Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญากุมภาพันธ63

ภูมิปัญากุมภาพันธ63

Published by chombuenglibrary, 2020-05-11 01:02:17

Description: ภูมิปัญากุมภาพันธ63

Search

Read the Text Version

คํานํา ด้วย กศน.ตำบลจอมบึง ได้ดำเนินการจัดทำภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้กับประชาชนในพื้นที่ ตำบลจอมบึง เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง สามารถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ทั้งจากการศึกษาด้วยตนเอง และได้รับการถ่ายทอดจากผู้อื่น การนำภูมิปัญญามาเผยแพร่เพื่อให้ ประชาชนในพน้ื ท่ีได้นำไปใช้และเรียนรู้เพื่อเพ่ิมอาชีพ และประสบการณ์ให้กับตนเองและครอบครัวให้มีการ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและเกื้อกูลในการผลิตซึ่งกันและกัน โดยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และไม่มีสารพิษ เช่น ดิน น้ำ แสงแดดอย่างเหมาะสม เกิดประโยชนส์ งู สุดมีความสมดลุ ของสภาพแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง และเกิดผลในการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติด้วย กศน.ตำบลจอมบึง หวงั ว่าเอกสารเล่มนี้คงมปี ระโยชนต์ ่อผู้อา่ นและผู้ปฏบิ ัตงิ านต่อไป กศน.ตำบลจอมบงึ กมุ ภาพนั ธ์ 2563

สารบัญ หนา้ คํานาํ 1 สารบญั 5 กศน.ตำบลจอมบึง 9 - ภมู ปิ ญั ญา การเพาะเลี้ยงไส้เดอื น : คณุ มทั นา แสนณรงค์ - ภมู ปิ ญั ญา การเพาะเห็ดฟางในวงบ่อซีเมนต์ : คณุ องั คนา พกุ นลิ ฉาย - ภมู ปิ ญั ญา การทำนาแบบธรรมชาติไร้สารพษิ : คุณสชุ าติ ทองเอยี คณะผู้จัดทาํ

1 แบบบนั ทกึ ชุดขอ้ มูลคลงั ปัญญา-ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ตำบลจอมบึง อำเภอจอมบึง จังหวดั ราชบรุ ี ชื่อภูมปิ ัญญา : ดา้ นการเพาะเลย้ี งไส้เดอื น ช่อื นางมัทนา นามสกุล แสนณรงค์ วันเดือนปีเกดิ : 16 กนั ยายน 2509 ทีอ่ ยู่ปัจจบุ ัน (ท่ีสามารถติดต่อได้) : บา้ นเลขท่ี 102/2 หมู่ที่ 4 ตําบลจอมบึง อําเภอจอมบงึ จงั หวัดราชบุรี รหัสไปรษณยี ์ 70150 เบอรโ์ ทรศัพท์ : 096-5766332 ความเปน็ มาของบุคคลคลงั ปญั ญา คุณมัทนา แสนณรงค์ เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ด้านการเพาะเลี้ยงไส้เดือน เข้าร่วมกับเครือข่าย ศกพ. (ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร) ด้านการทําปุ๋ยหมักจากกองไส้เดือน องค์ความรู้ จากประสบการณ์ที่ได้ศึกษาค้นคว้าและศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ ที่ประสบความสําเร็จในการเพาะเลี้ยง ไส้เดือนมาปรับใช้ให้สอดคล้องกับพื้นท่ี และวิถีของแหล่งเรียนรู้ ผลิตปุ๋ย มูลไส้เดือน นําไปใช้ในนาข้าว อยา่ งปลอดภัย ปลูกผกั ผลไม้ ไมด้ อกไม้ประดบั ผักในตระกรา้ ได้อย่างปลอดภยั การเล้ียงไสเ้ ดอื น 1. ล้างบ่อซีเมนต์ให้สะอาด โดยบ่อมีขนานเส้นผ่าศูนย์กลางสูง 1 เมตร ลักษณะพื้นตันและ เจาะรูต่อ ท่อพีวีซีตรงก้นบ่อ แล้ววางให้เรียงด้านหนึ่งให้บริเวณที่เจาะรูนั้นต่ํากว่าเล็กน้อยเพื่อให้น้ำ จากมลู ไสเ้ ดือนทีไ่ หล ออกได้ตลอดเวลาโดยวางท่อมีน้ําหล่ออยูเ่ พือ่ ป้องกนั มด 2. นําปุ๋ยคอกมาเทใส่บ่อวงซีเมนต์ที่มีการทาํ ความสะอาดให้เรียบร้อยแล้วโดยให้มีความสูงปริมาตร 1 ฟุตเทน้ำลงไปจากนั้นแช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วันเพื่อให้มูลวัวยุ่ย มีความนุ่มและให้กรดแก๊สลดลง เมื่อครบกําหนดให้เปิดน้ำออกแล้วปล่อยให้ขี้วัวแห้งหมาดๆมาจึงใส่ไส้เดือนลงไปเลี้ยง โดยใส่ไส้เดือน ลงไปในอัตราส่วน 1,000 ตัวต่อ 1 ตารางเมตร ปิดปากบ่อด้วยมุ้งเขียวเพื่อป้องกันศัตรูของไส้เดือน เช่น จิ้งจก คางคก งู หนู หาก อากาศร้อนให้คลุมด้วยฟางก่อนเพื่อเป็นร่มเงาจากนั้นประมาณ 3-4 วัน ให้สังเกตว่าไส้เดือนปรับสภาพได้หรือยัง โดยไส้เดือนจะแทงหมุนออกมาเป็นขุย ด้านบนจึงให้อาหารบ่อ ประมาณ 2 กิโลกรัม ได้แก่ เศษผัก เศษผลไม้ โปรตีนอย่างน้ํานมถั่วเหลืองสลับกันไปทุกๆ 3 วัน เมื่อเลี้ยงครบ 2 เดือน จะได้ไส้เดือนเพิ่มเป็น 4,000 ถึง 5,000 ตัวต่อบ่อ และเราสามารถขายไส้เดือน หรอื นําไปขยายพันธุต์ ่อก็ได้ จดุ เด่นของภมู ปิ ัญญา - เปน็ แหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานทถ่ี า่ ยทอดความรู้ วตั ถดุ บิ ทใี่ ชป้ ระโยชนใ์ นการผลิตภณั ฑท์ ่เี กดิ จากภูมิปัญญา ซ่งึ พื้นทอี่ นื่ ไม่มี ได้แก่ - ไสเ้ ดือนดิน - กาบมะพร้าวสับ หรือใบไม้แหง้ มาผสมกบั มูลวัว - ขีว้ วั แหง้ มาแชน่ ้ำทง้ิ ไวป้ ระมาณ 2-3 วนั เพอ่ื ให้มลู ววั ยุย่

2 รายละเอยี ดของภูมิปัญญาท้องถ่นิ - รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ มที ง้ั การศึกษาดงู าน การเขา้ รบั การอบรมและฝกึ ปฏิบัติจรงิ เพื่อนำประโยชนท์ ่ีไดร้ บั ไปปฏบิ ัติใช้ไดจ้ ริงในชีวติ ประจำวัน รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ยงั ไม่เคยมีการเผยแพร่/ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพรผ่ า่ นส่อื มวลชนและสื่ออย่างแพร่หลาย มีการดูงานจากบุคคลภายนอก จำนวน.........2.......ครัง้ จำนวน......20......คน มกี ารนำไปใช้ ในพ้นื ท่.ี .......14.......คน นอกพนื้ ท่ี....7......คน อนื่ ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภมู ิปัญญาให้เป็นนวตั กรรม คณุ ค่า (มลู คา่ ) และความภาคภมู ิใจ ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ /นวัตกรรมท่ีคิดค้นขึ้นมาใหม่ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ด้ังเดิมไดร้ ับการถ่ายทอดมาจาก ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ทไ่ี ด้พัฒนาและต่อยอด แบบเดิมคือ การเลี้ยงไส้เดือนดิน แบบเก่าเลี้ยงบนพื้นดินโดยทำกองเลี้ยงให้สูงจากพื้น เลก็ น้อย หรอื ขดุ ร่อง เป็นแปลงลงบนพ้ืนดนิ การพฒั นาตอ่ ยอดคือ การเล้ยี งในบ่อซเี มนต์ 1. ล้างบอ่ ซีเมนต์ใหส้ ะอาด โดยบ่อมีขนานเสน้ ผ่าศูนย์กลางสูง 1 เมตร ลกั ษณะพ้นื ตนั และ เจาะรูต่อ ทอ่ พีวซี ีตรงก้นบอ่ แลว้ วางใหเ้ รียงด้านหนึ่งให้บริเวณท่ีเจาะรูน้นั ต่าํ กว่าเลก็ น้อยเพื่อใหน้ ้ำจากมลู ไส้เดือนที่ไหล ออกได้ตลอดเวลาโดยวางทอ่ มีนาํ้ หล่ออย่เู พื่อป้องกันมด 2. นําปุ๋ยคอกมาเทใส่บ่อวงซีเมนต์ที่มีการทําความสะอาดให้เรียบร้อยแล้วโดยให้มีความสูง ปริมาตร 1 ฟุตเทน้ำลงไปจากนั้นแช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วันเพื่อให้มูลวัวยุ่ย มีความนุ่มและให้กรดแก๊ส ลดลง เมื่อครบกําหนดให้เปิดน้ำออกแล้วปล่อยให้ขี้วัวแห้งหมาดๆมาจึงใส่ไส้เดือนลงไปเลี้ยง โดยใส่ไส้เดือน ลงไปในอัตราส่วน 1,000 ตัวต่อ 1 ตารางเมตร ปิดปากบ่อด้วยมุ่งเขียวเพื่อป้องกันศัตรูของไส้เดือน เช่น จิ้งจก คางคก งู หนู หาก อากาศร้อนให้คลุมด้วยฟางก่อนเพื่อเป็นร่มเงาจากนั้นประมาณ 3-4 วัน ให้สังเกตว่าใส้เดือนปรับสภาพได้หรือยัง โดยไส้เดือนจะแทงหมุนออกมาเป็นขุย ด้านบนจึงให้อาหาร ประมาณ 2 กิโลกรัม ได้แก่ เศษผัก เศษผลไม้ โปรตีนอย่างน้ํานมถั่วเหลืองสลับกันไปทุกๆ 3 วัน เมื่อเลี้ยงครบ 2 เดือน จะได้ไส้เดือนเพิ่มเป็น 4,000 ถึง 5,000 ตัวต่อบ่อ และเราสามารถขายไส้เดือน หรือนําไปขยายพันธ์ุต่อกไ็ ด้

3 ภาพถ่ายเจ้าของภูมปิ ญั ญา นางมทั นา แสนณรงค์ (เจ้าของภูมิปัญญาการเพาะเล้ียงไสเ้ ดอื น)

4 รปู ภาพภมู ิปญั ญา ไสเ้ ดือน บอ่ เพาะเลย้ี งไส้เดอื น มลู ไส้เดือน มูลไส้เดือน (ใช้มลู ไส้เดือนดนิ แทนปยุ๋ หมกั ในการปลกู พชื ได้ดี) (ใช้มูลไส้เดอื นดินรองพน้ื ในการปลกู พชื )

5 แบบบนั ทึกชุดข้อมลู คลงั ปญั ญา-ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบึง จงั หวดั ราชบรุ ี ชอ่ื ภูมปิ ัญญา : การเพาะเหด็ ฟางในวงบ่อซีเมนต์ ชื่อ นางองั คณา นามสกุล พุกนิลฉาย วันเดอื นปเี กดิ : 1 พฤศจิกายน 2520 ท่ีอยู่ปจั จุบัน (ทส่ี ามารถตดิ ต่อได้) : บา้ นเลขท่ี 99 หม่ทู ี่ 4 ตำบลจอมบึง อำเภอจอมบงึ จังหวดั ราชบรุ ี รหัสไปรษณีย์ 70150 เบอร์โทรศพั ท์ : 092-6695198 ความเปน็ มาของบุคคลคลังปัญญา คุณอังคณา พุกนิลฉาย เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ด้านการเพาะเห็ดฟางในวงซีเมนต์ แต่ก่อน เป็นเกษตรรายย่อยที่ประสบกับปัญหาด้านต่าง ๆ จึงหันมาเพาะเห็ดฝางกองเตี้ยและศึกษาหาความรู้พัฒนา และต่อยอดมาทำการเพาะเห็ดฟางในวงซีเมนต์ตอนแรกก็ไม่ประสบผลสำเร็จ แต่ด้วยความที่ไม่ย่อท้อ ตอ่ อุปสรรค จงึ ทำให้ประสบผลสำเร็จ วิธีเพาะเหด็ ฟางในวงบ่อปนู ซีเมนต์ ก่อนอน่ื ต้องบอกก่อนเลยว่าวงบ่อปนู นัน้ เหมาะสำหรับการเพาะเห็ดมาก ๆ เนอื่ งจากดา้ นในมีอากาศ เย็นตลอดเวลา เมื่อชุ่มน้ำก็สามารถกักเก็บความชื้นไว้ได้ดี สภาพอากาศเหมาะสำหรับการเจริญเติบโต ของเห็ด จงึ ทำใหว้ งบ่อปูนซเี มนตน์ ้นั เหมาะสำหรบั การเพาะเหด็ มาก ๆ .ใช้พน้ื ทนี่ ้อย 1. เรม่ิ ต้นจากเทสว่ นผสมทงั้ หมดลงในถงั ปุ๋ยยูเรีย ปยุ๋ สูตร 15-15-15 ฮอร์โมนไข่ แป้งขา้ วเหนียว กากน้ำตาล แล้วผสมใหเ้ ข้ากัน 2. หลังจากนั้นนําฟางลงไปแช่ในถัง โดยให้ฟางเปียกน้ำทั้งหมด 1 คืน เพื่อล้างน้ำยากันเชื้อราใน ฟางข้าว ( เนอื่ งจากในฟางขา้ วมกั จะฉีดน้ำยากันเช้ือราเอาไวห้ ากนาํ มาเพาะเห็ดฟางเลยเหด็ อาจจะไม่ขึ้นได้ ) 3. หลังจากแชฟ่ างข้าว 1 คืน แลว้ ใหน้ ําฟางที่ชุ่มนำ้ ไปใสใ่ นวงบ่อปูนหนาจากพ้ืนประมาณ 10 ซม. เกล่ยี ฟางใหเ้ สมอกนั กดให้แนน่ เล็กนอ้ ย 4. หลังจากนนั้ โรยปุ๋ยคอกให้ทวั่ บ่อซเี มนต์ พอใหท้ ว่ มฟางขา้ ว 5. นาํ เช้อื เห็ดฟางผสมรวมกันกับแป้งข้าวเหนียว ปริมาณเท่ากนั 6. จากนนั้ โรยเชื้อเหด็ ฟางให้ทวั่ แลว้ นาํ น้ำที่แชฟ่ างรดใหท้ ั่ว 7. นาํ วงบอ่ ไวใ้ นที่ร่ม นาํ แผ่นพลาสตกิ และตะแกรงมาปิดไมใ่ ห้แสงเขา้ เป็นขัน้ ตอนสดุ ท้าย 8. ทำการรดน้ำทุกวัน เชา้ -เย็น ใหส้ ม่ำเสมอ ทำใหว้ งบ่อปูนมีความชนื้ ตลอดเวลา พอครบ 3-4 วัน ให้ เปดิ ดูจะเรมิ่ เหน็ เป็นขุยสีขาวๆ แสดงวา่ เห็ดเริ่มเจริญเติบโตแล้ว หลังจากน้นั ประมาณ 2 สปั ดาห์ เห็ดฟาง จะออกดอกใหไ้ ดเ้ กบ็ เกยี่ วผลผลิต จุดเด่นของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน - เปน็ สถานท่ีถ่ายทอดความรู้ - เป็นแหล่งฝกึ ทดลองทำงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง

6 วัตถดุ ิบทีใ่ ชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ ภัณฑท์ ่ีเกดิ จากภูมปิ ัญญา ซึง่ พ้ืนทอ่ี นื่ ไม่มี ได้แก่ - ขวี้ วั แห้ง - กากน้ำตาล - ฟางข้าว - ฮอร์โมนไข่ทำเองแทนการใช้สารเคมี รายละเอยี ดของภมู ิปัญญาท้องถน่ิ - รปู แบบในการถ่ายทอดความรู้ มที ้ังการศกึ ษาดงู าน การเขา้ รบั การอบรมและฝกึ ปฏบิ ัติจริง เพอื่ นำประโยชน์ท่ไี ดร้ ับไปปฏิบตั ิใชไ้ ด้จรงิ ในชวี ติ ประจำวัน รูปแบบและลกั ษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ยงั ไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพร่ผ่านสอ่ื มวลชนและส่อื อย่างแพร่หลาย มกี ารดูงานจากบคุ คลภายนอก จำนวน.................ครั้ง จำนวน................คน มกี ารนำไปใช้ ในพืน้ ที.่ ..................คน นอกพื้นท.่ี ..................คน อ่ืน ๆ (ระบุ) ลกั ษณะของภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน การพฒั นาต่อยอดภูมิปัญญาใหเ้ ปน็ นวัตกรรม คุณค่า (มูลคา่ ) และความภาคภูมใิ จ ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ /นวัตกรรมทีค่ ิดคน้ ขนึ้ มาใหม่ ภูมิปญั ญาท้องถ่ินดั้งเดิมได้รับการถา่ ยทอดมาจาก ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ทีไ่ ด้พัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ คอื การทำเหด็ ฝางกองเต้ยี และเห็ดฝางในตะกร้า การพัฒนาต่อยอดคือ การเพาะเห็ดฟางในบ่อวงซีเมนต์ ไม่จำเป็นจะต้องใช้โรงเรือน เพาะเลี้ยงแต่อย่างใด ใช้พืน้ ทีน่ อ้ ย ไดป้ ริมาณมากน้ำหนกั ดี

7 ภาพถา่ ยเจา้ ของภูมิปัญญา นางองั คณา พุกนลิ ฉาย (เจา้ ของภมู ปิ ัญญาการเพาะเหด็ ฟางในวงบ่อซเี มนต์)

8 รปู ภาพภมู ิปัญญา บ่อซีเมนต์ ฟางข้าวแช่นำ้ 1 คนื แลว้ ใหน้ ําฟางท่ีชุม่ น้ำไปใส่ในวงบอ่ ปูนหนาจากพ้ืนประมาณ 10 ซม. เกล่ยี ฟางให้เสมอกัน กดให้แน่นเล็กนอ้ ย เหด็ ฟางสวยๆ

9 แบบบันทกึ ชดุ ขอ้ มูลคลงั ปัญญา-ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบึง จงั หวัด ราชบุรี ช่อื ภมู ปิ ัญญา : การทำนาแบบธรรมชาตไิ ร้สารพษิ ชอื่ นายสุชาติ นามสกุล ทองเอีย วนั เดอื นปเี กิด : - - 2497 ท่อี ยู่ปจั จุบนั (ท่ีสามารถตดิ ตอ่ ได้) : บา้ นเลขที่ 97 หม่ทู ่ี 4 ตำบลจอมบึง อำเภอจอมบงึ จงั หวัดราชบรุ ี รหัสไปรษณีย์ 70150 เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 080-6537535 ความเป็นมาของบคุ คลคลงั ปัญญา คุณสุชาติ ทองเอีย การทำนาในรูปแบบนี้จะไม่พบการระบาดของโรคและแมลงศัตรูข้าว เนื่องจากเป็นการทำนาที่ไม่ได้ใช้สารเคมีแต่อย่างใด การทำนาสลับกับการเลี้ยงปลาจึงเป็นการทำนา ในรูปแบบนาสวนธรรมชาติไร้สารพิษที่ใช้ต้นทุนต่ำ การทำนาในรูปแบบนี้จะได้ผลดีกับพื้นที่การทำเกษตร แบบผสมผสานที่มบี ่อพกั น้ำหรือบอ่ เลี้ยงปลาท่ีจะสามารถเปลีย่ นถา่ ยและควบคมุ น้ำไดต้ ลอดท้ังปี การเตรียมดิน ไม่เผาตอซัง ฟางข้าว และเศษวัสดุอินทรีย์ในแปลงนา เพราะเป็นการทำลาย อินทรียวัตถุ และ จุลินทรีย์ดินที่มีประโยชน์ ไม่นําชิ้นส่วนของพืชที่ไม่ใช้ประโยชน์โดยตรงออกจากแปลงนา แต่ควรนําวัสดุ อินทรีย์จากแหล่งใกล้เคียงใส่แปลงนาให้สม่ำเสมอทีละเล็กละน้อย การใส่ปุ๋ยคอกหรือ ปุ๋ยมูลสัตว์ ได้แก่มูลสัตว์ ต่าง ๆ ซึ่งอาจนํามาจากภายนอก หรือจัดการผลิตขึ้นในบริเวณไร่นา นอกจากนี้ ท้องนาในชนบทหลงั จากเก็บเกยี่ วข้าวแล้วมกั จะปล่อยใหเ้ ป็นทีเ่ ลี้ยงสัตวโ์ ดยให้แทะเล็มตอซังและหญา้ ต่าง ๆ มลู สตั วท์ ี่ถา่ ยออกมาปะปนกบั เศษซากพชื ก็จะเปน็ การเพิม่ อนิ ทรียวัตถใุ นนาอีกทางหนงึ่ ปยุ๋ หมัก ควรจัดทำ ในพื้นที่นาหรือบริเวณที่อยู่ไม่ห่าง จากแปลงนามากนักเพื่อความสะดวกในการใช้ ควรใช้เชื้อจุลินทรีย์ใน การทำป๋ยุ หมักเพ่อื ชว่ ยการยอ่ ยสลายได้เร็วขึน้ และเก็บรักษาใหถ้ ูกต้องเพ่อื ลดการสญู เสียธาตอุ าหาร จดุ เดน่ ของภูมปิ ัญญาท้องถิ่น - เป็นสถานทถ่ี ่ายทอดความรู้ - เป็นแหลง่ ฝกึ ทดลองทำงานด้านเศรษฐกจิ พอเพียง วตั ถุดบิ ทใ่ี ชป้ ระโยชนใ์ นผลติ ภัณฑ์ทเ่ี กิดจำกภมู ิปญั ญา ซ่ึงพ้นื ทอ่ี น่ื ไม่มี - กำรใชป้ ยุ๋ คอกว่านไถ่ไม่ใชป้ ๋ยุ เคมี - กำรใชป้ ยุ๋ น้ำชวี ภาพ แทนกำรใชส้ ำรเคมที มี่ ีอันตราย รายละเอียดของภมู ิปัญญาท้องถ่นิ - รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ มีท้ังการศึกษาดูงาน การเขา้ รับการอบรมและฝกึ ปฏบิ ัติจริง เพอื่ นำประโยชน์ที่ได้รบั ไปปฏิบตั ใิ ชไ้ ด้จรงิ ในชวี ิตประจำวนั

10 รปู แบบและลกั ษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ยงั ไม่เคยมีการเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน มีการเผยแพรผ่ า่ นสอื่ มวลชนและสอื่ อย่างแพรห่ ลาย มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จำนวน.................คร้ัง จำนวน................คน มกี ารนำไปใช้ ในพื้นท.่ี ..................คน นอกพน้ื ท.่ี ..................คน อน่ื ๆ (ระบุ) ลกั ษณะของภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภูมิปญั ญาใหเ้ ป็นนวัตกรรม คณุ คา่ (มลู ค่า) และความภาคภูมิใจ ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน/นวัตกรรมทค่ี ิดค้นขึน้ มาใหม่ ภูมิปญั ญาท้องถิ่นด้ังเดมิ ได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ทไี่ ด้พัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดิมคอื การทำนาแบบใชส้ ารเคมี การพัฒนาต่อยอดคือ การทำนาแบบธรรมชาติไร้สารพิษ สามารถขยายผล และนําไปใช้ปฏิบัติได้จริง สามารถแก้ไขข้อจํากัดหรือแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ สร้างผลผลิตสูงขึ้นได้ แต่ก็ไม่ได้มุ่งหวังให้ชาวนามองเพียงตัวเลขที่ได้ หันไปเพิ่มรอบการผลิตหรือขยายพื้นที่ ท ำนามากขึ้น เพราะจะหวนกลับสู่วังวนวิถีปัญหาแบบเก่า หากการทำนาไม่ได้พิจารณาสถานการณ์เรื่องต้นทุนที่ มีอยู่ ทั้ง กําลังแรงงาน ปัจจัยการผลิต สภาพดินฟ้าอากาศ กลไกราคา กลไกตลาด คุณภาพข้าว ความมั่นคงทาง อาหารและความมั่นคง ในชีวิตของเกษตรกรร่วมด้วย เพราะหัวใจสำคัญของวิถีการทำนาน้ำน้อย คือ ความ ยั่งยืน ของระบบนิเวศและความยั่งยืนของชาวนา ซึ่งวิถีการทำนาน้ำขังแบบเดิม ที่ใช้สารเคมีเข้มข้น พึ่งพา ปัจจัย ภายนอกสูง เน้นเชิงปริมาณมากกว่าคุณภาพ มีบทสรุปแล้วว่าไม่ใช่คําตอบเพื่อสร้างความยั่งยืน ใหก้ ับชาวนา

11 ภาพถา่ ยเจ้าของภูมปิ ญั ญา นายสุชาติ ทองเอีย (เจ้าของภมู ิปัญญาการทำนาแบบธรรมชาตไิ รส้ ารพิษ)

12 รูปภาพภูมิปัญญา เตรยี มแปลงนาไถเตรียมดิน (การเตรียมดินคือการปลูกและการเจริญเติบโตของข้าว ช่วยควบคุมวัชพืช โรค แมลงและสัตว์ศัตรูข้าวบาง ชนิด การเตรียมดินมากหรือน้อยข้ึนอยู่กบั คุณสมบัติดิน สภาพแวดล้อมในแปลงนาก่อนปลูกและวิธีการปลูก โดยไถดะ ไถแปร คราด และทำเทอื ก) ใช้เครอ่ื งตัดวัชพชื แทนการใช้สารเคมี การปลกู ขา้ วแบบปกั ดำ

ทป่ี รกึ ษา คณะผู้จัดทาํ นายนพรัตน์ แจ้งหมน่ื ไวย์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอจอมบงึ นางศันสุนยี ์ ศรพี รหมทอง ครูผ้ชู ่วย รา่ ง/เรียบเรยี งและจดั พิมพ์ นางสาววารุณี จันทรโ์ ตศรี ครู กศน.ตำบลจอมบึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook