Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญามกราคม63

ภูมิปัญามกราคม63

Published by chombuenglibrary, 2020-05-11 01:03:54

Description: ภูมิปัญามกราคม63

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ ด้วย กศน.ตำบลจอมบึง ได้ดำเนินการจัดทำภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้กับประชาชนในพื้นที่ ตำบลจอมบึง เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง สามารถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ทั้งจากการศึกษาด้วยตนเอง และได้รับการถ่ายทอดจากผู้อื่น การนำภูมิปัญญามาเผยแพร่เพื่อให้ ประชาชนในพื้นที่ได้นำไปใช้และเรียนรู้เพื่อเพิ่มอาชีพ และประสบการณ์ให้กับตนเองและครอบครัวให้มีการ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและเกื้อกูลในการผลิตซึ่งกันและกัน โดยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และไม่มีสารพิษ เช่น ดิน น้ำ แสงแดดอย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดมีความสมดุล ของสภาพแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง และเกิดผลในการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติด้วย กศน.ตำบลจอมบึง หวังว่าเอกสารเล่มน้คี งมีประโยชน์ต่อผอู้ า่ นและผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ่ ไป กศน.ตำบลจอมบงึ มกราคม 2563

สารบัญ หนา้ คำนำ 1 สารบญั 5 กศน.ตำบลจอมบึง 9 - ภมู ิปญั ญา การเพาะเล้ยี งจง้ิ หรีด : คณุ เสถียร ชฝู า - ภูมิปัญญา ดา้ นหมอดินอาสา : คุณประนอม ชูฝา - ภูมิปญั ญา การเลี้ยงหมู : คุณขันรร์ วี บัวขาว คณะผ้จู ดั ทาํ

1 แบบบนั ทึกชุดข้อมูลคลังปัญญา-ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบงึ จงั หวัดราชบุรี ชื่อภมู ิปัญญา : ดา้ นการเพาะเลีย้ งจ้งิ หรดี ช่อื นายเสถยี ร นามสกลุ ชฝู า วันเดอื นปีเกดิ : 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2496 ท่อี ยูป่ ัจจบุ นั (ท่ีสามารถตดิ ต่อได้) : บา้ นเลขท่ี 48 หม่ทู ี่ 4 ตำบลจอมบึง อำเภอจอมบงึ จงั หวดั ราชบุรี รหัสไปรษณยี ์ 70150 ความเป็นมาของบุคคลคลังปญั ญา คุณลุงเสถยี ร ชูฝา เป็นผทู้ ่ีมีความรอบรู้ด้านการเพาะเลี้ยงจิง้ หรดี ตั้งแตท่ ่านทำการเกษตรและประสบ ปัญหาด้านการทำไร่อ้อย ท่านจึงเข้ารับการอบรมที่สำนักงานเกษตรจัดขึ้น และได้ไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับการ เพาะเลี้ยงจิ้งหรีด จึงเกิดความสนใจทางด้านนี้ การเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด มีมานานเพราะว่าจิ้งหรีดนั้นมีวิธีการ เพาะเล้ียงง่าย ลงทนุ ไมเ่ ยอะลงทุนครัง้ เดียวสามารถตอ่ ยอดการเลี้ยงไปได้เร่ือย ๆ โดยไมต่ อ้ งลงทุนซอื้ เพ่ิม แต่ว่า ปัญหาการกนิ กนั เองของจ้งิ หรีดนนั้ มมี าต่อเนอื่ งเชน่ เดียวกัน ตอนท่จี ้ิงหรีดลอกคราบนั้นจะอ่อนแอมากจึงทำให้ เป็นเหยื่อของจิ้งหรีดตัวที่แข็งแรงกว่า จึงทำให้จำนวนจิ้งหรีดที่ได้จากการเพาะออกมาเป็นตัวเต็มวัยนั้นเหลอื น้อยมาก ก็จะประสบกับปัญหาอีก แต่ส่วนใหญ่จะเสยี ก็ตรงท่ีเวลาเพาะออกมาเปน็ ตัวแล้วจะเหลอื น้อย ตอนที่ ลอกคราบเพาะมกี ารกินกันเอง จิง้ หรดี ตวั ทีล่ อกคราบเปลี่ยนไซต์จะอ่อนแอมาก คุณลุงเสถียร ชูฝา ถ่ายทอดประสบการณ์ให้ฟังว่า ยังไม่เจอปัญหาอะไรที่หนักๆ เพราะดูแลเอาใจใส่ อย่างดี แต่มีอยู่ครั้งหนึ่งนอกจากจะให้อาหารสำเร็จรูปแล้ว ยังนำผักบุ้งไปให้จิ้งหรีดกินด้วย ตอนอายุได้สัก 20 วัน จนทำให้ตายหลังจากกินภายในช่วงเวลาไม่กี่วัน เพราะเกิดเป็นกรดเป็นแก๊สขึ้นมา เนื่องจากขับถ่าย ออกไปไม่ หมด เมื่อเป็นแก๊สเกิดความร้อนขึ้นมาจึงทำให้ตาย หลังจากนั้นมาก็ไม่เคยให้ผักอีกเลย ซึ่งใน การอบรมเรื่องเลี้ยงจิ้งหรีดทางเจ้าหน้าที่ก็แนะนำว่า หากจิ้งหรีดอยู่ในช่วงเจริญเติบโต ห้ามให้ผักเป็นอาหาร การเพาะเลีย้ งจิ้งหรดี จึงเป็นอีกทางหนง่ึ ทีท่ ำรายไดใ้ หก้ ับลุงเสถยี ร ชฝู า จุดเด่นของภูมิปญั ญา - เป็นแหลง่ ศกึ ษาดูงาน - เป็นสถานท่ีถ่ายทอดความรู้ วัตถุดิบทใี่ ช้ประโยชน์ในการผลติ ภณั ฑท์ เ่ี กิดจากภมู ปิ ัญญา ซึง่ พืน้ ท่ีอนื่ ไมม่ ี ได้แก่ - ทำการขยายพันธ์ุเอง - สถานทเี่ ลย้ี ง ตอ้ งปอ้ งกันแสงแดดและฝนได้ อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก - การให้อาหาร อาหารหลักได้แกผ่ กั ชนิดต่างๆ เช่นผักกาด กะหล่ำ หญา้ มะละกอ อาหารรองใชอ้ าหาร ไก่เลก็ ผสมกับแกลบอ่อน อตั รา 1: 1 เมือ่ จิง้ หรดี อายุ 40-50 วัน พร้อมทจ่ี ะนำมาจำหน่ายต่อไป

2 รายละเอยี ดของภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ - รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ มีทงั้ การศกึ ษาดงู าน การเขา้ รับการอบรมและฝึกปฏิบตั ิจรงิ เพ่ือนำประโยชน์ท่ไี ดร้ ับไปปฏบิ ตั ิใช้ได้จรงิ ในชวี ิตประจำวัน รปู แบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ยังไม่เคยมีการเผยแพร่/ ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพรผ่ ่านสอ่ื มวลชนและสอ่ื อยา่ งแพร่หลาย มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จำนวน.................ครงั้ จำนวน................คน มกี ารนำไปใช้ ในพ้ืนที่...................คน นอกพื้นที่...................คน อื่น ๆ (ระบุ) ลกั ษณะของภูมิปญั ญาท้องถนิ่ การพฒั นาต่อยอดภูมปิ ัญญาให้เปน็ นวัตกรรม คณุ คา่ (มูลคา่ ) และความภาคภูมใิ จ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ /นวัตกรรมที่คดิ ค้นขนึ้ มาใหม่ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นด้ังเดิมไดร้ บั การถ่ายทอดมาจาก ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ท่ไี ดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ คือ เลยี้ งแบบธรรมชาติ การพัฒนาต่อยอดคือ มกี ารสรา้ งโรงเรียนที่ม่ันคง การเลย้ี งแบบบ่อปนู ซีเมนต์ จะต้องป้องกัน แดดและฝนได้ อากาศถ่ายเทได้สะดวก ส่วนวัสดุที่ใช้เลี้ยงจิ้งหรีด หรือภาชนะที่จะใช้เป็นที่อยู่ของจิ้งหรีดน้นั เปน็ อะไรก็ได้ ที่สามารถขังจิง้ หรีดไดแ้ ละระบายอากาศได้ดี

3 ภาพถ่ายเจา้ ของภมู ิปญั ญา นายเสถยี ร ชูฝา (เจ้าของภูมปิ ญั ญาการเพาะเล้ยี งจงิ้ หรดี )

4 รูปภาพภูมปิ ัญญา บอ่ ปนู ซีเมนต์สำหรบั เลี้ยงจ้ิงหรีด ปิดด้วยมงุ้ สฟี า้ ท่เี ป็นตาข่ายดา้ นบน จ้งิ หรดี โตเตม็ วัยเตรยี มพร้อมจำหนา่ ย

5 แบบบนั ทกึ ชดุ ข้อมลู คลังปญั ญา-ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ตำบลจอมบึง อำเภอจอมบงึ จงั หวัดราชบุรี ชอื่ ภมู ิปญั ญา : ด้านหมอดินอาสา ชอ่ื นายประนอม นามสกลุ ชูฝา วันเดอื นปีเกิด : 27 มกราคม 2498 ทีอ่ ย่ปู ัจจบุ นั (ทส่ี ามารถติดต่อได้) : บา้ นเลขที่ 48 หมทู่ ี่ 4 ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบึง จงั หวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์ 70150 เบอร์โทรศพั ท์ : 0860477127 Line ID : 0860477127 ความเป็นมาของบคุ คลคลังปัญญา คุณประนอม ชูฝา เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ด้านหมอดิน เมื่อก่อนประสบกับปัญหาการปลูกอ้อยจึงหัน กับมาเข้าร่วมกับพัฒนาที่ดินเพื่อเข้าร่วมโครงการและเป็นหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน หมอดินอาสาประจำ หมู่บ้าน คือ เกษตรกรที่สนใจในงานพัฒนาที่ดินและอาสาที่จะเป็นตัวแทนของกรมพัฒนาที่ดินประจำหมู่บ้าน ซึ่งได้รับการคัดเลือก/แต่งตั้งให้เป็นหมอดินอาสาหมู่บ้านละ 1 คน และเป็นสมาชิกในเครือข่ายหมอดินอาสา ประจำตำบล ได้รับการคัดเลือกจากหมอดินอาสาประจำหมูบ่ ้านด้วยกัน หรือแต่งตั้งโดยเจ้าหน้าท่ีกรมพัฒนา ที่ดิน เพื่อเป็นตัวแทนของกรมพัฒนาที่ดินประจำตำบล และเป็นแกนนำบริหารเครือขา่ ยหมอดนิ อาสาในระดับ ตำบล ปฏบิ ตั ิงานร่วมกบั สมาชิกหมอดนิ อาสาประจำหม่บู ้าน และเปน็ ตวั แทนของกรมพัฒนาท่ีดนิ เป็นแกนนำ และประสานงานระหว่างเกษตรกรในพน้ื ท่ีกับ เจา้ หน้าที่ กรมพัฒนาทดี่ นิ (หมอดิน) จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญา - เปน็ แหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานท่ถี า่ ยทอดความรู้ - เปน็ แหล่งฝึกทดลองทำงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง วตั ถดุ ิบทีใ่ ชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ ภณั ฑ์ทเ่ี กิดจากภมู ิปญั ญา ซ่ึงพนื้ ที่อื่นไม่มี ได้แก่ - การสำรวจดนิ - การใชป้ ยุ๋ คอกในการปรับสภาพดิน - การให้คำแนะนำเกีย่ วกบั สารเรง่ จลุ ินทรยี ์ (พด.ต่างๆ) รายละเอียดของภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ - รปู แบบในการถา่ ยทอดความรู้ มที งั้ การศึกษาดูงาน การเขา้ รับการอบรมและฝกึ ปฏิบตั จิ รงิ เพอ่ื นำประโยชน์ที่ได้รับไปปฏิบัติใช้ได้จริงในชีวิตประจำวนั

6 รปู แบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรภ่ มู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบคุ คล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพร่ผ่านส่อื มวลชนและส่ืออย่างแพรห่ ลาย มกี ารดูงานจากบคุ คลภายนอก จำนวน.................ครงั้ จำนวน.................คน มีการนำไปใช้ ในพ้นื ที่..................คน นอกพื้นที่............คน อื่น ๆ (ระบุ) ลกั ษณะของภมู ิปญั ญาท้องถิน่ การพฒั นาต่อยอดภูมปิ ัญญาใหเ้ ปน็ นวัตกรรม คณุ คา่ (มลู คา่ ) และความภาคภูมใิ จ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ /นวตั กรรมทคี่ ิดคน้ ขน้ึ มาใหม่ ภมู ิปัญญาท้องถิ่นดง้ั เดมิ ไดร้ บั การถ่ายทอดมาจาก ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ที่ไดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดิมคือ ใช้ความรู้แบบเดิม ๆ ในการปลูกพืชไร่ พืชสวน โดยไม่รู้เลยว่าดินต้องได้รับ สารอาหารอะไรจนมโี ครงการหมอดินอาสา การพัฒนาต่อยอดคือ หมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน ซึ่งได้รับการยอมรับแล้วว่าสามารถทำ การเกษตรแบบอินทรีย์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสถานีพัฒนาที่ดินราชบุรี และ เกษตรกรรายอืน่ สามารถเข้ามาเรียนรู้วธิ ีการทำเกษตรอินทรยี ์อย่างครบวงจร ตลอดจนการพฒั นาการปรับปรุง บำรุงดินให้เหมาะสมพร้อมใช้งานสำหรับการเพาะปลูกพืช รวมถึงวิธีการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ เชื้อจุลนิ ทรยี ์สารเร่งพด.ตา่ ง ๆ ของกรมพฒั นาทีด่ นิ และทำใหม้ ีความรเู้ พม่ิ ขน้ึ

7 ภาพถ่ายเจา้ ของภมู ปิ ญั ญา นายประนอม ชฝู า (เจ้าของภูมิปญั ญาหมอดิน)

8 รูปภาพภูมิปัญญา แปลงปลูกข้าวโพด น้ำหมกั ชวี ภาพใชใ้ นการฉดี พ่นกำจัดศัตรพู ชื การไถดินเพิ่มเตรียมพืน้ ท่กี ารเพาะปลกู พืช นำมูลขี้ววั มาผสมกับปยุ๋ หมกั เพื่อนำไปใช้ตอ่ ไป

9 แบบบนั ทกึ ชดุ ข้อมูลคลังปญั ญา-ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ตำบลจอมบึง อำเภอจอมบงึ จงั หวัดราชบุรี ชอ่ื ภูมปิ ญั ญา : ดา้ นการเลย้ี งหมู ช่อื นางขนั รร์ วี นามสกลุ บวั ขาว วันเดอื นปเี กดิ : 3 ธนั วาคม 2506 ทอ่ี ยปู่ จั จบุ นั (ที่สามารถติดต่อได้) : บ้านเลขท่ี 137 หมทู่ ่ี 6 ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบงึ จงั หวดั ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ 70150 ความเปน็ มาของบุคคลคลังปัญญา คุณขันร์รวี บัวขาว เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ด้านการเลี้ยงหมู การเพาะเลี้ยง ฉีดวัคซีนเอง ผ่าตัดเอง ทำ หมันเอง ทำคลอดเอง ทำวัคซีนเอง และการเลี้ยงหมูก็ไม่ยุ่งยากมากนัก การสร้างคอกหมู นั้นก็ไม่ยุ่งยาก ทำง่ายๆ ใครก็ทำได้ โดยสร้างโรงเรือนขนาดกว้าง 3 เมตร ยาว 6 เมตร ความสูงพอประมาณ แล้วมุงหลังคา ปอ้ งกนั ฝน กอ่ ผนังสงู จากพื้นประมาณ 80 เซนติเมตร หรือกอ่ โดยใช้อฐิ บลอ็ คสูง 4 กอ้ น ขดุ ดินภายในคอกออก ให้ลึก 90 เซนติเมตร ก็จะได้หลุมสำหรับใส่วัสดุส่วนผสม ได้แก่ ขี้เลื่อยหรือแกลบหยาบ 100 กระสอบ เกลือ 9-10 กิโลกรัม ดิน (ที่ขุดออก) 10 กระสอบ และน้ำหมักผลไม้ หัวเชื้อราขาว โยเกิร์ตหมูหลุม การทำอาหารการเลี้ยง หมูด้วยอาหารสำเร็จและผักผลไม้แล้ว ที่นี่ยังมีเคล็ดลับในการลดต้นทุนการผลิตคือใช้ ฝรง่ั และหยวกกล้วย 100 กิโลกรมั ผสมกับน้ำตาลทรายแดง 4 กโิ ลกรมั และเกลือเม็ด 1 กิโลกรัม คลกุ เคล้าผสม กันเป็นอาหารเสริม หมูได้ น้ำหนักดี เนื้อไม่มีกลิ่นและในช่วงกลางคืนนั้นจะใช้ตะไคร้หมักวางไว้ใกล้ๆ คอก เพื่อไล่ยุงให้หมู นับว่าเป็นภูมิ ปัญญาชาวบ้านที่นำมาใช้ในการดูแลสัตว์เลี้ยงที่ไม่ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย แต่ใชส้ มนุ ไพรพน้ื บา้ นมาแปรรปู ให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้ จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญา - เปน็ แหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานท่ถี ่ายทอดความรู้ - เปน็ แหลง่ ฝกึ ทดลองทำงานด้านเศรษฐกจิ พอเพียง วตั ถุดิบท่ใี ชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ ภณั ฑ์ท่ีเกิดจากภมู ปิ ัญญา ซึ่งพื้นทอี่ ่ืนไม่มี ไดแ้ ก่ วิธกี ารใสส่ ว่ นผสมในหลุมคอกหมู - แบง่ หรือวดั ความลกึ ของหลุมในคอกเป็น 3 ช้นั ช้ันละ 30 เซนติเมตร - ในชน้ั แรกเทขีเ้ ลือ่ ยหรอื แกลบหยาบ ประมาณ 25-27 เซนติเมตร (ใช้ประมาณ 10 กระสอบ) โรยดิน ทบั ใหท้ ั่วสูงประมาณ 3-5 เซนตเิ มตร แล้วโรยเกลอื ประมาณ 3 กิโลกรัม ให้ทัว่ และรดด้วยน้ำ หมักผลไม้ หัวเช้ือราขาว โยเกริ ์ตหมูหลมุ ชนิดละ 1 บวั (2 ชอ้ น ต่อนำ้ 10 ลิตร) - ชัน้ ที่ 2 และช้ันที่ 3 ก็ทำเหมือนกบั ชัน้ แรก สำหรบั ขนาดโครงสรา้ งคอกและอัตราส่วนผสมต่างๆ เหมาะสมต่อการเลี้ยงหมู 10 ตัว

10 รายละเอียดของภูมิปัญญาท้องถิน่ - รปู แบบในการถา่ ยทอดความรู้ มีทง้ั การศกึ ษาดงู าน การเข้ารบั การอบรมและฝึกปฏบิ ตั จิ ริง เพ่อื นำประโยชน์ท่ไี ดร้ ับไปปฏบิ ตั ิใช้ได้จริงในชีวิตประจำวนั รปู แบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ยงั ไมเ่ คยมกี ารเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบคุ คล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มีการเผยแพรผ่ า่ นส่ือมวลชนและสือ่ อยา่ งแพรห่ ลาย มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จำนวน......................ครง้ั จำนวน...................คน มีการนำไปใช้ ในพ้ืนที.่ ....................คน นอกพื้นที่......................คน อื่น ๆ (ระบ)ุ ลกั ษณะของภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ การพฒั นาตอ่ ยอดภมู ิปญั ญาใหเ้ ป็นนวตั กรรม คุณค่า (มลู ค่า) และความภาคภูมใิ จ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ /นวตั กรรมทคี่ ดิ คน้ ข้นึ มาใหม่ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นดงั้ เดมิ ไดร้ ับการถ่ายทอดมาจาก ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ที่ไดพ้ ฒั นาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คือ การเลย้ี งสุกรหลุมจะเนน้ การใช้วัสดุตา่ ง ๆ ท่มี อี ยู่ตามธรรมชาติและในท้องถิน่ เปน็ หลัก ซึ่งหางา่ ยและราคาถูก สามารถลดต้นทุนการเล้ียงสุกรได้ การพัฒนาต่อยอดคือ การเลี้ยงหมูหลุมจะให้ประสบผลสำเร็จ จำเป็นอย่างยิง่ ที่ต้องทำให้ถกู หลักวิชาการจะทำให้การเลี้ยงหมูหลุมประสบผลสำเร็จ ไม่มีปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นของมูลสุกร ไม่กระทบ ต่อสภาพแวดล้อม มลภาวะไม่เป็นพิษ ส่งผลต่อสุขอนามัยของผู้เลี้ยงและสุกร หัวใจสำคัญของการเลี้ยงสุกร แบบธรรมชาติ(หมูหลุม) เมื่อใส่ส่วนผสมต่าง ๆ ลงไปในหลุมและปล่อยหมูลงเลี้ยงแล้ว มันจะขุดคุ้ยส่วนผสม เหล่านัน้ กบั เศษอาหารท่ีเหลือและมูลสิง่ ปฏกิ ูลต่าง ๆ ท่ีมันถ่าย หลังจากนนั้ จลุ นิ ทรยี ์กจ็ ะย่อยสลาย ทำให้ไม่มี กลนิ่ เหม็นรบกวน และเม่ือเล้ยี งได้ประมาณ 4 เดือน ก็จบั หมจู ำหนา่ ย วัสดุในหลมุ ทีไ่ ดค้ ือป๋ยุ หมักอินทรยี ์ชีวภาพ อย่างดี ทส่ี ามารถนำไปใช้ในการบำรุงไม้ผลพืชผัก แต่ตอ้ งผสมกับดินรว่ นในอัตราสว่ น 1 : 3 ท้ังน้ีเพราะปุ๋ยที่ได้ มีความเข้มข้นสูง สูตรเคล็ดลับอาหารเสริม นอกจากการเลี้ยงหมูด้วยอาหารสำเร็จและผักผลไม้แล้ว ที่นี่ยังมี เคล็ดลับในการลดตน้ ทุนการผลิตคือใช้ฝรั่งและหยวกกล้วย 100 กิโลกรัม ผสมกับน้ำตาลทรายแดง 4 กิโลกรมั และเกลือเมด็ 1 กิโลกรมั คลุกเคล้าผสมกันเป็นอาหารเสรมิ หมูไดน้ ้ำหนกั ดี เนือ้ ไมม่ กี ล่ินและในชว่ งกลางคืนน้ัน จะใช้ตะไคร้หมักวางไว้ใกล้ๆ คอก เพื่อไล่ยุงใหห้ มู นับว่าเป็นภมู ิปัญญาชาวบ้านทีน่ ำมาใช้ในการดูแลสัตวเ์ ลี้ยง ทีไ่ มต่ ้องสน้ิ เปลอื งค่าใช้จ่ายแต่ใชส้ มนุ ไพรพ้นื บ้านมาแปรรปู ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้

11 ภาพถา่ ยเจ้าของภมู ิปญั ญา คุณขนั รร์ วี บวั ขาว (เจ้าของภมู ิปญั ญาการเลยี้ งหมู)

12 รปู ภาพภูมปิ ญั ญา อาหารหมูนำมาผสมกับหยวกกลว้ ยสบั หยวกกลว้ ยสับพร้อมผสมกบั อาหารเพือ่ ลดตน้ ทนุ การเลี้ยงหมูแบบธรรมชาติ คอกหมสู ะอาด (แมห่ มูและลกู หมกู ไ็ ม่หงดุ หงิดงา่ ย)

ทป่ี รกึ ษา คณะผู้จัดทาํ นายนพรัตน์ แจ้งหมน่ื ไวย์ นางศันสุนยี ์ ศรพี รหมทอง ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอจอมบงึ ครูผ้ชู ่วย รา่ ง/เรียบเรยี งและจดั พิมพ์ นางสาววารุณี จันทรโ์ ตศรี ครู กศน.ตำบลจอมบึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook