองครักษ์ อาเภอปากพลี มีหนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบดแู ลโรงเรยี นมธั ยมศึกษาในสงั กัด จานวนทง้ั สนิ้ 11 โรงเรียน สภาพพ้นื ท่ีโดยทวั่ ไปของจังหวดั นครนายก ตง้ั อย่ทู างทศิ ตะวนั ออกของประเทศไทย เป็นที่ ราบสูงและภูเขา ประกอบดว้ ย 4 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองนครนายก อาเภอปากพลี อาเภอบา้ นนา และ อาเภอองครักษ์ จังหวดั นครนายก มีระยะทางจากกรุงเทพมหานครตามถนนทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 305 เลยี บ คลองรังสติ ผ่านอาเภอองครกั ษ์ถึง จังหวัดนครนายก ระยะทาง 105 กโิ ลเมตร แต่ถา้ มีการ กอ่ สร้างทางคมนาคม สายตรงจากกรงุ เทพฯ จะมีระยะทางประมาณ 60 กโิ ลเมตร มเี น้ือที่จังหวดั ประมาณ 2,122 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 1,326,250 ไร่ จังหวดั นครนายก ตัง้ อยทู่ างทิศตะวนั ออก ของประเทศไทยห่างจากกรงุ เทพฯ 107 กโิ ลเมตร มอี าณาเขตตดิ ต่อ ดังน้ี  ทิศเหนอื ติดจงั หวดั สระบรุ ี และจังหวัดนครราชสีมา  ทิศตะวนั ออก ติดจงั หวดั นครราชสีมา และจังหวดั ปราจนี บุรี  ทิศใต้ ตดิ จังหวัดฉะเชิงเทรา และจงั หวัดปราจีนบุรี  ทศิ ตะวันตก ตดิ จังหวัดปทมุ ธานี

รายชอ่ื โรงเรียนระดับมธั ยมศึกษาในจงั หวดั นครนายก ท่ี โรงเรียน ท่ีอยู่ 1. เมอื งนครนายก หมู่ 7 ตาบลท่าชา้ ง อาเภอเมือง จงั หวดั นครนายก 26000 2. นครนายกวิทยาคม ข1-330 ถนนสวุ รรณศร ตาบลนครนายก อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000 3. ปิยชาติพฒั นา ในพระ 61/3 หมู่ 4 ตาบลพรหมณี อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000 ราชปู ถัมภ์ฯ 4. นวมราชานุสรณ์ ตาบลทา่ ชา้ ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000 5. อุบลรัตนราชกัญญาราช 19 หมู่ 12 ตาบลศรีจุฬา อาเภอเมอื ง จงั หวัดนครนายก 26000 วิทยาลัย 6. เขาเพิ่มนารีผลวิทยา 7 หมู่ 1 ตาบลเขาเพมิ่ อาเภอบา้ นนา จังหวดั นครนายก 26110 7. บา้ นนา “นายกพยิ า 112 หมู่ 4 ถนนสุวรรณศร ตาบลบ้านนา อาเภอบ้านนา จังหวดั นครนายก กร” 26110 8. ภัทรพิทยาจารย์ หมู่ 13 ตาบลพระอาจารย์ อาเภอองครักษ์ จังหวดั นครนายก 26120 9. องครักษ์ 78 หมู่ 3 ตาบลองครักษ์ จงั หวัดนครนายก 26120 10. เลขธรรมกิตต์วิ ทิ ยาคม หมู่ 14 ตาบลบางอ้อ อาเภอบา้ นนา จงั หวัดนครนายก 26110 11. ปากพลวี ิทยาคาร 101 หมู่ 4 ตาบลปากพลี อาเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 26130 ที่ตงั้ และอาณาเขตจังหวดั สระแก้ว จังหวดั สระแก้ว ประกอบด้วย 9 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองสระแกว้ อาเภอเขาฉกรรจ์ อาเภอวังน้าเย็น อาเภอคลองหาด อาเภอวงั สมบูรณ์ อาเภอวฒั นานคร อาเภออรัญประเทศ อาเภอตา-พระยา อาเภอโคกสูง มหี นา้ ทรี่ ับผดิ ชอบดูแลโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาในสังกัด จานวนทง้ั สิน้ 14 โรงเรยี น สภาพพ้ืนท่โี ดยทว่ั ไปของจงั หวัดสระแก้ว และมีอาณาเขตติดตอ่ กับราชอาณาจักรกัมพูชา เปน็ ระยะทาง 165 กิโลเมตร เปน็ ทร่ี าบสงู และภูเขา มแี หลง่ ท่องเท่ยี วตามธรรมชาติ คือ อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา อทุ ยานแหง่ ชาตติ าพระยา ซ่งึ ได้รับการประกาศให้เป็นส่วนหนึง่ ของมรดกโลก ละลุ เขือ่ นพระปรง ถา้ เพชรโพธทิ์ อง และนา้ ตกเขาตระกรบุ ประกอบด้วย 9 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองสระแกว้ อาเภอเขาฉกรรจ์ อาเภอวังน้าเย็น อาเภอวังสมบรู ณ์ อาเภอวัฒนานคร อาเภออรญั ประเทศ อาเภอคลองหาด อาเภอโคกสูง และอาเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว้ มรี ะยะทางจากกรงุ เทพมหานครโดยทางรถยนต์ 236 กิโลเมตร มเี น้อื ที่ จงั หวดั ประมาณ 7,195,138 กโิ ลเมตร ตั้งอยู่ภาคตะวันออกของประเทศไทย มอี าณาเขตติดต่อ ดงั นี้  ทิศเหนือ ตดิ จังหวัดบรุ รี ัมย์ และจงั หวัดนครราชสีมา  ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ประเทศกมั พชู า  ทศิ ใต้ ตดิ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา และจงั หวดั จนั ทบรุ ี  ทิศตะวันตก ตดิ จงั หวดั ปราจนี บุรี รายชื่อโรงเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาในจงั หวัดสระแก้ว

ที่ โรงเรยี น ท่ีอยู่ 1. ท่าเกษมพิทยา 431 หมู่ 2 ตาบลท่าเกษม อาเภอเมอื ง จังหวัดสระแก้ว 27000 2. สระแกว้ 58 ถนนสวุ รรณศร อาเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 27000 3. คลองหาดพทิ ยาคม 325 หมู่ 5 ตาบลคลองหาด อาเภอคลองหาด จงั หวัดสระแกว้ 27000 4. วังน้าเย็นวทิ ยาคม 862 หมู่ 1 ตาบลวังนา้ เย็น อาเภอวังนา้ เย็น จงั หวดั สระแก้ว 27210 5. วังสมบรู ณ์วทิ ยาคม 58 หมู่ 10 ตาบลวงั สมบรู ณ์ อาเภอวงั สมบรู ณ์ จงั หวัดสระแกว้ 27250 6. วังหลงั วิทยาคม 135 หมู่ 18 ตาบลทงุ่ มหาเจรญิ อาเภอวังน้าเยน็ จังหวัดสระแกว้ 27210 7. ทัพพระยาพิทยา 99 หมู่ 8 ตาบลโคกสงู อาเภอโคกสงู จงั หวดั สระแก้ว 27120 8. ซับมว่ งวิทยา 89 หมู่2 ตาบลโคกลาน อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ 27180 9. ทพั ราชวิทยา 94 หมู่ 16 ตาบลทัพราช อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแก้ว 27180 10. อรัญประเทศ 1ถนนสุวรรณศร ตาบลอรญั ประเทศ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแก้ว 27120 11. คลองนา้ ใสวทิ ยาคาร 12. รม่ เกลา้ วฒั นานคร 238 หมู่ 10 ตาบลผา่ นศกึ อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว27120 238 หมู่ 10 ตาบลผา่ นศกึ อาเภออรญั ประเทศ จงั หวดั สระแก้ว27120 สระแกว้ รัชมังคลา ภิเษก 182 หม1ู่ ถนนธนะวิถี ตาบลตาพระยา อาเภอตาพระยา 13. ตาพระยา จังหวัดสระแก้ว 27180 100 หมู่ 11 ตาบลวงั ใหม่ อาเภอวงั สมบรู ณ์ จงั หวดั สระแกว้ 27250 14. วังไพรวิทยาคม

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 7

เครอื ขา่ ยการบรหิ ารจดั การศึกษาของสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7 เครอื ข่ายขุนดา่ นปราการชล สานกั งาน เครอื ขา่ ยบา้ นนา – องครกั ษ์ เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา โรงเรยี นบา้ นนา ”นายกพทิ ยากร” โรงเรยี นนครนายกวทิ ยาคม มัธยมศกึ ษา เขต 7 โรงเรยี นองครักษ์ โรงเรยี นปยิ ชาตพิ ฒั นาฯ โรงเรยี นเขาเพิม่ นารผี ลวิทยา โรงเรียนปากพลวี ิทยาคาร โรงเรียนภทั รพทิ ยาจารย์ โรงเรียนนวมราชานสุ รณ์ โรงเรียนเลขธรรมกติ ติว์ ทิ ยาคม โรงเรยี นเมืองนครนายก เครือขา่ ยปน่ิ มาลา โรงเรยี นอุบลรตั นราชกัญญา โรงเรยี นอรญั ประเทศ โรงเรยี นตาพระยา เครือข่ายวังบูรพา โรงเรียนคลองนา้ ใสวิทยาคาร โรงเรียนวงั น้าเยน็ วิทยาคม โรงเรยี นทพั พระยาพทิ ยา โรงเรยี นคลองหาดพทิ ยาคม โรงเรียนทพั ราชวิทยา โรงเรยี นทา่ เกษมพิทยา โรงเรยี นซับม่วงวิทยา โรงเรยี นวงั สมบูรณ์วทิ ยาคม โรงเรยี นรม่ เกลา้ วฒั นานคร โรงเรยี นวังหลงั วทิ ยาคม โรงเรียนสระแกว้ สระแกว้ รชั มังคลาภเิ ษก โรงเรียนวังไพรวิทยาคม เครอื ข่ายทวาราวดี เครอื ข่ายศรีบรู พา เครอื ขา่ ยกบินทร์ – นาดี โรงเรยี นปราจิณราษฎรอารุง โรงเรียนปราจนี กัลยาณี โรงเรียนกบินทรว์ ิทยา โรงเรยี นประจันตราษฎร์บารงุ โรงเรียนศรีมหาโพธิ โรงเรยี นวงั ตะเคยี นวิทยาคม โรงเรียนชิตใจชื่น โรงเรียนศรมี โหสถ โรงเรียนกบนิ ทรบ์ ุรี โรงเรียนวดั พรหมประสิทธ์ิ โรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา 7 โรงเรยี นวังดาลวิทยาคม โรงเรยี นสุวรรณวทิ ยา โรงเรียนปราจิณราษฎรอารุง 2 โรงเรยี นรม่ เกล้า ปราจนี บุรี โรงเรยี นกระทมุ่ แพ้ววิทยา โรงเรียนมณเี สวตรอปุ ถมั ภ์ “อดุลศาสนกจิ ศกึ ษา” โรงเรยี นลาดตะเคยี นราษฎร์บารุง โรงเรียนกรอกสมบูรณว์ ิทยาคม แผนภมู ิโครงสรา้ งรปู แบบเครือขา่ ยสถานศกึ ษา

สว่ นที่ 2 ทศิ ทางการพัฒนาการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทําแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 เพื่อใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวสําหรับหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการศึกษาของประเทศได้นําไปใช้เป็น กรอบและแนวทางการพัฒนาการศึกษาและเรียนรู้สําหรับพลเมืองทุกช่วงวัยต้ังแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต โดย จุดมุ่งหมายท่ีงานทําและสร้างงานได้ ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกที่ขับเคล่ือน ด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งความเป็นพลวัตร เพื่อให้ประเทศไทยสามารถ ก้าวข้ามกับดัก ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ซึ่งภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ได้กําหนดสาระสําคัญสําหรับบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถึง โอกาสทางการศึกษา (Access) ความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity)คุณภาพการศึกษา (Quality) ประสิทธภิ าพ (Efficiency) และตอบโจทย์บรบิ ทท่เี ปลีย่ นแปลง (Relevancy) ในระยะ 15 ปขี ้างหน้า ดังน้ี วสิ ัยทศั น์ : คนไทยทุกคนได้รบั การศกึ ษาและเรยี นรู้ตลอดชวี ติ อย่างมีคุณภาพ ดํารงชวี ิตอย่างเป็นสขุ สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทมี่ คี ุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ บทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพอื่ พัฒนาสงั คมไทยให้เปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรม รู้จักสามัคคี และ รว่ มมือผนกึ กาํ ลังม่งุ สู่การพัฒนาประเทศอยา่ งยงั่ ยืน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เพื่อนําประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ํา ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตร์ 1. การจดั การศกึ ษาเพ่อื ความมัน่ คงของสงั คมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนากําลังคน การวจิ ยั และนวตั กรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ 3. การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษา 5. การจดั การศกึ ษาเพ่ือสร้างเสรมิ คุณภาพชีวติ ที่เป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม 6. การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจัดการศึกษา ปัจจัยและเง่ือนไขความสาํ เร็จ การดําเนินการตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์ตามท่ีกําหนดไว้ในแผนการ ศึกษาแหง่ ชาติจะประสบผลสําเร็จตามที่ระบุไว้ในแต่ละยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาหน่วยงานทั้งระดับ นโยบายและระดับปฏิบัติการ ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จังหวัด เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาต้อง

ยึดถอื เป็นแนวทางในการดาํ เนินงาน และมีการทบทวน ปรับปรุงมาตรการ เป้าหมายความสําเร็จให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงท่เี กิดขน้ึ ในแต่ละพน้ื ที่ เพ่อื การพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นในทกุ ชว่ งวัยตอ้ งดําเนนิ การ ดังน้ี 1. การสร้างการรับรู้ ความเข้าใจและการยอมรับจากผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี และประชาชนสงั คม ในการสนบั สนุนส่งเสริมการพัฒนาการศึกษาในลักษณะต่างๆ อย่างกวา้ งขวาง มุง่ เนน้ ทก่ี ารจดั ระบบการศึกษา ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และม่งุ เน้นการพฒั นาคณุ ภาพของผ้เู รยี นในทุกระดบั 2. การสรา้ งความเข้าใจในเป้าหมายและยุทธศาสตร์การดําเนินงานของแผนฯ ของผู้ปฏิบัติ ทกุ หนว่ ยงานทุกระดับ เพ่ือให้การขบั เคลื่อนแผนฯ ไปสู่การปฏบิ ตั ิ มกี ารบริหารจดั การและการเชอ่ื มโยง ยุทธศาสตรแ์ ละแนวทางการพฒั นาใหบ้ รรลุเปา้ หมายและวสิ ยั ทัศนข์ องการจดั การศกึ ษามคี ณะกรรมการกํากบั ดแู ลแตล่ ะยุทธศาสตร์ให้เกดิ การนาํ ไปปฏบิ ตั ิ โดยมรี ะบบงบประมาณเป็นกลไกสนับสนุนให้บรรลุผลอย่างเป็น รูปธรรม 3. การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ของการจัดการศึกษา จากการเป็นผู้จัดการศึกษาโดยรัฐมา เปน็ การจดั การศกึ ษาโดยทุกภาคส่วนของสงั คม ท่ีมุ่งการจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education) ตลอดจนการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสําหรับทุกคน ซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) 4. การจดั ให้แผนการศกึ ษาแห่งชาติเป็นเสมือนแผนงบประมาณด้านการจัดการศึกษาของรัฐ ระบบการจัดสรรงบประมาณประจําปีให้ยึดแผนงาน โครงการ และเป้าหมายการพัฒนาท่ีกําหนดไว้ใน ยุทธศาสตรแ์ ละแนวทางการพัฒนาของแผนฯ เปน็ หลักในการพิจารณา เพ่ือให้การดําเนินงานพัฒนาการศึกษา เป็นไปในทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช่วงวัย และการพัฒนากําลังคนตามความต้องการของ ตลาดงานและประเทศ เพื่อการจดั การศกึ ษาบรรลุผลตามยุทธศาสตร์ ตัวช้วี ัดในช่วงเวลาที่กําหนด 5. การปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดประสิทธิภาพ โดยปรับโครงสร้างการ บริหารงานให้มคี วามชัดเจนในด้านบทบาท หน้าท่ี การกระจายอํานาจ และการตัดสินใจจากส่วนกลางสู่ระดับ ภูมิภาคและสถานศึกษา รวมท้ังการปรับระบบการบริหารจัดการ และการบริหารงานบุคคลในแต่ละระดับให้ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนได้รับบริการการศึกษาท่ีมี มาตรฐานอยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทยี ม 6. การสร้างระบบข้อมูลและสารสนเทศที่บรูณาการและเชื่อมโยงกับระบบการประกัน คุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรายงานต่อ สาธารณชนจะเป็นกลไกในการสร้างการรับรู้ของผู้จัดการศึกษาและผู้เรียน เพื่อการปรับประสิทธิภาพ การบริหารจดั การ และความรบั ผิดชอบต่อผเู้ รยี น ผา่ นระบบการกาํ กบั ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล 7. การปฏริ ปู ระบบทรพั ยากรและการเงินเพอ่ื การศึกษา เพื่อใหร้ ฐั สามารถใชเ้ ครื่องมือ ทางการเงินในการกํากับการดําเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติและนโยบาย รฐั บาล จุดเน้นนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์) ด้วยราชกิจจานเุ บกษา เมอ่ื วนั ศกุ รท์ ่ี 16 ธนั วาคม 2559 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหา-วชิราลง กรณบดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งต้ังให้ นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และหม่อมหลวงปนัดดาดิศกุล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ ซ่ึงในวันที่ 20 ธันวาคม 2559 นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร และรฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการทั้งสองท่าน พลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ และหม่อมหลวง ปนัดดา ดศิ กุล ไดม้ อบนโยบาย และจดุ เนน้ เชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมีสาระสําคัญ

1 น้อมนําแนวพระราชดําริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหา-วชิราลง กรณบดินทรเทพยวรางกูร มาขับเคล่ือนงานด้านการศึกษาให้เกิดเป็นรูปธรรม เพราะพระราชปณิธานของ พระองค์ท่านถือเป็นพรอันสูงสุด และมอบเป็นนโยบาย เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติแก่หน่วยงานในสังกัด ดังนี้ 1.1) พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร มีใจความสําคัญว่า “การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนใน 2 ด้าน คือ ส่งเสริมให้ นกั เรียนมีทัศนคติท่ีถูกต้อง และการศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐานชีวิตหรืออุปนิสัยที่ม่ันคงเข้มแข็ง อาทิ การสร้าง บคุ ลิกและอปุ นสิ ยั ทีด่ ีงาม (Character Education)” 1.2) สบื สานพระราชปณิธานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-ภูมิพลอ ดลุ ยเดช ท่ีทรงมีแนวพระราชกระแสฯ ทรงพระราชทานในวโรกาสต่าง ๆ เกยี่ วกับนักเรยี น ครู และการศึกษา (1) นักเรียน “ครูต้องสอนให้เด็กนักเรียนมีนํ้าใจ เช่น คนเรยี นเกง่ ชว่ ยตวิ เพื่อนท่ีเรยี นล้าหลงั มิใช่ สอนใหเ้ ดก็ คดิ แตจ่ ะแข่งขนั (Compete) กบั เพ่ือน เพือ่ ให้คนเก่งได้ลาํ ดับดี ๆ เชน่ สอบได้ท่ีหนงึ่ ของชัน้ แต่ตอ้ ง ใหเ้ ด็กแข่งขันกบั ตนเอง” (11 ม.ิ ย.2555) “ครูไม่จําเป็นตอ้ งมคี วามรูท้ างเทคโนโลยีมาก แต่ต้องมุ่งปลูกฝงั ความดีให้นักเรยี น ช้นั ต้น ตอ้ งอบรมบ่มนิสยั ให้เปน็ พลเมืองดี เดก็ โตก็ตอ้ งทาํ เช่นกนั ” (6 มิ.ย.2555) “เราตอ้ งฝึกหดั ให้นกั เรยี นรู้จักทํางานรว่ มกนั เป็นกลมุ่ เปน็ หมคู่ ณะมากข้ึนจะได้ มคี วามสามัคคี รู้จักดูแลชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกันเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ความรู้และประสบการณ์แกก่ ัน” (5 ก.ค. 2555) “ทาํ เป็นตวั อย่างใหน้ กั เรยี นเปน็ คนดี นักเรยี นรักครู ครูรักนักเรียน” (9 ก.ค. 2555) (2) ครู “เรอ่ื งครูมคี วามสาํ คัญไมน่ ้อยกวา่ นกั เรยี นปัญหาหน่ึง คือการขาดครูเพราะ จาํ นวนไม่พอ และครูย้ายบ่อย ดังนั้น ก่อนคัดเลือกเด็กท่ีจะพัฒนาต้องพัฒนาครูก่อน ให้พร้อมที่จะสอนเด็กให้ ได้ผลตามท่ีต้องการ จึงจะต้องคัดเลือกครูและพัฒนาครู ต้องต้ังฐานะในสังคมของครูให้เหมาะสม และปลูก จิตสํานึกโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิธีการคือ การให้ทุนและอบรม กล่าวคือ ต้องมีความรู้ทาง วิชาการในสาขาทเ่ี หมาะสมทีจ่ ะสอน ตอ้ งอบรมวิธีการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพ มคี วามเปน็ ครทู ี่แท้จริง คือ ไม่คิด ยา้ ยไปยา้ ยมา” (11 ม.ิ ย. 2555) “ต้องปรับปรุงครู ครจู ะอายุ 40 - 50 ปี ก็ต้องเรียนใหม่ ต้องปฏิวัติครูอย่างจริงจัง” (6 ม.ิ ย. 2555) “ปัญหาปัจจุบันคือ ครูมุ่งเขียนงานวิทยานิพนธ์ เขียนตําราส่งผู้บริหารเพ่ือให้ได้ ตําแหน่งและเงินเดือนสูงขึ้น แล้วบางทีก็ย้ายไปท่ีใหม่ ส่วนครูท่ีมุ่งการสอนหนังสือกลับไม่ได้อะไรตอบแทน ระบบไม่ยุติธรรม เราต้องเปลี่ยนระเบียบตรงจุดนี้ การสอนหนังสือต้องถือว่าเป็นความดีความชอบหากคนใด สอนดี ซง่ึ สว่ นมากคอื มีคุณภาพและปรมิ าณ ตอ้ งมี reward” (5 ก.ค.2555) “ครบู างส่วนเวลาสอนนกั เรียนจะสอนไมห่ มดแต่เก็บไว้บางสว่ น หากนกั เรียน ตอ้ งการรูท้ งั้ หมดวชิ า ก็ต้องเสียเงนิ ไปสมคั รเรยี นพเิ ศษกบั ครทู ่านน้นั จะเป็นการสอนในโรงเรียนหรอื สว่ นตวั ก็ ตาม” (5 ก.ค. 2555)

2 การดาํ เนนิ การตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจะดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ภายใตว้ ิสัยทัศน์ “ประเทศมคี วามมน่ั คง ม่ังคง่ั ยั่งยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ซงึ่ ได้กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฯ โดยยดึ ยุทธศาสตรช์ าติ เป็นจดุ เน้นด้านการศึกษาท่ีจะดําเนินการ 6 ด้าน คอื (1) ความมั่นคง (2) การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน (3) การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน (4) การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสังคม (5) การสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม (6) การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ 3 จดุ เน้นการดําเนนิ งานของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3.1) ดําเนินการอยภู่ ายใต้กรอบยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) 3.2) ทกุ โครงการของกระทรวงศกึ ษาธิการต้องเนน้ ความโปร่งใสและต่อต้านการ ทุจริตคอรร์ ัปชนั่ 3.3) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารต้องมีคุณลักษณะ MM = Modernized MOE มกี ารดําเนนิ การสอดคลอ้ งกับรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักร พทุ ธศักราช 2550 3.4) ดําเนินการเร่งด่วนตามขอ้ สัง่ การของนายกรฐั มนตรีให้เหน็ ผลการ ดําเนนิ การเปน็ รูปธรรม 4 จดุ เนน้ สาํ คญั นโยบาย แนวทางหลักการดําเนินงานและโครงการสําคญั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยยดึ กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 6 ดา้ นเป็นหลกั ในการดําเนนิ การใหเ้ ปน็ รปู ธรรม ดังน้ี 1) ด้านความมน่ั คง แนวทางหลัก : พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี นการสอน เนน้ การเรยี นการสอน เพื่อเกิดความปรองดอง ความสามคั คี เพ่ือนชว่ ยเพ่ือนโดยใช้รปู แบบ Active Learning 2) ดา้ นการผลติ พัฒนากําลังคนและสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน แนวทางหลกั : ผลติ พฒั นากําลังคนและงานวจิ ัยท่ีสอดคลอ้ งกับการพัฒนา ประเทศ 2.1) การยกระดับมาตรฐาน พัฒนาหลกั สตู ร สื่อ และครูด้านภาษา 2.1.1) พัฒนาวชิ าภาษาองั กฤษในสถานศึกษาสงั กัดสาํ นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างต่อเนือ่ ง 2.1.2) ขยายการพัฒนาวชิ าภาษาอังกฤษในสถานศึกษาสงั กัด ดว้ ยการอบรม โดย Boot Camp ตลอดจนพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อาทิ หลกั สตู ร ภาษาอังกฤษระยะส้นั Application และส่ือต่างๆ ท่ีหลากหลาย 2.1.3) พัฒนาวิชาภาษาจนี โดยหลักการเดยี วกับวชิ าภาษาอังกฤษ โดย ปี 2560 จะดําเนนิ การเปน็ กลมุ่ เลก็ โดยการสนบั สนนุ ของสถานทตู ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี 3) ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน แนวทางหลัก :

3.1) การพฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล 3.1.1) การจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย 1) สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน รบั ผดิ ชอบดูเดก็ ระดับ ชน้ั อนุบาล 1 ถึงระดบั ชัน้ อนุบาล 2 (เด็กอายุ 4 - 5 ปี) 2) หนว่ ยงานอน่ื อาทิ กระทรวงมหาดไทยรบั ผิดชอบดูเดก็ ของศนู ย์เดก็ เล็ก (เด็กอายุ 3 ปี) 3.1.2) การสง่ เสริม ปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม 1) เรอ่ื งคณุ ธรรม เนน้ การพัฒนาคุณลักษณะที่พงึ ประสงคใ์ นเดก็ เยาวชน และตอ่ ยอดการสรา้ งความดี ซึ่งโมเดลการสรา้ งความดีมีหลายทาง ทง้ั ในโรงเรยี นคุณธรรม โรงเรียนวิถีพทุ ธ และโครงการยวุ ทูตความดี 2) รณรงคใ์ ห้เด็ก “เกลยี ดการโกง ความไม่ซ่ือสัตย์” 3.1.3) การพัฒนา ปรับปรุงหลกั สูตร การเรยี นการสอน 1) หลักสูตรมคี วามยดื หยุ่นชมุ ชนทอ้ งถนิ่ สามารถออกแบบหลกั สตู รเอง 2) ปรับปรงุ หลกั สูตร โดยเพ่มิ 3 วิชาซึง่ อยใู่ นกรอบเดิม ไดแ้ ก่ วชิ าภมู ิศาสตร์ ICT และ Design and Technology โดยวิชา ICT และ Design and Technologyเป็นการสนับสนุน ชว่ ยเหลือจากประเทศอังกฤษและประเทศสหรัฐอเมริกา 3) เน้นกจิ กรรมการอ่านโดยเฉพาะการอ่านให้เด็กอนุบาลฟังและการปรับปรงุ หอ้ งสมุด 4) เนน้ การจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบ Active Learning ในห้องเรียน ปกติและกจิ กรรมเสริม โดยกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ เป็นกิจกรรม/วธิ ีการยอ่ ย โดยเฉพาะรองรบั ผล การทดสอบ PISA และ STEM Education 3.1.4) การวัดและประเมนิ ผล 1) การวางแผนการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) เพ่อื ให้ผลคะแนนสงู ขึน้ 2) การประเมินผล O–Net ในวชิ าสงั คมศึกษาให้สํานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน เปน็ ผูป้ ระเมิน สําหรับวชิ าคณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ให้สถาบันสง่ เสรมิ การสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยเี ปน็ ผ้อู อกข้อสอบ 3) การออกข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ดําเนินการในรปู คณะทํางานออกข้อสอบ 3.2) การผลิต พฒั นาครู คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศกึ ษา 3.2.1) การสรรหาครู 1) โครงการพัฒนาครเู พอ่ื พฒั นาท้องถ่นิ มอบให้ สาํ นักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พน้ื ฐานและสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เปน็ หน่วยงานหลักดําเนินการสรรหาครู (การผลิตรูปแบบการสรรหาการบรรจแุ ตง่ ตั้งการตดิ ตามพร้อมการพัฒนา) 2) เปิดโอกาสใหค้ นเก่งมาเป็นครู 3.2.2) การประเมินวิทยฐานะครูใหเ้ ปน็ การเชอ่ื มโยงกับการเรยี นการสอน 3.2.3) การพัฒนาครู การอบรมครู 1) หลักสตู รในการอบรมครใู ห้มคี วามเช่ือมโยงกบั การได้รบั วทิ ยฐานะและ การไดร้ ับใบอนุญาตวชิ าชพี ครู โดยต้องเป็นหลักสตู รที่ได้รับการอนุมัติ/เหน็ ชอบ

2) หนว่ ยดําเนินการ ให้หนว่ ยงานกลางการพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากร ทางการศึกษา ได้แก่ สถาบันอดุ มศึกษา มหาวิทยาลยั และสถาบนั พฒั นาครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการ ศกึ ษา 4) ดา้ นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและการลดความเหล่ือมํล้าทางการศึกษาแนวทาง หลัก : โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 4.1 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาโดยยกระดบั คณุ ภาพสถานศึกษาท่ี ต้องการความช่วยเหลอื และพัฒนาเปน็ พิเศษอยา่ งเรง่ ด่วน (ICU) โดยแต่งตั้งคณะกรรมการฯบรหิ ารจัดการ 4.2 เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล โดยบูรณาการเทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือ การศึกษาให้สามารถใชป้ ระโยชนร์ ่วมกัน ทัง้ ดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐานและระบบเครือขา่ ย ด้านระบบข้อมูล สารสนเทศเพื่อการศกึ ษา ด้านสอื่ และองค์ความรู้ รวมถึงการพฒั นาบุคลากรใหใ้ ช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั อย่าง สร้างสรรคแ์ ละรเู้ ทา่ ทันการเปล่ยี นแปลง 4.3 จดั ระบบการคัดเลือกเข้าเรยี นมหาวิทยาลยั (Admission) เพื่อสรา้ งความเทา่ เทียม ในการใชส้ ิทธ์เิ ข้าศกึ ษาต่อระดับอุดมศึกษาผ่านระบบ Clearing-House 5) ด้านการเสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ประชาชนทเี่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางหลัก : พัฒนาหลกั สตู รกระบวนการเรียนการสอน การสรา้ งจิตสาํ นกึ /ความตระหนกั ในการพัฒนาอย่างยั่งยืนและหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 6) ดา้ นการพฒั นาระบบและการบรหิ ารจดั การ แนวทางหลัก : พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ 6.1) เรอื่ งกฎหมายปรับปรุงกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ด้านการศึกษา เพ่ือรองรับรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 และสอดคล้องกบั ยุคปจั จุบัน 6.2) ปรับโครงสร้างการบริหารราชการท้ังภายในส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าคปรบั ปรงุ ภารกจิ งานของหนว่ ยงานภายในสว่ นกลางเพื่อลดความซ้ําซ้อนในการทาํ งาน และปรับปรุงการบรหิ ารงานเพอ่ื รองรับสํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค และสํานักงานศึกษาธิการจงั หวดั 7) การขบั เคลื่อน กํากบั และการติดตามการนาํ จดุ เนน้ เชงิ นโยบายรฐั มนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธิการสกู่ ารปฏบิ ัติ 1) จดั ทําแผนปฏิบัติการตามจุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทส่ี อดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ 6 ดา้ น 2) สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กาํ หนดกรอบการตดิ ตามประเมนิ ผล และ รายงานรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ รายไตรมาส รอบ 6 เดือน และ 12 เดอื น นโยบายสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้ศึกษาวิเคราะห์บริบทท่ีเกี่ยวข้องประกอบ ด้วยร่าง กรอบยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) นโยบายรัฐบาล นโยบายความม่ันคงแห่งชาติ พ.ศ. 2558-2564 (ร่าง)แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2560-2579.นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ จุดเน้นนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ผลการ ดําเนินงานของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน .อํานาจหน้าที่ของสํานักงานคณ ะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และผลวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มา กําหนดสาระสําคัญของแผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณพ.ศ. .2561.ของสํานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ดงั นี้ วิสยั ทัศน์ การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพ้ืนฐานของ ความเปน็ ไทย พันธกิจ 1. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหป้ ระชากรวัยเรียนทุกคนไดร้ ับการศึกษาอย่างทัว่ ถึง และมคี ุณภาพ 2. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามหลกั สูตร และค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ 3. พัฒนาระบบบริหารจดั การท่เี นน้ การมสี ่วนรว่ ม เพื่อเสรมิ สรา้ งความรับผดิ ชอบ ต่อคุณภาพการศึกษาและบรู ณาการการจัดการศกึ ษา เปา้ หมาย 1. นักเรยี นระดบั ก่อนประถมศึกษาและระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานทุกคน มพี ัฒนาการ เหมาะสมตามวยั และมีคณุ ภาพและทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ 2. ประชากรวยั เรยี นทกุ คนได้รับโอกาสในการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานอยา่ งทั่วถงึ มคี ุณภาพ และเสมอภาค 3. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมวี ัฒนธรรมการทํางานที่ มุ่งเนน้ ผลสัมฤทธ์ิ 4. สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาสํานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ และสถานศึกษา มปี ระสทิ ธภิ าพและเป็นกลไกขบั เคลอื่ นการศึกษาข้ันพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่คุณภาพ ระดบั มาตรฐานสากล 5.สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เน้นการทํางานแบบบรู ณาการ มเี ครอื ข่ายการบรหิ ารจัดการ บริหารแบบมสี ่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ นในการจดั การศึกษา กระจายอาํ นาจ และ ความรบั ผดิ ชอบส่สู าํ นกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา และสถานศึกษา 6. พืน้ ทีพ่ เิ ศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา ทีเ่ หมาะสมตามบริบทของพน้ื ที่ 7. หน่วยงานทกุ ระดบั พฒั นาสื่อ เทคโนโลยี และระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การศกึ ษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 8. หนว่ ยงานทุกระดับมงี านวิจัยทีส่ ามารถนําผลไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา

ยทุ ธศาสตร์ ๑. จดั การศกึ ษาเพ่อื ความม่ันคง ๒. พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นและสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพื่อสร้างขีดความสามารถใน การแขง่ ขนั ๓. ส่งเสริม สนบั สนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๔. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ ๕. จดั การศกึ ษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม ๖. พัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา นโยบาย สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน มีนโยบายในการดาํ เนนิ งาน 6 ด้าน ดังนี้ นโยบายท่ี 1 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมั่นคง ยุทธศาสตร์ท่ี 1 จดั การศึกษาเพ่ือความม่ันคง 1. เสริมสรา้ งความม่นั คงของสถาบนั หลกั และการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ 1.1 น้อมนาํ แนวพระราชดําริสืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโยบาย ด้านการศึกษา หรือ “ศาสตร์พระราชา” มาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรอู้ ย่างย่ังยืน 1.2 ปลูกฝังและเสริมสร้างวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคีสมานฉนั ทส์ นั ตวิ ธิ ี ตอ่ ต้านการทจุ ริต คอรปั ชนั่ และยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็น ประมุข 1.3 เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกีย่ วกับสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ผา่ น หลักสูตรและกระบวนการเรียนรปู้ ระวัติศาสตร์และความเป็นพลเมือง 2. ปลูกฝงั ผู้เรยี นดา้ นคณุ ธรรม ุ จริยธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์ 2.1 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมท้ังในและนอกห้องเรียน ที่เออ้ื ต่อการ พฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สูตรและคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 2.2 เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับภัยคุกคามในรปู แบบใหม่ เช่น อาชญากรรม และความ รุนแรงในรูปแบบต่างๆ สิง่ เสพติด ภัยพบิ ัตจิ ากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัตใิ หม่ ภัยจาก ไซเบอร์ฯลฯ 3. พัฒนาการจดั การศกึ ษาโรงเรียนในเขตพ้ืนทพี่ ิเศษให้เหมาะสมตาม บริบทของพืน้ ที่ 3.1 เขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 3.2 เขตระเบียงเศรษฐกจิ 3.3 เขตสามเหลย่ี มมัน่ คง มง่ั คง่ั ยงั่ ยนื 3.4 เขตพื้นท่ีชายแดน 3.5 เขตเศรษฐกจิ พิเศษ ฯลฯ

นโยบายที่ 2 ด้านการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น และสง่ เสริมการจัดการศกึ ษาเพ่อื สร้างขีด ความสามารถในการแขง่ ขัน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ด้านการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน และส่งเสริมการจดั การศึกษาเพ่อื สร้างขีด ความสามารถในการแข่งขนั 1. เสริมสรา้ งความเข้มแข็งในการพฒั นาผูเ้ รยี นอยา่ งมีคุณภาพด้วยการปรับหลักสตู รการ วัดและประเมินผลทเี่ หมาะสม 1.1 ปรบั ปรุงหลกั สตู รในระดับปฐมวยั และหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และ นําหลกั สูตรไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ หเ้ กิดประสทิ ธิภาพ และจัดการเรยี นรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั หลักสตู ร ตามความจาํ เปน็ และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิน่ และสงั คม 1.2 สง่ เสริมการเรยี นการสอนใหผ้ ู้เรยี นมคี วามมนั่ ใจในการสือ่ สารภาษาอังกฤษ ภาษา ประเทศ คู่คา้ และภาษาอาเซียนอยา่ งน้อย 1 ภาษา 1.3 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลทุกระดบั ให้มีคุณภาพและมาตรฐานนาํ ไปส่กู าร พัฒนา คณุ ภาพผ้เู รียนเตม็ ตามศักยภาพ 2. พัฒนาคณุ ภาพกระบวนการเรียนรู้ 2.1 พัฒนาผู้เรยี นระดับก่อนประถมศึกษา ให้มีพัฒนาการทางด้านรา่ งกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคม และสติปัญญา ใหม้ ีความพร้อมเข้าสู่การเรียนในระดับทีส่ งู ข้นึ 2.2 ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนไดต้ ามชว่ งวยั 2.3 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นมนี สิ ยั รกั การอา่ น 2.4 ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ที่ใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรผู้ า่ นกจิ กรรมการปฏบิ ัตจิ รงิ (Active Learning) เนน้ ทกั ษะกระบวนการ ให้เกดิ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์คิดแกป้ ญั หา และคิดสร้างสรรคใ์ นทกกลมุ่ สาระ การเรียนร้ทู ้งั ในและนอกห้องเรยี น 2.5 ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมที ักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.6 ปลกู ฝังทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตรใ์ ห้กบั นักเรยี นระดับก่อน ประถมศกึ ษาตามโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย 2.7 สนบั สนุนการผลิต จัดหาและใชส้ ่อื การเรียนการสอน เทคโนโลยีนวตั กรรม และสิ่ง อํานวยความสะดวกทีห่ ลากหลายรวมทั้งการพฒั นาห้องสมุดและแหลง่ เรียนรูภ้ ายในสถานศึกษาในการจดั การ เรยี นรูไ้ ด้ทงั้ ใน หอ้ งเรียน และนอกห้องเรยี น เพื่อใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งเต็มศักยภาพ 2.8 ส่งเสริมการจัดหลักสูตรทกั ษะอาชพี ควบคู่ไปกับวิชาสามญั เช่น ทวิศึกษา (Dual Education) , หลักสตู รระยะสัน้ 2.9 ส่งเสริม สนับสนนุ การพัฒนาผเู้ รียนท่มี ีความตอ้ งการจําเป็นพิเศษ (ผู้พิการ ผ้ดู อ้ ยโอกาส และผู้มคี วามสามารถพเิ ศษ) ให้เต็มตามศักยภาพด้วยรูปแบบท่เี หมาะสม 2.10 สง่ เสรมิ สนับสนุนการจดั กจิ กรรมแนะแนวเพือ่ การศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ อย่าง เข้มแขง็ ตอ่ เน่ืองและเป็นรูปธรรม 3. สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั 3.1 ยกระดับผลการประเมนิ ระดบั นานาชาตติ ามโครงการ PISA (Programme for International Student Assessment) 3.2 สง่ เสรมิ การพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นสู่ความเปน็ เลิศในดา้ นตา่ งๆ

3.3 ส่งเสรมิ การเรียนรเู้ ชงิ บูรณาการแบบสหวทิ ยาการ เช่น สะเต็มศกึ ษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) เพ่อื พัฒนากระบวน การคิด และการสร้างสรรคน์ วัตกรรมเพื่อสรา้ งมลู คา่ เพ่ิม สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 4. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การทําวิจยั และนําผลการวิจัยไปใช้พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา 4.1 สง่ เสรมิ การทําวจิ ยั เพ่ือพฒั นาการบรหิ ารจัดการศึกษา 4.2 สง่ เสรมการทําวจิ ัยเพื่อพัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรยี นรู้การวดั และประเมนิ ผล โดยเนน้ ให้มกี ารวจิ ยั ในช้ันเรยี น นโยบายที่ 3 ดา้ นการสง่ เสรมิ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ดา้ นการส่งเสริม พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 1. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้สามารถจัดการเรียนร้อู ย่างมีคณุ ภาพ ใน รูปแบบที่หลากหลาย เช่น 1.1 TEPE Online (Teachers and Educational Personals Enhancement Based on Mission and Functional Areas as Majors) 1.2 ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 1.3 การเรียนรู้ผา่ นกิจกรรมการปฏบิ ัตจิ รงิ (Active Learning) 1.4 การพฒั นาครทู ง้ั ระบบที่เชื่อมโยงกับการเลอ่ื นวิทยฐานะ ฯลฯ 2. พัฒนาระบบการบรหิ ารงานบคุ คลให้มีประสิทธิภาพ โดยเชื่อมโยงกับหนว่ ยงานที่ เก่ยี วข้อง 2.1 การกาํ หนดแผนอัตรากาํ ลงั การสรรหา การบรรจแุ ตง่ ต้ัง การประเมินและการพฒั นา 2.2 การสร้างแรงจงู ใจให้ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามีขวญั และกําลงั ใจในการทาํ งาน นโยบายที่ 4 ดา้ นโอกาสความเสมอภาค และความเทา่ เทียม การเข้าถึงบริการทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 ดา้ นโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทยี ม การเขา้ ถงึ บรกิ ารทาง การศกึ ษา 1. เพ่มิ โอกาสการเขา้ ถงึ การศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพ 1.1 สง่ เสรมิ ประชากรวัยเรียนทกุ คนให้ได้รบั โอกาสในการเขา้ รับบรกิ ารทางการศึกษา อย่างทัว่ ถึง มคี ุณภาพและเสมอภาค 1.2 สรา้ งความเขม้ แขง็ ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบสง่ เสรมิ ความประพฤติ นักเรียน ระบบคุ้มครองนักเรียน และการสร้างภมู ิคุ้มกันทางสังคม 2. ลดความเหล่ือมลํ้าทางการศกึ ษา 2.1 ประสานหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ในการจดั การศกึ ษาท่เี หมาะสม สาํ หรับเด็กด้อยโอกาส ทไี่ ม่อยใู่ นทะเบียนราษฎร เชน่ เด็กไรส้ ัญชาติเด็กพลัดถน่ิ เดก็ ต่างดา้ ว เด็กไทยทีไ่ มม่ เี ลขประจาํ ตัวประชาชน เป็นต้น 2.2 ส่งเสริมสนับสนนุ การใช้เทคโนโลยใี นการจดั การศึกษาให้ครอบคลุมทกุ พนื้ ท่ีอย่าง ทั่วถงึ เช่น การพฒั นาคณุ ภาพศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance learning information technology : DLIT) , การพัฒนาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television : DLTV) ฯลฯ

นโยบายที่ 5 ด้านการจัดการศึกษาเพอื่ สร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพื่อสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม 1. จัดการศกึ ษาเพือ่ สรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ิต 1.1 สง่ เสริม สนบั สนนุ การสรา้ งจิตสํานกึ รักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และน้อมนาํ แนวคิดตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงส่กู ารปฏิบัตใิ นการดําเนินชีวติ 1.2 สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรยี นรู้แหลง่ เรียนรู้และสือ่ การเรียนรูต้ า่ งๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การสร้างเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม 1.3 สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมอื กบั ภาคส่วนตา่ งๆ ในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม นโยบายที่ 6 ดา้ นการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มใน การจดั การศกึ ษา ยุทธศาสตร์ที่ 6 ดา้ นการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและสง่ เสริมใหท้ กุ ภาคสว่ นมีสว่ นรว่ มใน การจัดการศกึ ษา 1. พัฒนาระบบบริหารจดั การให้มปี ระสิทธภิ าพ 1.1 พฒั นาระบบการวางแผน การนําแผนไปส่กู ารปฏบิ ัตกิ ารกํากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และ ประเมนิ ผล เพื่อการบริหารจัดการทม่ี ีประสิทธิภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล 1.2 พฒั นาระบบงบประมาณและการสนับสนุนค่าใช้จา่ ยเพ่ือการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 1.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอ่ื การจดั การศึกษา ทม่ี มี าตรฐานเชอื่ มโยง และเข้าถงึ ได้ 1.4 สร้างความเข้มแข็ง และยกระดับคุณภาพสถานศกึ ษาตามบริบทของพน้ื ท่ี เช่น โรงเรียนที่ ประสบปัญหาวิกฤตทางการศึกษา (ICU), โรงเรียนประชารฐั (ดใี กล้บา้ น) , โรงเรยี นคณุ ธรรม, โรงเรยี นห้องเรียนกีฬา, โรงเรยี นมาตรฐานสากล ฯลฯ 1.5 สง่ เสรมิ ระบบประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาใหเ้ ข้มแขง็ 1.6 ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติสํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สํานกั บริหารงานการศกึ ษา พเิ ศษ สถานศกึ ษา และองคค์ ณะบุคคล ที่มผี ลงานเชิงประจักษ์ 2. สร้างความเข้มแขง็ ในการบริหารจดั การแบบมสี ่วนร่วม 2.1 สง่ เสรมิ การบริหารจดั การเขตพื้นท่ีการศึกษาโดยใช้พนื้ ที่เป็นฐาน (Area- base Management), รูปแบบการบริหารแบบกระจายอาํ นาจ “CLUSTERs” เป็นตน้ 2.2 เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาจัดทาํ แผนบูรณาการจดั การศึกษารว่ มกบั สํานกั งาน ศึกษาธิการจงั หวัด และสาํ นักงานศกึ ษาธิการภาค 2.3 สรา้ งความเข้มแข็งในการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษารปู แบบเครือข่าย เชน่ เครอื ข่ายส่งเสริม ประสทิ ธิภาพการจัดการศึกษา ศูนย์พฒั นากลมุ่ สาระการเรียนรูส้ หวทิ ยาเขต กล่มุ โรงเรียน ฯลฯ 2.4 ส่งเสริมและพฒั นาโรงเรยี นด้วยพลังประชารฐั อย่างต่อเน่ือง และย่ังยนื

3. ส่งเสริมการมีส่วนรว่ มพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 3.1 สง่ เสรมิ สนบั สนุนผ้ปู กครอง ชมุ ชน สงั คม และสาธารณชน ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ สรา้ ง ความตระหนักในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การกํากับ ดูแล ตลอดจนการสว่ นรว่ ม รบั ผิดชอบในการพัฒนาคุณภาพ ผูเ้ รยี น 3.2 ประสานสถาบนั หรือหนว่ ยงานทางการศึกษาให้คัดเลือกผ้เู รียนเข้าศกึ ษาต่อ ด้วยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย นโยบายสาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7 สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 7 ได้ศึกษาวิเคราะห์บรบิ ททีเ่ ก่ยี วข้อง ประกอบด้วยร่างกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) นโยบายรฐั บาล นโยบายความมนั่ คงแห่งชาติ พ.ศ. 2558-2564 (รา่ ง)แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579.นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ จดุ เน้นนโยบายของ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560- 2564) นโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และผลการดาํ เนนิ งานของสาํ นักงานเขต พืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7 และผลวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมของสํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 7 มากําหนดกลยทุ ธ์ในการพัฒนาการศกึ ษาสคู่ วามสําเรจ็ ดังน้ี วิสยั ทศั น์ สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 เป็นองคก์ รบริหารจัดการศึกษา ให้ผเู้ รียนมี คุณภาพตามมาตรฐานสากล บนพ้นื ฐานความเป็นไทย พันธกิจ 1. สง่ เสรมิ และพัฒนาผเู้ รียนใหไ้ ดร้ ับการศึกษาอยา่ งมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มีความ เป็นไทยและมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 2. ส่งเสริม สนับสนุนใหป้ ระชากรวัยเรียนไดร้ บั การศึกษาอยา่ งท่ัวถึง และเสมอภาค 3. พฒั นาผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้ปฏบิ ตั ิหนา้ ทเี่ ตม็ ศักยภาพ และมี ประสิทธภิ าพตามมาตรฐานและสมรรถนะตามวชิ าชีพ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบมุง่ ผลสมั ฤทธ์ิ และการมีส่วนร่วมรับผิดชอบตอ่ คณุ ภาพการศึกษา เปา้ ประสงค์ ผ้เู รียนเปน็ คนดี คนเก่ง และอยู่ในสงั คมอย่างมีความสขุ คา่ นิยมองคก์ ร = สพม.7 ส. = สง่ เสริม สนับสนนุ การศึกษามัธยมศึกษาสู่มาตรฐานสากล พ. = พัฒนาองค์กรสมู่ าตรฐานสากล ม. มุง่ ม่นั พฒั นาสู่เป้าหมายความสาํ เร็จ “ครูคณุ ธรรม นกั เรียน คุณภาพ บุคลากรมืออาชีพ” 7 คุณลกั ษณะ = ซอื่ สตั ย์ โปร่งใส มีวินยั ยิ้มไหว้ ใหเ้ กียรติ บริการฉบั ไว จิตใจงดงาม

วัฒนธรรมองคก์ ร ใส่ใจบริการ ยดึ มน่ั คุณธรรม น้อมนําศาสตร์พระราชา พัฒนาสคู่ วามเป็นเลศิ อัตลกั ษณ์องคก์ ร “รว่ มคดิ ร่วมทํา นําสเู่ ปา้ หมาย” ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความม่ันคง ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพือ่ สร้างขีด ความสามารถในการแขง่ ขัน ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ดา้ นการส่งเสรมิ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ด้านโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียม การเข้าถึงบริการทางการศึกษา ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ท่เี ป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 ดา้ นการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและสง่ เสรมิ ให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คง 1. เสริมสรา้ งความมนั่ คงของสถาบันหลัก และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1 นอ้ มนําแนวพระราชดําริสืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโยบายดา้ น การศกึ ษา หรอื “ศาสตรพ์ ระราชา” มาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรอู้ ย่างย่ังยืน 1.2 ปลูกฝังและเสริมสร้างวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคสี มานฉันท์สนั ตวิ ิธีตอ่ ตา้ น การทจุ รติ คอรปั ชนั่ และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข 1.3 เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกบั สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ผ์ ่าน หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์และความเป็นพลเมือง 2. ปลกู ฝังผูเ้ รียนดา้ นคุณธรรม ุ จรยิ ธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์ 2.1 สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั กิจกรรมทั้งในและนอกหอ้ งเรียน ทเี่ ออ้ื ต่อการพัฒนา คุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตรและค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 2.2 เสริมสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ เก่ยี วกับภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ เชน่ อาชญากรรม และความ รนุ แรงในรูปแบบตา่ งๆ ส่งิ เสพติด ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ ภัยจากโรคอบุ ตั ใิ หม่ ภยั จาก ไซเบอร์ฯลฯ 3. พัฒนาการจดั การศึกษาโรงเรียนในเขตพื้นที่พเิ ศษใหเ้ หมาะสมตามบริบทของพืน้ ท่ี 3.1 เขตระเบียงเศรษฐกิจ 3.2 เขตพนื้ ท่ีชายแดน 3.3 เขตเศรษฐกจิ พิเศษ

ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพอ่ื สรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขัน 1. เสริมสรา้ งความเข้มแข็งในการพฒั นาผเู้ รียนอย่างมีคณุ ภาพดว้ ยการปรับหลักสตู ร การวัด และประเมนิ ผลท่เี หมาะสม 1.1 ปรับปรงุ หลกั สตู รในระดับปฐมวยั และหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และนําหลักสตู รไปสกู่ ารปฏิบัติใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ และจดั การเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกับหลักสตู ร ตามความ จาํ เปน็ และความตอ้ งการของผ้เู รยี น ชุมชน ท้องถิ่น และสงั คม 1.2 ส่งเสริมการเรยี นการสอนใหผ้ เู้ รยี นมคี วามม่ันใจในการส่อื สารภาษาองั กฤษ ภาษาประเทศ คู่คา้ และภาษาอาเซยี นอย่างน้อย 1 ภาษา 1.3 พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลทุกระดับ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานนาํ ไปสู่ การพัฒนา คณุ ภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ 2. พฒั นาคณุ ภาพกระบวนการเรยี นรู้ 2.1 สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหผ้ เู้ รยี นมนี ิสยั รกั การอา่ น 2.2 สง่ เสริมการจัดการเรียนร้ทู ใี่ ห้ผเู้ รียนได้เรียนรผู้ า่ นกจิ กรรมการปฏบิ ตั จิ ริง (Active Learning) เนน้ ทกั ษะกระบวนการ ให้เกิดทกั ษะการคดิ วิเคราะห์คิดแกป้ ัญหา และคิดสรา้ งสรรค์ใน ทกกลมุ่ สาระ การเรยี นร้ทู ้ังในและนอกห้องเรยี น 2.3 สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 2.4 ปลกู ฝังทักษะกระบวนการวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ 2.5 สนบั สนุนการผลิต จัดหาและใช้สือ่ การเรียนการสอน เทคโนโลยีนวตั กรรม และ ส่ิงอํานวยความสะดวกท่หี ลากหลายรวมทั้งการพัฒนาห้องสมุดและแหล่งเรยี นรภู้ ายในสถานศึกษาในการ จดั การเรยี นรไู้ ด้ทั้งใน ห้องเรยี น และนอกหอ้ งเรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มศกั ยภาพ 2.6 ส่งเสรมิ การจัดหลกั สูตรทกั ษะอาชีพ ควบคู่ไปกบั วิชาสามญั เช่น ทวิศกึ ษา (Dual Education) , หลักสูตรระยะสั้น 2.7 ส่งเสริม สนับสนนุ การพัฒนาผเู้ รียนท่ีมีความต้องการจาํ เป็นพิเศษ (ผู้ พกิ าร ผู้ดอ้ ยโอกาส และผูม้ คี วามสามารถพิเศษ) ให้เต็มตามศกั ยภาพด้วยรูปแบบทเ่ี หมาะสม 2.8 สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมแนะแนวเพ่อื การศึกษาต่อและการประกอบ อาชีพอย่าง เขม้ แข็งตอ่ เน่ืองและเปน็ รปู ธรรม 3. สรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขัน 3.1 ยกระดบั ผลการประเมนิ ระดบั นานาชาตติ ามโครงการ PISA (Programme for International Student Assessment) 3.2 ส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี นสู่ความเปน็ เลศิ ในด้านต่างๆ 3.3 ส่งเสริมการเรยี นรเู้ ชิงบรู ณาการแบบสหวิทยาการ เช่น สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) เพ่ือพัฒนากระบวนการ คดิ และ การสร้างสรรค์นวตั กรรมเพื่อสร้างมลู คา่ เพม่ิ สอดคลอ้ งกับประเทศไทย 4.0 4. ส่งเสริมสนบั สนุนการทําวิจัย และนาํ ผลการวิจัยไปใช้พัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 4.1 ส่งเสรมิ การทาํ วิจัยเพ่ือพัฒนาการบรหิ ารจดั การศกึ ษา 4.2 ส่งเสรมการทาํ วจิ ัยเพ่ือพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้การวดั และ ประเมินผล โดยเนน้ ให้มกี ารวิจัยในชัน้ เรยี น

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ด้านการสง่ เสรมิ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 1. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้สามารถจดั การเรียนรูอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ ในรูปแบบ ทีห่ ลากหลาย เชน่ 1.1 TEPE Online (Teachers and Educational Personals Enhancement Based on Mission and Functional Areas as Majors) 1.2 ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 1.3 การเรยี นรู้ผ่านกิจกรรมการปฏบิ ัตจิ ริง (Active Learning) 1.4 การพัฒนาครทู ง้ั ระบบท่ีเชือ่ มโยงกับการเลอื่ นวทิ ยฐานะ 2. พัฒนาระบบการบริหารงานบคุ คลให้มีประสทิ ธภิ าพ โดยเชอ่ื มโยงกับหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง 2.1 การกําหนดแผนอตั รากําลงั การสรรหา การบรรจุแต่งตัง้ การประเมินและการพัฒนา 2.2 การสร้างแรงจูงใจให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีขวญั และกาํ ลังใจในการทาํ งาน ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ดา้ นโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียม การเข้าถึงบริการทาง การศกึ ษา 1. เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ 1.1 สง่ เสริมประชากรวัยเรียนทุกคนให้ไดร้ ับโอกาสในการเขา้ รบั บรกิ ารทางการศกึ ษา อยา่ งทวั่ ถึง มคี ุณภาพและเสมอภาค 1.2 สร้างความเข้มแข็งของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ระบบสง่ เสรมิ ความ ประพฤตนิ กั เรยี น ระบบคมุ้ ครองนกั เรยี น และการสร้างภมู ิคมุ้ กนั ทางสังคม 2. ลดความเหลอ่ื มลํ้าทางการศกึ ษา 2.1 ประสานหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง ในการจัดการศึกษาทเี่ หมาะสม สาํ หรบั เดก็ ด้อย โอกาส ที่ไม่อยใู่ นทะเบียนราษฎร เชน่ เด็กไรส้ ญั ชาติเดก็ พลัดถนิ่ เด็กตา่ งด้าว เด็กไทยที่ไมม่ เี ลขประจาํ ตัว ประชาชน เป็นต้น 2.2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการจัดการศึกษาให้ครอบคลมุ ทกุ พื้นที่อยา่ ง ท่ัวถึง เชน่ การพัฒนาคณุ ภาพศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance learning information technology : DLIT) , การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television : DLTV) ฯลฯ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรกับ ส่งิ แวดล้อม 1. จดั การศึกษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ 1.1 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสร้างจิตสาํ นึกรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และน้อม นาํ แนวคดิ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิในการดาํ เนินชวี ิต 1.2 สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้แหลง่ เรยี นรู้ และสอ่ื การเรยี นรู้ต่างๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตทเี่ ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม 1.3 สร้างเครือข่ายความรว่ มมือกบั ภาคส่วนต่างๆ ในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ ม

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 ด้านการพัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมใหท้ ุกภาคส่วน มสี ่วน รว่ มในการจดั การศึกษา 1. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 1.1 พัฒนาระบบการวางแผน การนาํ แผนไปสู่การปฏิบัตกิ ารกํากบั ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผล เพอื่ การบริหารจดั การทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล 1.2 พัฒนาระบบงบประมาณและการสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยเพอื่ การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 1.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่อื การจดั การศึกษา ท่ีมมี าตรฐานเช่ือมโยงและเข้าถึงได้ 1.4 สรา้ งความเข้มแข็ง และยกระดับคุณภาพสถานศกึ ษาตามบริบทของพ้นื ที่ เชน่ โรงเรียนที่ ประสบปัญหาวกิ ฤตทางการศกึ ษา (ICU), โรงเรยี นประชารฐั (ดใี กล้บา้ น) โรงเรยี นคุณธรรม, โรงเรยี นห้องเรยี นกีฬา, โรงเรียนมาตรฐานสากล ฯลฯ 1.5 ส่งเสริมระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เขม้ แข็ง 1.6 ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตสิ าํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา สํานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สถานศึกษา และองค์คณะบุคคล ที่มผี ลงานเชงิ ประจักษ์ 2. สรา้ งความเข้มแข็งในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 2.1 สง่ เสริมการบรหิ ารจดั การเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาโดยใชพ้ ้ืนทเ่ี ปน็ ฐาน (Area-base Management), รูปแบบการบรหิ ารแบบกระจายอํานาจ “CLUSTERs” เปน็ ต้น 2.2 เขตพ้นื ท่ีการศึกษาจัดทําแผนบรู ณาการจดั การศึกษาร่วมกับสํานักงานศกึ ษาธิการ จังหวดั และสาํ นกั งานศึกษาธกิ ารภาค 2.3 สรา้ งความเข้มแข็งในการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย เช่น เครือข่าย สง่ เสริม ประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษา ศนู ย์พฒั นากลุ่มสาระการเรียนรูส้ หวิทยาเขต กลุ่มโรงเรียนฯลฯ 2.4 สง่ เสริมและพฒั นาโรงเรยี นด้วยพลงั ประชารัฐอย่างต่อเน่ือง และยง่ั ยนื 3. สง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 3.1 ส่งเสริม สนบั สนนุ ผู้ปกครอง ชมุ ชน สังคม และสาธารณชน ใหม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจ สรา้ ง ความตระหนักในการจัดการศึกษาขนั้ พื้นฐาน การกาํ กับ ดแู ล ตลอดจนการส่วนรว่ มรบั ผิดชอบในการ พัฒนาคณุ ภาพ ผู้เรียน 3.2 ประสานสถาบนั หรอื หน่วยงานทางการศึกษาให้คัดเลือกผเู้ รียนเข้าศกึ ษาต่อด้วยวธิ กี าร ทห่ี ลากหลาย

สว่ นที่ 3 ผลการดาเนนิ งาน 1. โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม เพื่อปลูกจิตสานึกปอ้ งกันการทุจริตและคอรปั ชั่น (ภายใต้ชือ่ เขตสุจริต) สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 ผ้รู บั ผิดชอบ นางสาวศรดุ า จนั ทร์เอน กลุ่มสง่ เสริมการจัดการศึกษา ดาเนินการโครงการ ไตรมาส 1 – 4 1. วัตถุประสงค์ 1.๑ เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา ที่ปฏิบัติหน้าที่ใน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ทุกคน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังการ ปราบปรามการทุจริตและคอรัปชั่น และมีความตระหนักและจิตสานึก ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของโครงการ 7 ประการ คือ ทักษะขบวนการคิด มีวินัย มีความซื่อสัตย์ มีความพอเพียง มีจิตสาธารณะ ศกึ ษา มีคณุ ธรรมจริยธรรมและสามารถดาเนินชีวติ ได้อย่างมคี วามสุข 1.๒ เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา ได้ปฏิบัติตามหลักธรรมคาสอนของ พระพทุ ธศาสนา 2. เปา้ หมาย 2.๑ ด้านปริมาณ ผบู้ ริหารการศึกษาและบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่ปฏิบัติหนา้ ที่ในสานกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 จานวน 55 คน 2.๒ ด้านคุณภาพ ผบู้ ริหารการศึกษาและบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่ปฏิบตั ิหนา้ ทีใ่ นสานักงานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7 มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคตแิ ละค่านิยมทีถ่ กู ต้องตามหลกั ธรรม คาสอนของศาสนาและตามหลักคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของโครงการ 7 ประการ คอื ทักษะ ขบวนการคิด มีวินัย มีความซื่อสัตย์ มคี วามพอเพียง มีจิตสาธารณะ ศึกษา มคี ุณธรรมจริยธรรมและ สามารถดาเนินชีวติ ได้อย่าง มคี วามสุข 3. กระบวนการดาเนินงาน 1. แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาสุจริต 2. ประกาศปฏิญญาสานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาสจุ ริต และกล่าวคาปฏิญาณ 3. จดั ทาบันทึกข้อตกลงความรว่ มมอื (MOU) ระหว่างผเู้ กี่ยวข้องทุกฝ่าย

4. ศึกษามาตรฐานสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาสุจรติ 5. จดั ประชุมวิเคราะหค์ วามเสี่ยงและจดั ทาแผนป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต สพม.7 6. การพัฒนาบุคลากร 6.1 ดาเนินการพัฒนาบคุ ลากรตามคณุ ลักษณะ 5 ประการของสานักงานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาสจุ ริต ดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย เชน่ การประชุมปฏิบตั ิการ การอบรม พฒั นา การระดม ความคิด การศกึ ษาดูงาน การจดั กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เปน็ ต้น 6.2 ดาเนินการพฒั นาบุคลากรตามดชั นีคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดาเนนิ งาน ของหน่วยงานภาครฐั ตามประเมิน IIT, EIT และ EBIT 7. จัดทารายงานการมาตรฐานการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) 8. สรุปผลการดาเนนิ งาน 4. ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 ดาเนินการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม เพื่อปลูกจิตสานึกป้องกนั การทจุ ริตและคอรัปชัน่ (ภายใต้ชื่อเขตสุจรติ ) ดงั น้ี - จัดทาคาสัง่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนินงานสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาสุจรติ และจัดประชุมเพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับความสาคัญของการดาเนินเขตพื้นที่การศึกษาสุตจริต ให้กบั ผบู้ ริหาร ข้าราชการ และบุคลากรในสังกัด - ประกาศปฏิญญาสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาสุจริต และการจัดกิจกรรมเชิง สัญลักษณ์เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาสจุ รติ ได้แก่ การเคารพธงชาติ การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่ตนนับ ถือ และการกล่าวคาปฏิญญาเขตพืน้ ที่การศกึ ษาสจุ ริต - จัดประชุมวิเคราะหค์ วามเสี่ยงและจัดทาแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต สพม.7 - จัดประชมุ เพือ่ กาหนดภารกิจให้สอดคล้องตามมาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา สุจรติ และมอบหมายผู้รบั ผดิ ชอบจดั ทารายงานตามมาตรฐาน - พัฒนาบุคลากรตามคณุ ลกั ษณะ 5 ประการของสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาสจุ รติ โดยการศึกษาดูงานการดาเนินงานเขตพื้นที่การศึกษาสุตจริต ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 30 และจัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ - จัดกิจกรรมที่แสดงออกถึงวฒั นธรรมที่ดงี าม เชน่ ยิ้มไหว้ ทกั ทายกัน กิจกรรมอื่น ๆ ที่พัฒนาทักษะของผู้ให้บริการที่ดี ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะ 5 ประการ ของสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาสุจรติ ตามมาตรฐานสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาสุจรติ - จัดทารายงานการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ หนว่ ยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ออนไลน์

จากการดาเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ผ่านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มีผลการประเมิน คือ 79.53 คะแนน โดยคะแนนเพิ่มขึน้ จากปีงบประมาณ 2560 (76.19 คะแนน) 5. ปัญหาอปุ สรรค 1. สัญญาณของระบบประเมิน ITA Online ไม่เสถียร 2. บุคลากร และผทู้ ี่มสี ่วนเกีย่ วข้องที่ตอ้ งกรอกมลู ผา่ นระบบประเมิน ITA Online ไม่มคี วาม ชานาญในการกรอกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ 6. แนวทางพัฒนาต่อไป 1. จดั ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทารายงานผ่านระบบประเมิน ITA Online 2. การจดั ทาคู่มอื การรายงานผ่านระบบประเมิน ITA Online 7. สรุปผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ - งบประมาณ 150,000 บาท - ใช้งบประมาณ 54,750 บาท - งบประมาณคงเหลอื 95,250 บาท 8. ภาคผนวก

2. โครงการการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในวิชาหลักและมีคุณภาพไดต้ ามมาตรฐาน ผู้ท่รี บั ผิดชอบ นายณรงค์พจน์ มีสรลกั ษณ์ กลุ่มนิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา ดาเนินการโครงการเมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ และ วนั ที่ ๑๐-๑๑ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ 1. วตั ถุประสงค์ 1.๑ เพื่อส่งเสริมพัฒนากระบวนการวัดผลและประเมินผลใหเ้ ปน็ กลไกในการยกระดับ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ๑.2 เพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรียน ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ของ โรงเรียนในสังกัด ให้สูงขึน้ อย่างนอ้ ยร้อยละ ๓ ๒. เปา้ หมาย 2.1 เชิงปริมาณ ๒.๑.๑ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ครูผรู้ บั ผิดชอบเรอ่ื ง การดาเนินการประเมิน Pre O-NET และการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา ๒๕๖๐ และศกึ ษานิเทศก์ จานวน ๙๕ คน 2.2 เชิงคณุ ภาพ ๒.๑ ครูผสู้ อนใช้กระบวนการวัดผลและประเมินผลในช้ันเรยี นเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ๒.๒ ผลการทดสอบระดับชาติขน้ั พืน้ ฐานปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ใน ๕ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ หลกั สงู ขึน้ ร้อยละ ๓ ๓. กระบวนการดาเนินงาน 3.1 จดั ประชุมคณะวิทยากร 3.2 จดั ประชุมรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ครผู ู้รับผิดชอบเรื่อง การดาเนนิ การประเมิน Pre O-NET และการประเมินผลสัมฤทธิท์ างการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา ๒๕๖๐ และศกึ ษานิเทศก์ 3.3 การนเิ ทศตดิ ตามการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ (ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๐) ๓.๔ ดาเนนิ การจัดประชุมรองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ และครูผรู้ ับผิดชอบการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จานวน ๔๔ โรงเรียน และศกึ ษานิเทศก์ เพือ่ ฝึกปฏิบตั ิวเิ คราะห์หาสาเหตุ จากผล การประเมินดว้ ยข้อสอบมาตรฐานกลาง และแบบรายงานการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๐

4. ผลการดาเนินงาน - โรงเรียนได้ดาเนินการวางแผนการจัดการเรยี นการสอน และวัดผลประเมินผลตาม โครงสรา้ งเครื่องมอื ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET ปีการศึกษา ๒๕๖๐ และวิเคราะห์หาสาเหตุจากผลการประเมินดว้ ยข้อสอบมาตรฐานกลาง และแบบรายงานการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๐ เพื่อนาผลไปพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ต่อไป 5. แนวทางพัฒนาต่อไป - ให้โรงเรียนได้นาผลจากการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๑ มาวิเคราะหแ์ ละนาผลจากการวิเคราะห์มาพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้กระบวนการ PLC ต่อไป 6. สรุปผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ - งบประมาณ ๕๗,๔๒๐ บาท - ใช้งบประมาณ ๕๗,๔๒๐ บาท 7. ภาคผนวก (ภาพกิจกรรม )

3. โครงการการพัฒนาบุคลากรงานทะเบียนการวัดและประเมินผลทางการศึกษา ผู้ท่รี ับผิดชอบ นายณรงค์พจน์ มีสรลกั ษณ์ กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา ดาเนินการโครงการ เมื่อวันที่ ๒๑ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖1 1. วตั ถุประสงค์ 1.๑ เพื่อให้ครผู ู้รับผดิ ชอบงานทะเบียนการวัดผลและประเมินผลของโรงเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการจัดทาระเบียนผลการเรียน และการพิมพ์รายงาน ปพ.๑-๗ ๑.2 เพือ่ ให้โรงเรียนในสังกัดทุกโรงสามารถจัดทาฐานข้อมลู ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPA) ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ถกู ต้อง ๒. เปา้ หมาย 2.1 เชิงปริมาณ ๒.๑.๑ ครูผรู้ บั ผดิ ชอบงานทะเบียนการวดั ผลและประเมินผล และครู ผรู้ ับผิดชอบการจัดทาฐานข้อมลู ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPA) ของโรงเรียนในสังกดั ๔๔ โรง จานวน ๘๘ คน วิทยากรจานวน ๓ คน ศกึ ษานิเทศก์และเจ้าหน้าที่ จานวน ๖ คน รวม ๕๑ คน 2.2 เชิงคุณภาพ ๒.๒.๑ ครูผรู้ บั ผิดชอบการจัดทาฐานข้อมลู ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPA) และครทู ะเบียนวดั ผลของโรงเรียนมคี วามรู้ มคี วามเข้าใจ ในการจดั ทาขอ้ มลู ๒.๒.๒ โรงเรียนในสังกดั ทกุ โรงสามารถจดั ส่งขอ้ มูลได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ถกู ต้อง ๓. กระบวนการดาเนินงาน 3.1 จัดประชมุ คณะวิทยากร 3.2 จัดประชุมปฏิบตั ิการครผู ู้รบั ผดิ ชอบการจัดทาฐานข้อมูลผลการเรียนเฉลีย่ สะสม (GPA) และครูทะเบียนวดั ผลของโรงเรียน นิเทศ กากบั ตดิ ตามและประเมินผล การดาเนินการจดั ทา ข้อมลู ระเบียนผลการเรียนของโรงเรียน ๔. ผลการดาเนินงาน - โรงเรียนได้จดั ทาระเบียนผลการเรียน และการพิมพ์รายงาน ปพ.๑-๗ และส่ง ข้อมูลผลการเรียน เฉลีย่ สะสม (GPA) ให้สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้อย่างถูกต้อง 5. ปญั หาอุปสรรค - การจดั ทาขอ้ มูลผลการเรียนเฉลีย่ สะสม (GPA) และ การจัดทาระเบียนผลการ เรียน มปี ญั หา เร่อื งการใชโ้ ปรแกรม เนื่องจากโรงเรยี นเปลี่ยนตวั ผรู้ บั ผิดชอบในการจดั ทาขอ้ มลู

6.แนวทางพัฒนาตอ่ ไป - ให้โรงเรียนได้ขยายผลโปรแกรมการจัดทาขอ้ มูลผลการเรียนเฉลีย่ สะสม (GPA) กบั ครูในโรงเรียนต่อไป 7. สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณ ๓๙,๖๖๐ บาท - งบประมาณ ๓๒,๒๒๐ บาท - ใช้งบประมาณ ๗,๔๔๐ บาท เปน็ งบนิเทศ ซึง่ ได้ดาเนินการนเิ ทศ - งบประมาณคงเหลอื โดยไม่ได้ใชง้ บประมาณ 8. ภาคผนวก (ภาพกิจกรรม )

4. โครงการรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณช์ ั้นตา่ กวา่ สายสะพายและเหรยี ญ จกั รพรรดิมาลา ผทู้ ร่ี บั ผิดชอบ นายประทีป วงศส์ ว่างศิริ และ นางสาวจนั ทร์เพ็ญ อว้ นตงต้น กลุ่มบริหารงานบุคคล ดาเนินการโครงการ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 1. วัตถปุ ระสงค์ - เพือ่ นาเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ฯ ทีไ่ ด้รบั จดั สรรในแตล่ ะช้ันตราของแตล่ ะปี มา พิจารณาให้กับผไู้ ด้รบั พระราชทาน ตามความจาเป็นที่ต้องใช้ประดบั และความเหมาะสม 2. เปา้ หมาย 2.1 เชิงปริมาณ - ประจาปี 2560 มีผู้ได้รับจัดสรรเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ชั้นต่ากว่า สายสะพายและเหรยี ญจกั รพรรดิมาลา จงั หวัดนครนายก จานวน 46 ราย จังหวดั ปราจนี บรุ ี จานวน 81 ราย จังหวัดสระแก้ว จานวน 30 ราย และผเู้ ข้าร่วมพธิ ี จานวน 25 ราย รวมทั้งสนิ้ 232 ราย 2.2 เชิงคุณภาพ - ร้อยละ 100 ของผู้ทีไ่ ด้รับจดั สรรเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์และเหรียญ จกั รพรรดิมาลา ประจาปี 2560 นาเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ไปใช้ประดบั เพือ่ ร่วมในงานพิธีสาคญั ต่าง ๆ ของทางราชการ 3. ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.1 แตง่ ต้ังเจา้ หนา้ ที่ไปตรวจรบั เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ชั้นต่ากว่าสายสะพายและ เหรียญจกั รพรรดิมาลา ประจาปี 2560 ณ สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 2 ตาบลคคู ต อาเภอลาลกู กา จังหวดั ปทุมธานี 3.2 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการพิจารณาจัดสรรเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ชั้นต่ากว่า สายสะพายและเหรยี ญจกั รพรรดิมาลา ให้กบั ผู้ได้รับพระราชทานเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ ประจาปี 2560 แยกรายช้ันตรา 3.3 จัดพิธีพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ ณ หอ้ งประชมุ โรงเรียนปราจณิ ราษฎร อารงุ อาเภอเมืองปราจนี บุรี จงั หวดั ปราจีนบรุ ี 4. ผลการดาเนินงาน 4.1 เจ้าหน้าทีท่ ี่ได้รบั การแต่งตั้งไปตรวจนบั เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์และเหรียญ จักรพรรดิมาลา ประจาปี 2560 ตามทีไ่ ด้รับจดั สรร ครบตามจานวน 4.2 การพิจารณาจัดสรรเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ ให้กบั ผไู้ ด้รับพระราชทาน

เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ประจาปี 2560 ดาเนินการตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการมีมติเห็นชอบ ด้วยความเหมาะสม เปน็ ธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ 4.3 ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ลกู จา้ งประจา และพนักงานราชการที่ ได้รบั การพิจารณาจัดสรรเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เกิดความภาคภูมิใจ และถือเป็นเกียรติแก่ตนเองและ ครอบครวั ทีไ่ ด้เข้าร่วมพธิ ีรับพระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ ประจางบประมาณ พ.ศ. 2561 4.4 ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ลูกจา้ งประจา พนกั งานราชการ ที่ ได้รบั จัดสรรเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์และเหรียญจักรพรรดิมาลา ประจาปี 2557 ได้นาไปใช้ประดับใน โอกาสทีส่ าคญั ต่างๆ ของทางราชการ 5. ปญั หาและอปุ สรรค 5.1 เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ ที่ได้รับจัดสรร ไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการของ ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ลกู จ้างประจา และพนกั งานราชการ ทีป่ รากฏรายชอ่ื ตาม ประกาศราชกิจจานเุ บกษา ประจาปี 6. ข้อเสนอแนะ - สพฐ. ควรจัดสรรเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ ให้ครบตามจานวนที่ได้รบั พระราชทาน เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ ประจาปี ในแตล่ ะปี 7. สรปุ ผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ 23,405 บาท - งบประมาณ 22,090 บาท - เบิกจ่าย 1,315 บาท - งบประมาณคงเหลอื

8. ภาคผนวก (ภาพถ่ายกิจกรรม)

5. โครงการ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา ปีงบประมาณ 2561 ผ้ทู ร่ี ับผิดชอบ นายสุชิน วรรณฉวี และศกึ ษานิเทศก์ทกุ คน กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ดาเนินการโครงการ เมือ่ วนั ที่ 26 มกราคม 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพือ่ พัฒนาจริยคุณ นักเรียนตามแนวทางของมูลนิธิยุวสถิรคุณ 1.2 เพื่อพัฒนาคุณธรรมอตั ลกั ษณ์ระดบั ห้องเรียน (คืนคุณธรรมสู่หอ้ งเรียน) 1.3. เพือ่ พัฒนาผนู้ าเยาวชนด้านคุณธรรมสสู่ งั คม และยุวชนคนคุณธรรม 1.4 เพือ่ นิเทศ กากับ ตดิ ตาม และประเมินผล การดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. 2. เป้าหมาย 2.1 เชิงปริมาณ - โรงเรียนในสังกัดสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 ทกุ โรงเรียน ดาเนนิ งานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. - ครวู ิทยากร ทุกโรงเรยี นในสังกดั 44 โรงเรียน จานวน 264 คน - นักเรียนผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมสสู่ ังคม และยุวชนคนคุณธรรม จานวน 264 คน 2.2 เชิงคณุ ภาพ - นกั เรียน ครู ผบู้ ริหาร และบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสังกดั ทกุ คน (ร้อยละ 100) มีคุณธรรม อตั ลักษณ์ 5 ประการ ได้แก่ ความพอเพียง ความกตัญญู ความซือ่ สัตย์ สุจรติ ความรบั ผิดชอบ และอดุ มการณ์คุณธรรม 3. กระบวนการดาเนินงาน 3.1 กิจกรรมพัฒนาจรยิ คณุ ตามแนวทางของมูลนิธิยวุ สถิรคุณ - ขยายผลการอบรมครวู ิทยากรใหค้ รใู นสังกดั ทกุ โรงเรยี น - ครวู ิทยากรขยายผลการดาเนินงานในโรงเรียนทุกแหง่ - ผบู้ ริหาร ครู และนักเรียนร่วมกนั ขบั เคลือ่ นโครงการคุณธรรมตามแนวทางของ มลู นิธิยุวสถิรคุณ 3.2 กิจกรรมคืนคุณธรรมสหู่ อ้ งเรียน(พฒั นาคุณธรรมอัตลักษณ์ระดบั หอ้ งเรียน) - นักเรียนโรงเรียนในสังกดั ร้อยละ 35 จัดทาโครงงานคุณธรรมทกุ หอ้ งเรียน - สรุปผลและคัดเลือกโครงงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้(Symposium) ระดบั เขตตรวจราชการ 3.3 กิจกรรมค่ายพฒั นาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมสสู่ งั คม

- จัดค่ายพฒั นาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมสู่สงั คม จานวน 100 คน - สรปุ ประเมนิ ผล และรายงานต่อ สพฐ. 3.4 กิจกรรม คา่ ยยวุ ชนคนคณุ ธรรม - จดั ค่ายยวุ ชนคนคุณธรรม จานวน 264 คน - สรปุ ประเมนิ ผล และรายงานต่อ สพม.7 3.5 กิจกรรม การนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม โรงเรียนคณุ ธรรม - นิเทศ โรงเรียนในสังกดั ภาคเรียนละ 1 ครงั้ - สรปุ ประเมนิ ผล และรายงานต่อ สพฐ. 3.6 กิจกรรม การประเมินคุรุชน คนคณุ ธรรม - แจ้งผบู้ ริหารและครสู มคั รเข้ารบั การพิจารณาคุรุชน คนคุณธรรม - คดั เลือกผบู้ ริหาร 5 คน ครู 15 คน ให้ RT.3 พิจารณา 4. ผลการดาเนินงาน 4.1 การพัฒนาจริยคุณตามแนวทางของมูลนิธิยวุ สถิรคณุ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา เขต 7 จดั สรรงบประมาณให้โรงเรียนวงั ไพรวิทยาคม ซึง่ โรงเรียนหน่วยขบั เคลื่อน โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของ สพม.7) ดาเนินการ ดงั น้ี - อบรมเชิงปฏิบัติการผู้บริหารและครูวิทยากรให้ครูในสังกัดทุกโรงเรยี น จานวน 264 คน เมือ่ วนั ที่ 21 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมบญุ เลก็ โรงเรียนสระแก้ว - ครูวิทยากรขยายผลการดาเนินงานในโรงเรียน - ผบู้ ริหาร ครู และนกั เรียนร่วมกันขับเคลื่อนโครงการคุณธรรมตามแนวทาง ของมูลนิธิยุวสถิรคุณ 4.2 คนื คุณธรรมสู่หอ้ งเรียน (พัฒนาคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ระดบั หอ้ งเรียน)จัดสรรงบประมาณ ให้โรงเรียนวังไพรวิทยาคม ซึง่ เปน็ โรงเรียนหน่วยขับเคลือ่ นโครงการฯ สพม.7) ดาเนินการ ดงั นี้ - อบรมให้ความรู้นกั เรียนโรงเรียนในสงั กดั จานวน 264 คน การจัดทาโครงงาน คณุ ธรรม ทกุ ห้องเรยี น เม่อื วันที่ 21 สงิ หาคม 2561 ณ ห้องประชุมบุญเล็ก โรงเรียนสระแก้ว - คัดเลือกโครงงานเข้าร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้(Symposium) ระดับเขตตรวจ ราชการ จานวน 1 โรงเรียน จานวน 5 โครงงาน เมือ่ วันที่ 25 - 26 กรกฎาคม 2561 ณ ภูเขางามรี สอร์ท อาเภอเมือง จงั หวัดนครนายก 4.3 ค่ายพัฒนาผนู้ าเยาวชนด้านคุณธรรมสู่สงั คมจัดสรรงบประมาณ ให้โรงเรียนวังไพรวิทยาคม ดาเนนิ การ ดงั นี้ - จัดค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมสู่สังคม โรงเรียนในสงั กัดที่สมคั รเข้า ร่วมคา่ ยฯ จานวน 264 คน เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2561 ณ หอ้ งประชมุ บุญเลก็ โรงเรียนสระแก้ว - สรปุ ประเมนิ ผล และรายงานต่อ สพฐ.

4.4 ค่ายยวุ ชนคนคุณธรรมจัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนวงั ไพรวิทยาคม ดาเนินการ ดังน้ี - จดั ค่ายยุวชนคนคณุ ธรรม จานวน 264 คน เม่ือวันที่ 22 สงิ หาคม 2561 ณ ห้องประชุมบญุ เล็ก โรงเรียนสระแก้ว - สรุป ประเมนิ ผล และรายงานต่อ สพม.7 4.5 การนิเทศ กากับ ตดิ ตาม โรงเรียนคุณธรรม - นิเทศ โรงเรียนในสงั กัด ที่โรงเรียนหน่วยขบั เคลือ่ นโครงการฯ สพม.7 จานวน 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นวังไพรวิทยาคม และ โรงเรียนซบั ม่วงวิทยา โรงเรียนละ 2 ครง้ั เมือ่ เดือนมถิ นุ ายน และกรกฎาคม 2561 - สรุป ประเมนิ ผล และรายงานต่อ สพฐ. 4.6 การประเมินคุรชุ น คนคุณธรรม - ได้แจง้ ผู้บริหารและครูสมคั รเข้ารบั การพิจารณาครุ ุชน คนคุณธรรม แตไ่ ม่มี ผบู้ ริหารและครสู มัครเข้ารับการประเมนิ 5. ปญั หาอปุ สรรค - มีกิจกรรมจานวนมาก ทบั ซ้อนกับกิจกรรมโครงการอื่นๆ ที่มเี ป้าหมายการพฒั นา ผเู้ รียน ในด้านคณุ ธรรม จริยธรรม เชน่ เดียวกัน 6. แนวทางพัฒนาตอ่ ไป - ควรมีการบูรณาการโครงการที่มเี ป้าหมายการพัฒนาเดียวกันเป็นโครงการ/ กิจกรรมเดียวกัน เพื่อลดกิจกรรมในระดบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาและโรงเรียน 7. สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณ - งบประมาณ 342,380 บาท - ใช้งบประมาณ 234,000 บาท - งบประมาณคงเหลือ 108,380 บาท 8. ภาคผนวก

6. โครงการ เสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทจุ ริต” (โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ) ผทู้ ่รี บั ผิดชอบ นายสชุ ิน วรรณฉวี และศกึ ษานิเทศก์ทุกคน กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ดาเนินการโครงการ เมื่อเดือน พฤษภาคม ถึง 30 กันยายน 2561 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพื่อใหโ้ รงเรียนในสังกัด ทกุ โรงเรียน มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต 1.2 เพื่อใหโ้ รงเรียนในสังกัด ทุกโรงเรียนจดั กิจกรรมเพือ่ สร้างความตระหนักรู้ในการป้องกัน และปราบรามการทจุ ริต ให้มคี ่านิยมรว่ มต้านการทุจริต มีจิตสานึกสาธารณะ และสามารถแยกระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์สว่ นรวม 1.2 เพือ่ ให้ผู้รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ได้รับ การปลกู ฝังให้มที ศั นคติ และค่านิยมไม่ยอมรบั การทจุ ริต และมีสว่ นร่วมในการผลักดนั ให้เกิดสังคมทีไ่ ม่ ทนต่อการทจุ ริต ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2561 2. เป้าหมาย 2.1 เชิงปริมาณ - โรงเรียนในสงั กดั สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 ทุกโรงเรยี น จดั กิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตเพือ่ สร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและ ปราบรามการทจุ ริต ให้มคี ่านิยมร่วม ต้านการทุจรติ มีจิตสานกึ สาธารณะ และสามารถแยกระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์สว่ นรวม - นกั เรียน ครู ผบู้ ริหาร และบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสังกัดทุกคนได้รบั การ พฒั นาคณุ ลักษณะ 5 ประการของโรงเรยี นสจุ รติ ได้แก่ ทกั ษะการคิด มีวนิ ยั ซื่อสัตย์สจุ รติ อยู่อย่าง พอเพียง และจติ สาธารณะ 2.2 เชิงคุณภาพ -นักเรียน ครู ผบู้ ริหาร และบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสังกัด มคี ณุ ลักษณะ ประการของโรงเรียนสจุ ริต ได้แก่ ทกั ษะการคิด มีวินยั ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และจติ สาธารณะ 3. กระบวนการดาเนินงาน 3.1 กิจกรรมบริษัทสร้างการดี (พฤษภาคม ถึงกนั ยายน 2561) - โรงเรียนสุจริตต้นแบบ และเครือขา่ ย ร้อยละ 10 จานวน 6 โรงเรียน ดาเนนิ การบริษัทสร้างการดีอย่างตอ่ เนื่อง

- เครือขา่ ยโรงเรยี นสุจรติ ร้อยละ 20 จานวน 10 โรงเรียน ดาเนนิ กิจกรรม บริษทั สร้างการดี 3.2 กิจกรรมค่ายเยาวชน “คนดีของแผ่นดิน” (เยาวชนไทยหัวใจ STRONG) (พฤษภาคม ถึง กนั ยายน 2561) - โรงเรียนสจุ ริตต้นแบบ จัดค่ายเยาวชน “คนดีของแผน่ ดิน” (เยาวชนไทยหัวใจ STRONG) ให้กบั แกนนานกั เรียน เครอื ข่ายโรงเรียนสจุ ริต ร้อยละ 30 และ 40 จานวน 28 โรงเรียน อย่างนอ้ ย 100 คน 3.3 กิจกรรม ป.ป.ช. สพฐ.น้อย และป.ป.ช. สพฐ.ชุมชน (พฤษภาคม ถึงกันยายน 2561) - เครือขา่ ยโรงเรยี นสุจรติ ร้อยละ 30 และ 40 จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง ป.ป.ช. สพฐ.น้อย และป.ป.ช. สพฐ.ชมุ ชน ตามเกณฑท์ ี่กาหนด - เขตพื้นที่รว่ มกับโรงเรียนสุจริตต้นแบบจดั อบรมชีแ้ จงบทบาทและหน้าทีแ่ ละ สร้างความเข้มแขง็ ให้กับป.ป.ช. สพฐ.น้อย และป.ป.ช. สพฐ.ชมุ ชน 3.4 กิจกรรม การนิเทศ กากบั ตดิ ตาม โรงเรยี นสจุ รติ (กรกฎาคม ถึงกันยายน 2561) 3.5 กิจกรรม การประเมินความโปร่งใสในการดาเนินงานของโรงเรียน สพฐ. ใสสะอาดปราศจากคอร์รัปชนั่ (ITA) โรงเรียนทัพราชวิทยา (กรกฎาคม ถึงกนั ยายน 2561) 3.6 กิจกรรมการสร้างสานึกพลเมอื ง (Project Citizen) (สิงหาคม 2561) โรงเรียนสุจริตต้นแบบ สง่ บุคลากรโรงเรยี นละ 3 คน ( ผบู้ ริหาร 1 คน และครู 2 คน) เข้ารับการอบรม เชงิ ปฎิบตั ิการสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) และเขา้ ร่วมกิจกรรม Symposium ที่ สพฐ.จัดข้นึ 3.7 กิจกรรมการถอดบทเรียน (Best Practice) (สิงหาคม - กันยายน 2561) โรงเรียนสุจริตต้นแบบร่วมกับเขตพื้นที่ ดาเนนิ การ ดงั นี้ - จดั ประชุมให้ความรเู้ กี่ยวกับการถอดบทเรียน (Best Practice) และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Symposium) การถอดบทเรียน ให้กับผบู้ ริหารและครใู นโรงเรียนและเครือข่าย โรงเรียนสุจริต รอ้ ยละ 10 - โรงเรียนสจุ ริตต้นแบบ คัดเลือกBest Practice ดีเด่น ของผู้บริหาร ครู และนักเรียน อย่างละ 1 ผลงาน เพื่อเปน็ ตัวแทนของเขตพื้นทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม Symposium ระดับ สพฐ. 3.8 กิจกรรมสอ่ื ภาพยนตร์สนั้ รณรงค์การสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ - โรงเรียนสจุ ริตต้นแบบ หรอื เครือขา่ ยโรงเรยี นสุจรติ ร้อยละ 10 ทีม่ คี วาม พร้อมทางด้าน ICTเขตละ 1 คน เข้ารับการอบรมวิทยากรแกนนาการผลิตภาพยนตรส์ ้ัน จาก สพฐ - วิทยากรแกนนาฯ จดั อบรมขยายผลให้ครูและนกั เรียน เครือขา่ ยโรงเรยี นสุจรติ ร้อยละ 10 - เครือขา่ ยโรงเรยี นสุจรติ ร้อยละ 10 ผลติ ภาพยนตรส์ ั้น และส่งผลงานไปยัง สพฐ.

4. ผลการดาเนินงาน 4.1 จดั ประชุมชีแ้ จงโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าล ในสถานศกึ ษา “ป้องกันการทุจริต” (โรงเรียนสจุ รติ ) ปีงบประมาณ 2561 เพือ่ ให้สถานศกึ ษาในสังกดั มีความรู้ ความเข้าใจ ยทุ ธศาสตร์ พันธกิจ วัตถปุ ระสงค์ การขบั เคลื่อนโครงการ โรงเรยี นสจุ ริต กลุ่ม นิเทศฯ จึงจดั การประชมุ ชีแ้ จงโครงการโรงเรียนสุจริต เมือ่ วนั ที่ 9 กรกฎาคม 2561 ณ ห้อง ประชมุ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7 4.2 กิจกรรมบริษัทสร้างการดี - โรงเรียนสจุ ริตต้นแบบ และเครือขา่ ย รอ้ ยละ 10 จานวน 6 โรงเรียน ดาเนนิ การ บริษทั สร้างการดีอย่างตอ่ เนื่อง - จดั สรรงบประมาณให้เครือข่ายโรงเรยี นสุจริต รอ้ ยละ 20 จานวน 10 โรงเรียนๆ ละ 2,000 บาท เพือ่ ดาเนินกิจกรรมบริษทั สร้างการดี 4.3 กิจกรรมค่ายเยาวชน “คนดีของแผ่นดิน”(เยาวชนไทยหวั ใจ STRONG) - สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 รว่ มกับโรงเรียนปราจณิ ราษฎร อารุง (โรงเรยี นสุจริตต้นแบบ) จดั ค่ายเยาวชน “คนดีของแผน่ ดิน”(เยาวชนไทยหวั ใจ STRONG) ให้กับ แกนนานักเรียน จากเครือข่ายโรงเรยี นสุจริต ร้อยละ 30 และ40 จานวน 28 โรงเรียน นักเรียน 150 คน เม่อื วันที่ 8 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชมุ อเนกสัมพนั ธ์ โรงเรียนปราจิณราษฎรอารงุ อาเภอเมือง จังหวดั ปราจนี บรุ ี 4.4 กิจกรรม ป.ป.ช. สพฐ.น้อย และป.ป.ช. สพฐ.ชุมชน - สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 ร่วมกบั โรงเรียนปราจิณ ราษฎรอารุง (โรงเรียนสุจริต ต้นแบบ) จดั อบรมชแี้ จงบทบาทและหน้าที่และสร้างความเข้มแขง็ ให้กบั ป.ป.ช. สพฐ.น้อย และป.ป.ช. สพฐ. ชุมชน จานวน 50 คน เมือ่ วันที่ 9 สงิ หาคม 2561 ณ ห้องประชุมอเนกสัมพนั ธ์ โรงเรียนปราจณิ ราษฎรอารุง อาเภอเมือง จงั หวัดปราจนี บรุ ี - เครือขา่ ยโรงเรยี นสจุ รติ ร้อยละ 30 และ 40 จัดทาคาส่ังแต่งตงั้ ป.ป.ช. สพฐ.น้อย และป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน ตามเกณฑท์ ี่กาหนด 4.5 กิจกรรม การนิเทศ กากับ ตดิ ตาม โรงเรยี นสจุ รติ 4.6 ประเมินความโปร่งใสในการดาเนินงานของโรงเรียน สพฐ.ใสสะอาดปราศจาก คอร์รปั ชั่น (ITA) ประเมนิ ITA โรงเรียนทัพราชวิทยา โดย สพฐ. 4.7 กิจกรรมการสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) - จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนสุจรติ ต้นแบบ(โรงเรียนปราจณิ ราษฎรอารุง ) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสาหรบั ผู้บริหาร 1 คน และครู 2 คน เข้ารับการอบรมเชิงปฎิบตั ิการสร้างสานึก พลเมอื ง (Project Citizen) และเขา้ ร่วม Symposium ที่ สพฐ.จัดข้ึน และดาเนินกิจกรรมสรา้ งสานึก พลเมอื ง (Project Citizen)

4.8 กิจกรรมการถอดบทเรียน (Best Practice) โรงเรียนสุจริตต้นแบบร่วมกับเขตพื้นที่ ดาเนนิ การ ดงั นี้ - จัดประชมุ ให้ความรเู้ กี่ยวกบั การถอดบทเรียน (Best Practice) และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Symposium) การถอดบทเรียน ให้กับผบู้ ริหารและครูในโรงเรียนและเครือข่าย โรงเรียนสจุ ริต รอ้ ยละ 10 - โรงเรียนสจุ ริตต้นแบบ คัดเลือกBest Practice ดีเด่น ของผู้บริหาร ครู และนกั เรียน อย่างละ 1 ผลงาน เพือ่ เป็นตวั แทนของเขตพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม Symposium ระดับ สพฐ. 5. สรปุ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ - งบประมาณ 127,000 บาท บาท - ใช้งบประมาณ 68,750 บาท - งบประมาณคงเหลือ 58,250

6. โครงการพัฒนาทกั ษะการอ่านคล่อง – เขียนคลอ่ ง(การแข่งขันทักษะภาษาไทย เนื่องในวัน ภาษาไทย แหง่ ชาติ ปี 2561 ผทู้ ่รี ับผิดชอบ นายสชุ ิน วรรณฉวี และศกึ ษานิเทศก์ทกุ คน กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ดาเนินการโครงการ เมือ่ วันที่ 22 พฤษภาคม 2561 ถึง 11 มถิ ุนายน 2561 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพือ่ สืบสานพระราชปณิธานของรัชกาลที่ 9 และน้อมนาพระราชกระแสรบั สงั่ ของรัชกาลที่ 10 ให้ผู้เรยี น เกิดความตระหนกั เห็นความสาคญั ที่จะร่วมมือร่วมใจกัน ทานบุ ารุงสง่ เสริม อนุรกั ษ์ภาษาไทย 1.2 เพื่อพัฒนาส่งเสริมความสามารถและทักษะด้านภาษาไทยของผเู้ รียน 2. เปา้ หมาย 2.1 เชิงปริมาณ - คณะกรรมการจัดการแข่งขันทกั ษะภาษาไทยในโครงการรักษ์ภาษาไทย เนื่องในวนั ภาษาไทยแห่งชาติ ปี 2561 จานวน 65 คน - นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย โรงเรียนในสังกัดเข้าร่วมแขง่ ขนั ทกั ษะภาษาไทย ในโครงการรกั ษ์ภาษาไทย เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ปี 2561 จานวน 300 คน 2.2 เชิงคณุ ภาพ - ร้อยละ 100 ของนักเรียนทีร่ ว่ มแขง่ ขันทกั ษะภาษาไทยเกิดความตระหนัก เห็นความสาคัญทีจ่ ะร่วมมือร่วมใจกัน ทานบุ ารุงส่งเสริมอนุรักษ์ภาษาไทย 3. กระบวนการดาเนินงาน 3.1 ขออนุมตั ิ ปรับเปลีย่ นกิจกรรมโครงการพัฒนาทกั ษะการอ่านคล่อง เขียน คล่อง ปีงบประมาณ 2561 ดังน้ี 3.2 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการจัดการแขง่ ขันทกั ษะภาษาไทยในโครงการรักษ์ภาษาไทย เนื่องในวนั ภาษาไทย แห่งชาติ ปี 2561 11 คณะ จานวน 65 คน 3.3 จัดการแข่งขนั ทักษะภาษาไทยนักเรียนในสงั กัด ในวันอาทิตย์ที่ 10 มถิ ุนายน 2561 ณ โรงเรียนปราจนี กัลยาณี อาเภอเมืองปราจนี บรุ ี จังหวัดปราจนี บุรี จานวน 10 รายการแข่งขนั มีนกั เรียนเข้าร่วมการแข่งขัน จานวน 300 คน รายการแข่งขนั ดังน้ี 1) การคัดลายมือ ช้ัน ม. 1 – 3 2) การคัดลายมือ ช้ัน ม. 4 – 6 3) เรียงรอ้ ยถ้อยความ ช้ัน ม. 1 – 3

4) เรียงรอ้ ยถ้อยความ ช้ัน ม. 4 – 6 5) การย่อความ ชั้น ม. 1 – 3 6) การย่อความ ช้ัน ม. 4 – 6 7) การแต่งคาประพันธ์ ช้ัน ม. 1 – 3 8) การแต่งคาประพันธ์ ชั้น ม. 4 – 6 9) พินจิ วรรณคดี ชั้น ม. 1 – 3 10) พินจิ วรรณคดี ช้ัน ม. 4 – 6 3.4 ประกาศผลการแขง่ ขนั ทักษะภาษาไทยในโครงการรกั ษ์ภาษาไทย เนื่องในวันภาษาไทย แหง่ ชาติ ปี 2561 (11 มถิ ุนายน 2561) 3.5 ส่งผลการแขง่ ขนั ทกั ษะภาษาไทยฯ ให้สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) เพือ่ ร่วมการแข่งขนั ในระดบั ชาติตอ่ ไป (11 มิถุนายน 2561) 3.6 สรุปรายงานโครงการ ( 15 มิถนุ ายน 2561) 4. ผลการดาเนินงาน 4.1 ได้รบั การอนุมตั ใิ ห้ปรับเปลี่ยนกิจกรรมโครงการพฒั นาทักษะการอา่ นคล่อง เขียนคล่อง ปีงบประมาณ 2561 (เดือนพฤษภาคม 2561) 4.2 คาสงั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการจัดการแข่งขนั ทักษะภาษาไทยในโครงการรักษ์ ภาษาไทย เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ปี 2561 จานวน 11 คณะ 65 คน 4.3 จดั การแข่งขนั ทกั ษะภาษาไทยนักเรียนในสังกดั เมือ่ วันอาทิตย์ที่ 10 มิถนุ ายน 2561 ณ โรงเรียนปราจนี กัลยาณี อาเภอเมืองปราจนี บุรี จังหวดั ปราจนี บรุ ี จานวน 10 รายการแข่งขัน มีนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน จานวน 320 คน 4.4 ประกาศผลการแขง่ ขนั ทักษะภาษาไทยในโครงการรักษ์ภาษาไทย เนื่องในวันภาษาไทย แหง่ ชาติ ปี 2561 (11 มิถุนายน 2561) 4.5 ส่งผลการแขง่ ขนั ทักษะภาษาไทยฯ ให้สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) เพือ่ ร่วมการแข่งขนั ในระดับชาติตอ่ ไป (11 มิถนุ ายน 2561) 4.6 สรุปรายงานโครงการ (15 มิถุนายน 2561) 5. ปญั หาอปุ สรรค 5.1 มจี านวนผเู้ ข้าการแข่งขันจานวนมาก ทาให้เกิดความยุ่งยากในการบริหารจัดการและ การทาขอ้ สอบ 5.2 ขาดงบประมาณสาหรับการจัดการแขง่ ขัน ในปีงบประมาณ 2561 สพฐ. ไม่ได้จัดสรรงบประมาณให้

6. แนวทางพัฒนาตอ่ ไป สพฐ. ควรจัดสรรงบประมาณสาหรบั การจัดการแขง่ ขนั ในปีงบประมาณ 2562 7. สรปุ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ - งบประมาณ 30,000 บาท 8. ภาคผนวก - ใช้งบประมาณ 30,000 บาท ผลงานชนะเลิศอันดบั ท่ี 1 การแข่งขนั ทกั ษะภาษาไทยระดบั เขตพนื้ ท่ี โครงการรกั ษภ์ าษาไทย เนอ่ื งในวนั ภาษาไทยแห่งชาติ ปี 2561 สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๗ (สพม.7) ที่ รายการแขง่ ขนั ช่อื – สกลุ โรงเรียน ครูผ้ฝู ึกสอน 1 การคดั ลายมือ ช้ัน ม. 1 - 3 ด.ญ.ชุติกาญจน์ แสนศรี นครนายกวทิ ยาคม น.ส.สุภาพรรณ สขุ เกิด จันทร์ 2 การคดั ลายมือ ช้ัน ม. 4- 6 น.ส.สสิกา บญุ ยิง่ ปราจิณราษฎรอารงุ น.ส.เขมกิ า มสุ กิ วงศ์ 3 เรียงร้อยถ้อยความ ชนั้ ม. 1 - 3 ด.ญ.ฐิตกิ านต์ นงค์สันเทียะ ปราจิณราษฎรอารุง นางเสาวภา เพชรคง 4 เรียงร้อยถ้อยความ ชน้ั ม. 4 - 6 น.ส.นริสรา ขาอรณุ ศรีมหาโพธิ นายกรวทิ จนั ทชดิ 5 การย่อความ ชั้น ม. 1 - 3 ด.ญ.นติ ยาพร เทพรักษา วังนา้ เย็นวทิ ยาคม นางณัฐมาพร นาราศรี 6 การย่อความ ชั้น ม. 4 - 6 น.ส.สริ ิกร สร้อยสระคู กบนิ ทร์บุรี นางจารวุ รรณ พูนบานาญ 7 การแตง่ คาประพนั ธ์ ชน้ั ม. 1 - 3 ด.ช.ศตวรรษ แก้วประเสริฐ เขาเพิม่ นารีผลวิทยา นางวาสนา รอดประเสริฐ 8 การแตง่ คาประพันธ์ ชน้ั ม. 4 - 6 นายเมธาวี ก้านแก้ว กระทุ่มแพว้ วทิ ยา นายวิษณุ พมุ่ สวา่ ง 9 พนิ จิ วรรณคดี ชนั้ ม. 1 – 3 ด.ญ.ปพชิ ญา สจุ นั ทรา ปราจิณราษฎรอารุง นางเสาวภา เพชรคง อันดับที่ 1 ด.ญ.ธิติสรณ์ พมุ่ สกุล นครนายกวทิ ยาคม น.ส.ธนาภรณ์ คนเสงีย่ ม อนั ดบั ที่ 2 ด.ญ.พรชติ า เลาหกิตติการ ปิยชาติพัฒนาฯ น.ส.ฐิติรัตน์ สมนึก อันดบั ที่ 3 ด.ญ.ภทั ราภรณ์ มลิวัลย์ บ้านนา“นายกพทิ ยากร” น.ส.แววนภา พระเพ็ชร อันดบั ที่ 4 ด.ญ.สิริรัตน์ สกุลนา ประจันตราษฎ์บารุง น.ส.บุญเกิด พันศรี อันดบั ที่ 4 10 พนิ จิ วรรณคดี ชน้ั ม. 4 – 6 น.ส.จามิกร มณฑากลิน่ ปราจิณราษฎรอารุง นางเสาวภา เพชรคง อนั ดับที่ 1 นายวรฤทธิ์ อรรถประจง วงั หลังวิทยาคม น.ส.ศมลวรรณ รสหอม อนั ดับที่ 2 น.ส.มารษิ า รับแสง ทัพพระยาพิทยา น.ส.นิลาวลั ย์ ราชเจรญิ อันดับที่ 3 น.ส.จินตรตั น์ เตม็ รัก บ้านนา“นายกพทิ ยากร” น.ส.ชลลดา วสิ มุ า อันดบั ที่ 4 น.ส.ปวณี า บญุ ปญั ญา คลองหาดพิทยาคม น.ส.ปวริศา เวยี งอินทร์ อันดับที่ 5

9. โครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชีว้ ดั กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 ) ผู้ท่รี ับผิดชอบ นายสุชิน วรรณฉวี และศกึ ษานิเทศก์ทกุ คน กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา ดาเนินการโครงการ เมือ่ วันที่ 26 มกราคม 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพือ่ ให้ผู้บริหาร ครู และผทู้ ี่มีหน้าทีเ่ กี่ยวข้องจะต้องมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560 ) 1.2 เพื่อให้โรงเรียนในสังกัดทุกโรงเรยี นพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560 ) 1.3เพื่อให้ครผู ู้สอนเตรียมแผนการจัดการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอน การวดั ประเมินผลใหท้ นั ใช้ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2561 2. เปา้ หมาย 2.1 เชิงปริมาณ - โรงเรียนในสงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 จานวน 44 โรงเรียนได้จดั ทาหลกั สูตร สถานศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 ) 2.2 เชงิ คณุ ภาพ - ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในสานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7 มีหลกั สูตรสถานศกึ ษา แผนการจัดการเรียนการสอน สือ่ การเรียนการสอน การวัดประเมินผล ใชใ้ น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2561 3. กระบวนการดาเนินงาน 3.1 ประชุมสร้างความเข้าใจเรื่อง “การนามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ดั กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560 ) สู่การปฏิบตั ิ”ถ่ายทอดสดทาง WWW.obectv.tv ใน วันที่ 26 มกราคม 2561

3.2 ประชุมขยายผลสร้างความเข้าใจและติดตามความก้าวหน้าการพัฒนาหลักสูตร สถานศกึ ษาตามหลกั สูตร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560 ) ในวนั ที่ 14 กมุ ภาพันธ์ 2561 3.3 รว่ มประชุม สัมมนา กับ สพฐ. และ กากบั ตดิ ตาม ดแู ลชว่ ยเหลอื การพัฒนาหลักสตู ร สถานศกึ ษาของสถานศกึ ษาในสงั กดั (มีนาคม - เมษายน 2561) 3.4 สรปุ รายงานผล การดาเนินงานต่อสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.)(พฤษภาคม 2561) 4. ผลการดาเนินงาน 4.1 ประชุมสร้างความเข้าใจเรื่อง “การนามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ดั กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และ วฒั นธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560 ) สู่การปฏิบัติ”ถ่ายทอดสดทาง WWW.obectv.tv ในวันที่ 26 มกราคม 2561 4.2 ประชุมขยายผลสรา้ งความเข้าใจและติดตามความก้าวหนา้ การพัฒนาหลักสตู ร สถานศกึ ษาตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)ให้แก่รองผู้อานวยการโรงเรียนฝา่ ยวิชาการและหวั หนา้ งานวิชาการและผเู้ กีย่ วข้องโรงเรียนใน สงั กัดทุกโรงเรยี น 4.3 รวม 100 คน 1 วัน ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ เวลา 09.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุมโรงเรียนกบินทร์วทิ ยา 4.4 สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7 คดั เลือกครูแกนนา 4 สาระหลัก ของโรงเรียนนครนายกวิทยาคม 4 ท่านเข้าร่วมประชมุ ประชุมปฏิบตั ิการพัฒนาบุคลากรหลักเพื่อ สร้างความเข้าใจ เรือ่ งการนามาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ดั กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตรฯ์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ไปสู่การปฏิบัติ ครั้งที่ 1 ระหว่างวนั ที่ 13 – 16มนี าคม 2561 ณ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช พทั ยา ชลบุรี 4.5 กากับ ตดิ ตาม ดแู ลช่วยเหลอื การพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาของ สถานศกึ ษาในสังกดั โดยคณะศกึ ษานิเทศก์รว่ มกบั ครูแกนนา 4 สาระหลกั (มีนาคม - เมษายน 2561) 4.6 สรปุ รายงานผล การดาเนินงานต่อสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.(พฤษภาคม 2561)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook