Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแนะแนวการศึกษา

การแนะแนวการศึกษา

Published by จันทร์จิรา ภิละคํา, 2020-09-25 11:32:06

Description: การแนะแนวการศึกษา

Search

Read the Text Version

1

สารบญั 2 เนอื้ หา หนา้ ข้อมูลเบอื้ งต้นการแนะแนวการศึกษา 3 แนะนาการศึกษาต่อสายสามัญ (ม.4-ม.6) 5 แนะแนวการศกึ ษาต่อสายอาชีวศึกษา ปวช. ปวส. 7 แนวทางการเลือกสถานศึกษาเพ่อื ศึกษาต่อ 16 แนะแนวการศกึ ษาต่อต่างประเทศ 24

3 ข้อมูลเบอื้ งตน้ การแนะแนวการศกึ ษา การแนะแนวการศึกษาจะเริ่มตั้งแต่วันแรกของนักศึกษาท่ีเข้าสู่สถานศึกษา และดาเนินไปจนถึงการ สิ้นสุดการเรียนเพ่ือไปประกอบอาชีพและการศึกษาต่อในระดับสูง ประกอบด้วยกิจกรรม 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ กิจกรรมช่วยเหลือนักศึกษาด้านการเรียน คือ การให้ข้อสนเทศทางการเรียนการศึกษาต่อการทางาน เพ่ือหารายได้ระหว่างเรียน การติดต่อขอรับทุนทางการศึกษาวารสารและหนังสือทางราชการแนะแนวทาง การศึกษา ประการท่ีสอง การช่วยเหลื่อนักศึกษาด้านการปรับตัว ส่งเสริมทางด้านสติปัญญา ตลอดจนความ เข้าใจในเร่ืองความสามารถของตนเองให้สามารถตดั สินใจเพื่อม่งุ ความสาเร็จทางดา้ นการศึกษา ความสามารถ ทั่วไป ความถนัดเฉพาะ ค่านิยม การค้นหาข้อมูลส่วนบุคคลและนักศึกษาท่ีมีแนวโน้มของความเคล่ือนไหว ดา้ นพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือช่วยให้นักศึกษาได้รับข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับการเรียนและสามารถเข้าใจคุณสมบัติของ บคุ คลทจี่ ะศึกษาตอ่ 2. เพอ่ื ช่วยให้นักศึกษาสามารถปรบั ตนเองไหเ้ ข้ากบั การเรียนในแต่ละสาขาวิชา และวางแผนทางการ ศกึ ษาได้อยา่ งเหมาะสม จดุ มุ่งหมายของการแนะแนวการศึกษา 1. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดประเมินผล ตลอดจนระเบยี บกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ของโรงเรยี นเพอ่ื ทน่ี กั เรียนจะได้ปฏบิ ัติตนได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้รู้จักและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถตัดสินใจ เลอื กแผนการเรียนรู้ไดอ้ ย่างถกู ต้องตรงกบั ความเข้าใจ ความตอ้ งการ ความถนัดและความสามารถของตน 3. เพ่ือช่วยให้นักเรียนได้รับข้อสนเทศทางการศึกษาต่อในด้านต่างๆ คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าศึกษา วธิ กี ารเขา้ ศกึ ษา จานวนทีร่ บั ค่าใช้จ่ายในการศึกษาเลา่ เรยี นและระยะเวลาทใ่ี ช้ในการศึกษา เปน็ ต้น 4. เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ทางโรงเรียนจัดขึ้นได้อย่าง เหมาะสม ซ่ึงจะชว่ ยให้ความสามารถพเิ ศษของนักเรียนปรากฏเดน่ ชดั และได้รบั การสง่ เสริมพัฒนาอย่างเตม็ ท่ี 5. เพอื่ ช่วยให้นักเรยี นได้ประสบความสาเรจ็ ในการศึกษาตามแผนการเรียนของตน

4 ประโยชน์ของการแนะแนว การแนะแนวนบั วา่ เปน็ การท่ีสาคัญท่เี กีย่ วข้องกบั การศกึ ษาอยตู่ ลอด แนะแนวมปี ระโยชน์มากมาย ดงั น้ี 1. ช่วยใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้อยา่ งถูกวิธี ทาใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพในการเรยี นการสอน 2. ช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนไปตามความถนัดของตน สามารถเลอื กวิชาตามความรู้ ความสามารถ ของตนเอง 3. ช่วยใหน้ กั เรยี นรจู้ ักคดิ และร่วมกิจกรรมตา่ งๆ ไปตามความพอใจ และความสามารถของตนเอง 4. ช่วยใหน้ กั เรยี นสามารถเลอื กอาชีพไปตามความถนัดของตนเองอนั จะเป็นแนวทางไปสู่ความ สัมฤทธผิ์ ลในวิชาทต่ี นเองเลือกเรียน 5. ชว่ ยให้นกั เรียนเกดิ ความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ รูจ้ กั คดิ และประดิษฐ์ส่ิงใหม่ๆ ได้ด้วยตนเอง สรา้ ง ความเชื่อม่ันให้กับตนเอง 6. ช่วยให้นักเรียนประสบความสาเร็จในการศึกษาเล่าเรียน ลามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปปรับตัว ใหอ้ ยใู่ นสงั คมได้อย่างราบรื่น 7. ช่วยให้นักเรียนเข้าใจตนอง รู้จักคิดแลแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง รู้จักวางแผนชีวิตในอนาคตและ ดาเนนิ ชวี ิตไปตามท่ตี นเองตอ้ งการ 8. ชว่ ยใหน้ ักเรยี นร้จู กั เละเข้าใจสภาพแวดล้อมรอบๆ ตวั รู้จักและเข้าใจบุคคลอื่นไดด้ ี 9. ช่วยใหน้ กั เรยี นเป็นคนทมี่ ีเหตผุ ล รูจ้ ักคณุ คา่ ของตนเองและนาคุณคา่ ของตนเองไปใชป้ ระโยชน์ 10. ชว่ ยใหน้ กั เรียนเป็นบคุ คลที่มีคุณภาพ

5 แนะนาการศกึ ษาตอ่ สายสามัญ (ม.4-ม.6) การศึกษาต่อของนักเรียนท่ีจบช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อตัวนักเรียนเพราะนั่น จะเป็นตัวกาหนดอนาคตของเส้นทางอาชีพว่าจะเดินต่อไปในทางใด การศึกษาต่อหลังจากจบช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 3 การเข้าศึกษาต่อในสายสามัญ คือระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 เป็นการศึกษาในหลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐาน ในช่วงช้ันท่ี 4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นการศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาวิชาต่างๆ ใช้ระยะเวลาในการศึกษาตามหลักสูตรคือ 3 ปี โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นกลุ่มสาระต่างๆ ตามความถนดั และความสนใจของนักเรียน ดังน้ี 1. กลมุ่ ที่เนน้ การเรียนรดู้ า้ น วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์(วิทย์-คณิต) เน้ือหาท่ีเรียนเป็นหลักในสายวิทย์-คณิต วิชาวิทยาศาสตร์ ม.ปลายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักๆ ได้แก่ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ซึ่งแต่ละ วิชาย่อยนั้น จะต้องเรียนท้ังภาคบรรยายในห้องเรียนและ ภาคปฏิบัติท่ีจะได้ทาการทดลองต่างๆ ส่วนคณิตศาสตร์ในระดับม. ปลาย จะมีปริมาณเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่มีความซับซ้อนและจะต้อง เรียนรายวิชาภาษาไทย สังคม อังกฤษ ซึ่งเป็นวิชาพ้ืนฐานตาม หลกั สตู รทกี่ ระทรวงศึกษาไดก้ าหนด ทางเลือกคณะของแผนการเรยี นวทิ ย์-คณิต แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เภสัชศาสตร์ สหเวชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ สัตวแพทยศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ เกษตรศาสตร์ ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ จิตวิทยา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์การกีฬา วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรม บริหารธุรกิจ ศิลปะกรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ มนุษยศาสตร์ นิเทศศาสตร์ ประมง วนศาสตร์ ส่ิงแวดล้อม ศลิ ปศาสตร์

6 2. กล่มุ ที่เนน้ การเรียนรู้ด้าน ศลิ ปศาสตร์-คณิตศาสตร์ (ศิลป์-คานวณ) การเรียนจะเน้นหนักไปที่ 2 วิชา ได้แก่ วิชา ภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตร์ โดยวิชาภาษาอังกฤษ จะเรียนต้ังแต่พื้นฐานไปจนถึงระดับสูง ส่วนวิชา ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ จ ะ เ รี ย น เ นื้ อ ห า เ ดี ย ว กั บ ส า ย วิ ท ย์ -ค ณิ ต ซึ่งมีความซับซ้อนของเนื้อหาตามหลักสูตรท่ีกระทรวง- ศกึ ษาได้กาหนด ทางเลือกคณะของแผนการเรยี นศิลปค์ านวณ นติ ิศาสตร์ รัฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ มนุษยศาสตร์ นเิ ทศศาสตร์ บรหิ ารธรุ กิจ แพทยศาสตร์ ครศุ าสตร์/ศึกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์การกีฬา มัฑณศลิ ป์ จติ วิทยา อุตสาหกรรม วิศวกรรมศาสตร์ ภมู ิสารสนเทศศาสตร์ เทคโนโลยที างทะเล อัญมณี เทคโนโลยสี ารสนเทศ ศลิ ปศาสตร์ 3. กลุ่มทเ่ี นน้ การเรียนรดู้ ้าน ศิลปศาสตร์-ภาษา (ศลิ ป-์ ภาษา) จะเนน้ ไปทภี่ าษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 เชน่ ภาษาจีน ภาษาญป่ี ุน่ ภาษา เกาหลี ภาษาเยอรมนั ภาษาอิตาลี เปน็ ตน้ สว่ นวิชาอ่นื ๆ จะเรียนเพียงแค่ความรู้ พืน้ ฐาน ทางเลือกคณะของแผนการเรยี นศิลปภ์ าษา นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ จิตวิทยา สถาปัตยกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรม บรหิ ารธุรกจิ โบราณคดี ศลิ ปศาสตร์ 4. กลุ่มทเ่ี นน้ การเรียนรูด้ ้าน ศลิ ปท่ัวไป (ศลิ ป-์ สังคม) จะเน้นไปทีว่ ิชาสงั คมส่วนวิชาอนื่ ๆ จะเรียนเพียงแค่ความรพู้ ื้นฐาน ทางเลือกคณะของแผนการเรยี นศิลปท์ ว่ั ไป นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปกรรมศาสตร์ ครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์การกีฬา วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ อตุ สาหกรรม บรหิ ารธรุ กิจ ศลิ ปะศาสตร์

7 สถาบันการอาชีวศึกษา (Vocational Education Institution) สถาบันการอาชีวศึกษาและสถาบัน การอาชีวศึกษาเกษตร เปิดสอนหลักสูตร 3 ระดับชั้น ตามมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2556 ได้แก่ 3 หลักสูตรหลัก ดังนี้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสู ง (ปวส.) และปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ าร (ทล.บ.) หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ตามคาสัง่ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ปี พ.ศ. 2556 – 2561 กาหนดมาตรฐานหลักสูตร และสาขาวชิ า 9 ประเภทวชิ า 51 สาขาวิชา ดังนี้ 1. อตุ สาหกรรม ชา่ งยนต์ช่างกลโรงงานช่างซ่อมบารุงชา่ งต่อเรอื ชา่ งเขียนแบบเคร่อื งกลชา่ งเช่ือม โลหะช่างไฟฟ้ากาลงั ช่างอิเลก็ ทรอนิกสโ์ ทรคมนาคมมคคาทรอนิกส์ช่างก่อสรา้ งสถาปัตยกรรมสารวจโยธาชา่ ง เครื่องเรือนและตกแต่งภายในช่างพมิ พอ์ ตุ สาหกรรมยางเทคนิคแว่นตาและเลนสเ์ ทคนิคคอมพิวเตอร์สุตสาหกร รมฟอกหนงั 2. พาณชิ ยกรรม การบญั ชกี ารตลาดการเลขานุการคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ธุรกจิ คา้ ปลีกธรุ กิจ สถานพยาบาลการประชาสัมพันธ์ภาษาต่างประเทศการจดั การดา้ นความปลอดภัย 3. ศลิ ปกรรม วจิ ติ รศิลป์การออกแบบศลิ ปหัตกรรมอุตสาหกรรมเครื่องหนังศิลปกรรมเซรามิกการ ถา่ ยภาพและะวีดีทัศน์.เทคโนโลยศี ิลปกรรมคอมพิวเตอรก์ ราฟิกศิลปการดนตรีศิลปหตั ถกรรมรปู พรรณและ เครอื่ งประดบั เคร่ืองประดบั อัญมณชี ่างทองหลวงการพิมพ์สกรีนออกแบบนเิ ทศศิลป์

8 4. คหกรรม แฟช่ันและสิง่ ทออาหารและโภชนาการคหกรรมศาสตรเ์ สริมสวยธรุ กจิ คหกรรม 5. เกษตรกรรม เกษตรศาสตร์ 6. ประมง เพาะเลีย้ งสตั ว์นา้ แปรรูปสัตว์นา้ 7. อตุ สาหกรรมท่องเที่ยว การโรงแรมการท่องเทย่ี ว 8. อุตสาหกรรมส่ิงทอ เทคโนโลยีสงิ่ ทอเคมสี งิ่ ทอเทคโนโลยีเคร่ืองนุ่งห่ม 9. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร เทคโนโลยีสารสนเทศ หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสงู ตามคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ี 552/2557 ปี พ.ศ. 2557 กาหนดมาตรฐาน หลักสูตรและสาขาวชิ า และการปรบั ปรงุ เพม่ิ เตมิ ในปี พ.ศ. 2558 – 2561 มี 9 ประเภทวิชา และสาขาวิชา ต่าง ๆ ดงั น้ี 1. อตุ สาหกรรม เทคนคิ เครือ่ งกล เทคนคิ การผลติ ไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชา่ งกอ่ สรา้ งอุตสาหกรรม เครื่องเรือนและตกแต่งภายในเทคนิคสถาปัตยกรรมสารวจเทคนิคพลังงานเทคนคิ กายอุปกรณ์โยธาเทคโนโลยี ยางเทคนิคโลหะเขียนแบบเครื่องกลเทคนิคอุตสาหกรรมการพมิ พ์เทคโนโลยีการตอ่ เรือเทคโนโลยโี ทรคมนาคม เครื่องมือวัดและควบคุมเคมีอุตสาหกรรมปิโตรเคมีช่างอากาศยาน เมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์เทคโนโลยี ปโิ ตรเลียมเทคโนโลยคี อมพวิ เตอรก์ ารตรวจสอบโดยไมท่ าลาย [f]ช่างเทคนคิ ระบบขนส่งทางราง เทคนคิ ข้นึ รูป พลาสตกิ เทคนคิ เคร่ืองทาความเยน็ และปรบั อากาศ 2. บรหิ ารธุรกิจ การบัญชีการตลาด การเลขานุการคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ การจัดการธรุ กจิ ค้าปลีกการ จัดการโลจสิ ติกส์การจดั การสานักงานการเงนิ และการธนาคารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ธุรกิจสถานพยาบาล ภาษาต่างประเทศธรุ กจิ การจัดการทั่วไปธุรกจิ การคา้ ระหว่างประเทศ 3. ศลิ ปกรรม วิจติ รศลิ ป์การออกแบบศิลปหัตกรรมเทคโนโลยผี ลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมเครอื่ งหนัง เทคโนโลยเี ซรามกิ การถา่ ยภาพและมลั ตมิ ีเดยี เทคโนโลยศี ิลปกรรมคอมพิวเตอร์กราฟิกศิลปหตั ถกรรม รูปพรรณและเคร่ืองประดับเครอ่ื งประดับอัญมณีการออกแบบเครื่องประดบั และอัญมณีช่างทองหลวงดนตรี และเทคโนโลยีการพมิ พส์ กรนี บรรณาธิการกิจออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ บรรณาธิการกิจ 4. คหกรรม เทคโนโลยแี ฟช่ันและส่งิ ทอเทคโนโลยกี ารออกแบบแฟชั่นและส่ิงทอเทคโนโลยสี ่ิงทอ และเคร่ืองนุม่ ห่มอาหารและโภชนาการ เพ่มิ เติมสาขางานเชพอาหารนานาชาติอตุ สาหกรรมอาหารการ บริหารงานคหกรรมศาสตรเ์ ทคโนโลยคี วามงามธุรกิจคหกรรมการดูแลผู้สงู อายุเชฟอาหารไทย 5. เกษตรกรรม เกษตรศาสตร์พืชศาสตร์สตั วศาสตรส์ ัตวรกั ษ์ชา่ งกลเกษตรอุตสาหกรรมเกษตร เกษตรอตุ สาหกรรมเทคโนโลยภี ูมิทัศน์ธุรกจิ เกษตรและสหกรณ์ บรรณาธกิ ารกจิ

9 6. ประมง เพาะเลี้ยงสตั วน์ ้าแปรรูปสตั ว์นา้ 7. อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การโรงแรมการท่องเทีย่ วการจัดการธรุ กิจท่องเที่ยวเกษตรเชิงนเิ วศการจัด ประชมุ และนิทรรศการการโรงแรม สปาและความงาม 8. อตุ สาหกรรมส่ิงทอ เทคโนโลยสี ิง่ ทอเคมสี ิ่งทอเทคโนโลยเี ครื่องนุ่งห่ม [k]เทคโนโลยีการทอผา้ ไหม และผ้าพื้นเมือง 9. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร เทคโนโลยีสารสนเทศคอมพิวเตอร์โปรแกรมเมอร์ ซอฟตแ์ วร์ระบบสมองกลฝังตวั คอมพิวเตอรเ์ กมและแอนิเมชัน หลกั สูตรปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั กิ าร การเปดิ สอนหลกั สูตรปริญญาตรีในสถาบันการอาชีวศึกษา ใชม้ าตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ตั กิ าร ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2557 ปจั จุบนั เปิดสอน 6 สาขาวชิ า ดังน้ี อุตสาหกรรม เทคโนโลยียานยนต์ (ทล.บ. (เทคโนโลยยี านยนต)์ ) เทคโนโลยีไฟฟา้ (ทล.บ. (เทคโนโลยีไฟฟ้า)) เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์ (ทล.บ. (บัญช)ี ) บรหิ ารธุรกจิ กาตลาด (ทล.บ. (การตลาด)) บญั ชี (ทล.บ. (บญั ช)ี ) คอมพิวเตอร์ธุรกจิ (ทล.บ. (คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ))

10 เรียนสายอาชีพดอี ยา่ งไร ? 1. ได้ความรู้ ได้ประสบการณ์ มีรายได้ระหว่างเรียน นอกจากการเรียนทฤษฎีแล้ว หลักสูตรสาย อาชพี ยงั เน้นการลงมือภาคปฏิบัตอิ ย่างเข้มข้น ทกุ หลักสตู รมกี ารฝกึ งานเพ่ือสร้างเสริมประสบการณ์และทักษะ วิชาชีพตั้งแต่ยังเรียนอยู่ไม่น้อยกว่า 300 ช่ัวโมง นักเรียนจะได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติงานจริง ฝึกใช้อุปกรณ์ เรียนรู้ กระบวนการในสายอาชีพน้นั ๆ เป็นประสบการณ์ตรงจากหน้างาน 2. มีทักษะวิชาชีพติดตัว การได้มีโอกาสฝึกงานระหว่างเรียนสายอาชีพให้อะไรมากกว่าการเรียนรู้ จากตาราเพียงอย่างเดยี ว เพราะการฝกึ ฝนปฏบิ ัติงานเป็นประจาย่อมทาใหเ้ กดิ ทักษะและความเชีย่ วชาญติดตัว นกั เรียนไปตลอด เมือ่ ศกึ ษาจบระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี สามารถใช้เปน็ ใบเบิกทางสมคั รงานได้เลย 3. สามารถเลือกเรียนได้หลากหลาย หลักสูตรสายอาชีพมีให้ เลือกเรียนหลากหลายสาขาวิชา ซ่ึงแต่ละสาขามีความน่าสนใจ จบแล้วมี ตาแหน่งงานรองรับ นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจและ ความถนัดของตวั เอง 4. ได้รับความนิยมจากตลาดแรงงาน ตาแหน่งงานในปัจจุบัน กาลังขาดแคลนช่างฝีมือและบุคลากรวิชาชีพทักษะเฉพาะอยู่เป็นจานวน มาก หลายคนแม้จะเรียนจบปริญญาตรงกับสายงาน แต่ยังขาด ประสบการณ์ในการทางานจริง การเรียนสายอาชีพจึงมีข้อได้เปรียบ มากกว่า 5. โอกาสเรียนต่อระดับอุดมศึกษา วุฒิการศึกษาในการเรียน สายอาชีพไม่ใช่แค่ ปวช. ปวส. เท่าน้ัน เพราะหลายๆ สถาบันอุดมศึกษา ในปัจจุบันหันมารับนักเรียนสายอาชีพให้เข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี โดยเปิดหลักสูตรพิเศษท่ีน่าสนใจ เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนสายอาชีพได้ เรียนตอ่ ในระดับสูงข้นึ การเรยี นอาชีวศกึ ษาควบค่กู ับการทางาน - ระบบปกตเิ รยี นวนั จันทร์ – ศุกร์ นกั เรียนสามารถทางาน Part Time ได้ - ระบบทวิภาคี เรียนครึ่งหลักสูตรและฝึกงานครึ่งหลักสูตร นักเรียนสามารถทางาน Part Time ได้ - การเรียนภาคสมทบหรือภาคค่า เฉพาะผู้ท่ีทางานแล้ว สามารถเรียนวันเสาร์ – อาทิตย์ หรอื ภาคคา่ (เปิดสอนเฉพาะบางสาขาเท่านนั้ )

11 คา่ ใชจ่ ่ายในการเรียนอาชีวศกึ ษาในระดับ ปวช. หากต้องการศึกษาต่อในระดับอาชีวศึกษา นอกจากการพิจารณาเลือกสาขาที่ต้องการแล้ว ระยะทางและการเดินทางไปยังสถานศึกษาถือว่ามี ความสาคญั เชน่ เดียวกัน

12 การจดการเรยี นการสอนระดบั ปวช. การเรยี นอาชีวศึกษาแบบทวิภาคี (เปดิ สอนบางวทิ ยาลัยเท่าน้ัน) การเรียนระบบทวิภาคี คือ การจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเกิดจากข้อตกลงระหว่างสถาบันกับ สถาน ประกอบการในการจัดหลังสูตร จัดการเรียนการสอน จัดฝึกอาชีพ การวัดและการประเมินผลโดยผู้เรี ยนใช้ เวลาส่วนหน่ึงเรียนในสถานศึกษาหรือสถาบันและเรียนภาคปกติในสถานประกอบการ การเรียนในระบบ ทวิภาคีน้ีไม่ใช่เพียงการฝึกงานในบริษัท แต่เป็นการฝึกทางานในอาชีพเฉพาะทาง ตลอดทังหลักสูตรที่เรียน นักเรยี นจะไดท้ างานในสิ่งแวดล้อมของการทางานจริงใกล้ชิดกับหัวหนางานมีพ่ีเล้ียงในท่ีทางาน มีรุ่นพเี่ ป็นเพ่ือ ร่วมงาน รวมถึงการพบปะกับลูกค้าในสายงานของตนเอง ต้องเผชิญกับสถานการณ์จริงแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ได้จริง อาชีวศึกษามีระบบทวิภาคีท้ังระบบ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี ดังนั้นไม่ว่าจะจบ ม.3 ม.6 หรือ ปวช. สามารถเรียนทวภิ าคไี ด้

13 การเรยี นอาชีวศกึ ษาแบบทวิภาคี (เปดิ สอนบางโรงเรียนเทา่ นัน้ การเรียนแบบทวิศึกษา คือ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ให้แก่ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีมีความประสงค์จะเรียนในสายวิชาชีพ เม่ือนักเรียนสาเร็จการศึกษา ครบตามหลักสูตร จะได้รับประกาศนียบัตรรับรองวุฒิการศึกษา ทั้งในระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6 และระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พรอ้ มกนั การจดั การศกึ ษารูปแบบทวศิ ึกษา เป็นแนวคิดใหม่แลเปน็ การสร้างนวตั กรรม ในการจัดการศึกษารูปแบบใหม่ ที่เป็นการเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาใหน้ ักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ในการศึกษาทางด้านวิชาชีพ เพ่ือเพิ่มทักษะและความรู้ ความสามารถต่างๆ ซง่ึ เป็นพ้ืนฐานสาคัญในการ ประกอบอาชีพ รวมท้ังเพิ่มโอกาสในการทางานมากกว่าการมีวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) เพยี งอยา่ งเดยี ว ประโยชน์ท่นี กั เรียนไดร้ บั จากการเรยี นแบบทวิภาคี - ได้รบั คา่ เบยี้ เลีย้ งและสวัสดกิ ารอนื่ ๆ ตามทต่ี กลง - มโี อกาสท่จี ะเข้าทางานสถานประกอบการท่ีไดฝ้ กึ อาชพี - ไดร้ บั ใบรับรองจากสถานประกอบการ - ไดร้ ับประกาศนยี บัตร ปวช. และ ปวส. เชน่ เดียวกบั นกั เรยี นปกติ - ไดโ้ อกาสศกึ ษาตอ่ ในระดับสูงตอ่ ไป - สามารถนาความรู้ทางทฤษฎีไปใช้ประยุกต์เข้ากับภาคปฏิบัติในสถานประกอบการได้ทันทีไม่ต้องรอ ใหจ้ บการศกึ ษา เปน็ การเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจและประสบการณก์ ารทางาน

14

15

16 แนวทางการเลือกสถานศึกษาเพ่ือศึกษาต่อ รายช่ือสถานศึกษาในสงั กดั สอศ. จาแนกตามจังหวัด สถานศกึ ษาในสงั กดั (จาแนกตามจังหวัด) ภาคเหนอื มี 9 จงั หวดั จงั หวดั เชียงราย จงั หวัดเชยี งใหม่ จงั หวัดน่าน จังหวดั พะเยา จงั หวัดแพร่ จังหวดั แม่ฮ่องสอน จังหวดั ลาปาง จงั หวดั ลาพูน จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ มี 20 จังหวดั จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ จงั หวดั ขอนแกน่ จงั หวัดชยั ภมู ิ จงั หวัดนครพนม จงั หวัดนครราชสมี า จงั หวัดบรุ ีรัมย์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวดั มกุ ดาหาร จังหวัดยโสธร จงั หวดั ร้อยเอด็ จงั หวัดเลย จังหวดั สกลนคร จังหวดั สุรนิ ทร์ จังหวดั ศรสี ะเกษ จงั หวัดบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย จงั หวัดหนองบวั ลาภู จังหวดั อุดรธานี จังหวัดอบุ ลราชธานี จังหวัดอานาจเจรญิ ภาคกลาง มี 22 จังหวัด จงั หวัดกรุงเทพฯ จังหวดั กาแพงเพชร จังหวัดชยั นาท จงั หวัดนครนายก จังหวัดนครปฐม จังหวัดนครสวรรค์ จงั หวดั นนทบุรี จังหวัดปทมุ ธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จงั หวดั พจิ ิตร จงั หวดั พิษณโุ ลก จงั หวัดเพชรบรู ณ์ จังหวัดลพบุรี จังหวดั สมทุ รปราการ จังหวัดสมทุ รสงคราม จงั หวดั สมทุ รสาคร จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี จงั หวัดสโุ ขทยั จงั หวดั สพุ รรณบุรี จังหวดั สระบรุ ี จังหวัดอา่ งทอง จังหวดั อุทยั ธานี ภาคตะวันออก มี 7 จังหวัด จังหวดั จันทบุรี จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จงั หวัดชลบุรี จงั หวดั ตราด จงั หวดั ปราจนี บุรี จงั หวดั ระยอง จงั หวดั สระแกว้ ภาคตะวนั ตก มี 5 จังหวดั จังหวัดกาญจนบรุ ี จงั หวัดตาก จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ จังหวัดเพชรบุรี จงั หวดั ราชบรุ ี

17 ภาคใต้ มี 14 จังหวัด จังหวดั กระบ่ี จังหวดั ชมุ พร จงั หวัดตรัง จงั หวัดนครศรธี รรมราช จังหวัดนราธิวาส จงั หวัดปัตตานี จังหวดั พังงา จังหวดั พัทลุง จงั หวัดภเู กต็ จงั หวดั ระนอง จงั หวัดสตูล จงั หวดั สงขลา จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี จังหวดั ยะลา การคัดเลอื กบคุ คลเข้าศกึ ษาต่อระดบั มหาวิทยาลัย รูปแบบท่ี 1 Portfolio 1. ไมใ่ ช้คะแนนสอบ 2. เอกสารท่จี ัดสง่ ไม่เกนิ 10 หน้ากระดาษ A4 (ไม่รวมปก) 3. ถา้ จะใชค้ ะแนน GPAX จะเปน็ คะแนน 4 ภาคเรียน หรือ 5 ภาคเรียน 4. รายละเอียดอนื่ ๆ นามาเพิ่มเตมิ ในวนั สอบสมั ภาษณ์ได้ กลุ่มเปา้ หมาย : นักเรยี นที่มีความสามารถพิเศษ การกาหนดองค์ประกอบ/เกณฑ์ : สาขาวิชา/มหาวิทยาลยั วธิ กี าร 1. สถาบนั อุดมศกึ ษากาหนดเกณฑ์การคัดเลือกโดยไม่มีการสอบ 2. สามารถ Pee-Screening แลว้ สมั ภาษณ์ได้ 3. สง่ ชอื่ เขา้ ระบบการบรหิ ารจดั การสทิ ธิ์

18 รูปแบบท่ี 2 โควตา 1. ใช้คะแนนสอบของ สทศ. หรือมหาวิทยาลัยจดั สอบเอง 2. ทปอ. กาหนดให้จดั สอบรายวิชาเฉพาะของสาขาที่อยู่นอกเหนอื การจัดสอบของ สทศ. ซง่ึ ผลสอบนี้สามารถนาไปใช้ในรปู แบบท่ี 2, 3 และ 5 ได้ 3. สาขาวิชาสามารถดงึ คะแนนจาก สทศ. มาใช้ในการคัดเลอื กได้ เช่น คะแนนสามัญ 9 วชิ า, คะแนน GAT/PAT และใช้คะแนน GPAX 5 หรอื 6 ภาคเรียนจากศนู ย์ข้อมูลสารสนเทศเพ่อื การศ คัดเลือกเขา้ สถาบันอุดมศึกษา กล่มุ เป้าหมาย : นักเรียนจากโควตาพืน้ ท่ี เครือข่าย โครงการพิเศษเขตพเิ ศษของประเทศ การกาหนดองคป์ ระกอบ/เกณฑ์ : สาขาวิชา/มหาวิทยาลัย วิธีการ 1. สถาบันอุดมศกึ ษากาหนดเกณฑ์การคดั เลือก (ซงึ่ อาจจะมีการใช้คะแนนสอบข้อเขียน หรอื สอบปฏิบตั ิรว่ มดว้ ย) 2. สง่ ชื่อเข้าระบบการบริหารจดั การสทิ ธ์ิ รปู แบบท่ี 3 รับตรงร่วมกัน 1. สมัครผา่ นระบบ TCAS กลางร่วมกัน เลือกได้สงู สุด 6 สาขาวชิ าและเรยี งลาดับของแต่ละ สาขาที่เลอื กสมัคร ท้ังน้ี การเลือกสาขาวิชากับการชาระเงินแยกอสิ ระ สามารถชาระเงนิ เพิ่มเพ่อื เลือก สาขาเพมิ่ ได้ซึ่งระบบอนญุ าตให้เปลย่ี นแปลงข้อมลู สาขาวิชาท่ีเลือกได้ จนถงึ เวลาปดิ ระบบ 2. ชาระเงินคา่ สมคั รตามจานวนสาขาวิชาทเ่ี ลอื กสมคั รโดยชาระผา่ นระบบ ATM Mobile Banking และ Internet Banking กลมุ่ เปา้ หมาย : นักเรยี นทั่วไป นกั เรยี นในโครงการ กสพท นักเรียนในโครงการอืน่ ๆ การกาหนดองค์ประกอบ/เกณฑ์ : สาขาวิชา/มหาวิทยาลยั วธิ กี าร 1. นักเรียนเลือกได้ 6 สาขาวิชา 2. สถาบันอดุ มศกึ ษากาหนดเกณฑ์การรับ (ซ่งึ อาจจะมกี ารใช้คะแนนสอบข้อเขยี นร่วมด้วย) 3. การบริหารการจดั การสิทธเ์ ปน็ แบบ Auto-Clearing

19 รูปแบบที่ 4 Admission 1. การใช้สัดส่วน GPAX ONET ยงั คงมีจนครบ 3 ปี ถงึ ปี 2564 คะแนน GAT/PAT มีอายุ 2 ปี 2. สาขา ทันตแพทย์ ขอปรบั น้าหนกั ตง้ั แต่ 2561 GAT 20% ->20% PAT2 30% -> PAT1 10% + PAT2 20% ตงั้ แต่ปี 2561 มีกลุ่ม 10 กลุ่มแพทยศาสตร์ วิชาเฉพาะแพทย์ 30% วชิ าสามัญ 70% O-NET 5 วชิ าไมน่ ้อยกวา่ 60% กลุม่ เป้าหมาย : นกั เรียนทว่ั ไป นกั เรยี นในโครงการ กสพท. นักเรยี นในโครงการอ่ืนๆ การกาหนดองคป์ ระกอบ/เกณฑ์ : - วิธีการ 1. นกั เรยี นเลอื กได้ 4 สาขาวิชา 2. สถาบันอุดมศกึ ษาแต่ละแหง่ กาหนดเกณฑ์การรบั ตามข้อตกลงตามองคป์ ระกอบของ Admission 3. การบรหิ ารจัดการสิทธ์เป็นแบบ Auto-Clearing รปู แบบท่ี 5 รับตรงอิสระ การรบั ตรงอสิ ระ แต่ละมหาวทิ ยาลยั จะ เปดิ รบั และพิจารณาจากคะแนน GAT/PATใช้ คะแนนสอบของ สทศ. หรือมหาวทิ ยาลยั จดั สอบเอง กลุม่ เปา้ หมาย : นักเรียนท่วั ไปทยี่ งั ไมม่ ี สิทธ์ิเขา้ ศึกษา วิธีการ 1. สถาบันอุดมศึกษากาหนดเกณฑ์การรบั (อาจจะมกี ารใชค้ ะแนนสอบข้อเขยี นรว่ มด้วย) 2. จัดสอบเพิ่มเติมได้กรณีทนี่ ักเรียนไม่มี คะแนนของวชิ าทีต่ ้องการ 3. สถาบันอุดมศึกษาส่งชื่อเข้าระบบการ บรหิ ารจัดการสิทธิ์

20 รายชื่อมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศกึ ษาในประเทศไทย มหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในสังกัดของรฐั มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสนิ ธุ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช มหาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

21 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ของรัฐ โรงเรียนนายร้อยตารวจ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ วิทยาลัยพยาบาลตารวจ วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า สถาบันดนตรีกลั ยาณวิ ัฒนา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั สถาบันการบินพลเรอื น สถาบันการพลศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สถาบันพระบรมราชชนก

มหาวิทยาลัยเอกชน 22 มหาวิทยาลัยเกรกิ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา มหาวิทยาลัยคริสเตียน มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น มหาวิทยาลัยชินวัตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร มหาวิทยาลัยตาปี มหาวิทยาลัยเนชั่น มหาวิทยาลัยธนบุรี มหาวิทยาลัยเวบสเตอร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเอเชียน มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิก มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยพิษณุโลก มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยพิษณุโลก มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอรน์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยภาคกลาง มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอรน์ มหาวิทยาลัยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยภาคกลาง มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยราชธานี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล มหาวิทยาลัยราชธานี มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยอสั สัมชัญ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยอีสเทริ ์นเอเชีย มหาวิทยาลัยอสั สัมชัญ มหาวิทยาลัยอสี เทิร์นเอเชีย

สถาบนั อดุ มศกึ ษาอ่ืนๆของเอกชน 23 วิทยาลยั เชยี งราย วิทยาลยั พิชญบัณฑิต วทิ ยาลยั เซนตห์ ลยุ ส์ วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ วทิ ยาลัยเซาธ์อีสบางกอก วทิ ยาลยั ราชพฤกษ์ วทิ ยาลัยเทคโนโลยจี ิตรลดา วทิ ยาลยั ลมุ่ น้าปิง วทิ ยาลัยเทคโนโลยีพนมวนั ท์ วิทยาลยั สนั ตพล วทิ ยาลัยเทคโนโลยภี าคใต้ วิทยาลยั อินเตอรเ์ ทคลาปาง วทิ ยาลยั เทคโนโลยีสยาม สถาบันเทคโนโลยแี หง่ เอเชยี วทิ ยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) สถาบันเทคโนโลยแี หง่ อโยธยา วิทยาลัยแสงธรรม สถาบนั เทคโนโลยีไทย-ญี่ปนุ่ วิทยาลยั กรงุ เทพสุวรรณภมู ิ สถาบนั เทคโนโลยยี านยนตม์ หาชยั วิทยาลัยดสุ ิตธานี สถาบันกันตนา วิทยาลัยทองสขุ สถาบันการเรียนรูเ้ พ่ือปวงชน วทิ ยาลัยนครราชสมี า สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวัฒน์ วิทยาลัยนานาชาติเซนตเ์ ทเรซา สถาบนั บณั ฑิตศกึ ษาจฬุ าภรณ์ วิทยาลัยบณั ฑิตเอเชยี สถาบันรัชตภ์ าคย์ สถาบันอาศรมศลิ ป์

24 แนะแนวการศกึ ษาตอ่ ต่างประเทศ ผู้ท่ีสนใจไปเรียนต่อต่างประเทศก่อนท่ีจะตัดสินใจเลือกเรียนต่อท่ีใดหรือหลักสูตรใดน้ัน สิ่งที่ควร พิจารณาก่อนตัดสินใจ เพราะการไปเรียนต่อต่างประเทศถือเป็นก้าวแรกที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับความสาเร็จใน ชีวิต ซึ่งการมีข้อมูลที่ดีรวมถึงการเตรียมความพร้อมก่อนเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะทาให้การไปเรียนต่อที่ต่างประเทศ เปน็ ไปได้อยา่ งราบรน่ื และชว่ ยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจสง่ ผลกระทบตอ่ การเรียนได้ ข้อมูลของประเทศนักเรียนไทยส่วนใหญ่จะไปศึกษาต่อ มีดังนี้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อังกฤษ อเมริกา สกอตแลนด์ ไอร์แลนด์ สิงคโปร์ มาเลเซีย ญ่ีปุ่น ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เยอรมัน สเปน อิตาลี เนเธอรแ์ ลนด์ เกาหลี เปน็ ตน้ ข้อมูลตามสาขาวิชาที่สนใจศึกษาต่อต่างประเทศ มีดังน้ี อังกฤษธุรกิจ – Business English เรียนภาษาอังกฤษตัวต่อตัว English Camp การโรงแรม-การท่องเที่ยว ศิลปะในการทาอาหาร ทาขนม บริหารธรุ กจิ – MBA ออกแบบภายใน – Interior Design แฟช่นั – Fashion Design เป็นตน้ ปจั จัยทคี่ วรพจิ ารณา กอ่ นตัดสนิ ใจไปเรียนต่อตา่ งประเทศ มดี ังนี้ 1. เป้าหมายหลังจากที่สาเร็จการศึกษา เป็นส่ิงท่ีควรพิจารณาอันดับแรก เพราะการมีเป้าหมาย หรือ การได้เรียนในสิ่งท่ีชอบ จะเป็นตัวแปรที่ช่วยผลักดันให้ประสบความสาเร็จไม่ว่าจะเป็นเร่ืองเรียนหรือการ ทางานในอนาคต 2. ประเทศท่ีสนใจไปเรียนต่อ มีหลากหลายประเทศที่มีความแตกต่าง ข้อดี ข้อด้อยแตกต่างกันไป สามารถอา่ นข้อมูลไดจ้ ากเมนู เรยี นตอ่ ตา่ งประเทศ ทางขวามอื (PC) หรือ ลิงคด์ ้านล่าง (Mobile) ประกอบการ พิจารณา

25 3. หลักสูตรท่ีสนใจ ควรพิจารณาจากเนื้อหาของหลักสูตรและรายวิชาท่ีต้องเรียน รวมถึงระยะเวลา ทีต่ อ้ งใช้ในการศึกษาใหเ้ หมาะสม และตรงกบั สิ่งท่ีเราอยากจะเรยี น 4. สถาบันการศึกษา สามารถพิจารณาได้จากความน่าเช่ือถือของสถาบัน นโยบายการเรียนการสอน รางวัลท่เี คยไดร้ บั และอันดบั (Ranking) รวมถึงการไดร้ บั การรับรองจากสถานทตู ของประเทศน้นั ๆ ด้วย 5. เส้นทางการศึกษา ควรท่จี ะทราบเสน้ ทางการศึกษาในหลกั สตู รท่เี ราตอ้ งการเรียน เพราะแต่ละ สถาบันอาจจะมเี สน้ ทางการศึกษาท่ีแตกต่างกนั 6. วฒุ กิ ารศึกษา และผลการเรียน ที่ต้องใช้ในการสมัครเรยี น ตอ้ งสารวจตวั เองวา่ มีวฒุ กิ ารศกึ ษาหรือ ระดบั ผลการเรยี นที่สามารถสมัครเรียนกบั สถาบนั ท่ีเราสนใจได้หรอื ไม่ โดยส่วนใหญแ่ ล้ว แต่ละสถาบนั จะมี เกณฑ์การสมคั รขนั้ ตา่ แจง้ ให้ทราบ 7. ความสามารถในการใชภ้ าษาและระดบั ภาษา ระดบั ภาษาท่ตี ้องใชใ้ นการสมคั รเรยี นน้ัน จะสูงมาก น้อยขนาดไหนนน้ั ขนึ้ อยู่กบั ระดบั การศกึ ษา หลกั สูตร และกฎของสถานทตู นนั้ ๆ (ในบางประเทศ) ยกตัวอย่างเช่น การไปเรียนและพัฒนาภาษาองั กฤษ ในบางประเทศ ไมจ่ าเป็นตอ้ งแนบใบประกาศรับรองผล ทกั ษะภาษา แต่ในบางประเทศต้องใช้ หรือ กรณตี ้องการเรียนตอ่ ปริญญาโท บางสถาบันอาจต้องการผล ทกั ษะภาษา เช่น IELTS ที่ 6.5 ข้ึนไป เปน็ ตน้ 8. คา่ ใชจ้ า่ ยและงบประมาณ นอกเหนือจากคา่ เรยี นแล้ว ยังตอ้ งคานวณงบประมาณคา่ กินคา่ อยู่ ค่าใช้ ชวี ิตประจาวนั ค่าเดนิ ทาง คา่ อุปกรณ์การเรยี น ตลอดทง้ั หลกั สูตร รวมถงึ เงนิ การันตีท่ีต้องใช้ในการขอวซี ่า สาหรับไปเรียนต่อต่างประเทศ อกี ดว้ ย 9. สภาพแวดลอ้ มและสภาพอากาศ ควรพจิ ารณาถงึ อุณหภมู ิ สภาพแวดล้อมและสภาพอากาศของ เมืองทเ่ี ราสนใจไปเรยี น วา่ จะสามารถปรับตัวกับสภาพอากาศทแ่ี ตกต่างไดห้ รอื ไม่ เพราะหากปรับตวั ไม่ได้ หรอื ปรบั ตัวได้ช้า อาจส่งผลใหม้ ีการเจ็บปว่ ย ทาให้เรยี นตามเพ่ือน ๆ ไม่ทนั ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อการเรียนใน ระยะยาวได้ 10. ลกั ษณะการใช้ชวี ิตและวัฒนธรรมท่แี ตกตา่ ง การไป เรียนตอ่ ตา่ งประเทศ นกั เรียนจะต้องเผชญิ กับวัฒนธรรมทแ่ี ตกต่าง รวมถึงกฎระเบียบ กฎหมาย ธรรมเนยี ม มารยาท ทต่ี า่ งกัน ดังน้ัน จงึ ไมค่ วรมองข้าม ที่จะหาและเก็บขอ้ มลู ใชป้ ระกอบการตัดสินใจ วา่ หากต้องไปใช้ชีวิตนกั เรียน จะสามารถปรับตัวยอมรบั กบั สง่ิ ใหม่ ๆ ได้หรือไม่

26 การเตรียมความพร้อมในแผนการเรียนต่อต่างประเทศ ของตวั เอง หากมีแผนหรือสนใจเรียนในหลักสูตรใด ๆ แล้ว ควรสารวจความพร้อมของตนเอง กับ ความต้องการ ของหลักสูตร ที่ต้องใช้สาหรับสมัครเรียนด้วย โดยคะแนนเฉลี่ยที่เป็นเกณฑ์โดยท่ัวไป อาจจะรับพิจารณา นกั ศกึ ษาที่สาเร็จปริญญาตรีด้วยคะแนนสะสมเฉลี่ย (GPA) ทร่ี ะดับ 3.00 ข้นึ ไป หรอื สถาบนั อ่ืนๆ โดยสว่ นใหญ่ จะรับพิจารณานักศึกษาที่สาเร็จปริญญาตรีด้วยคะแนนสะสมเฉล่ีย (GPA) ท่ีระดับ 2.75 ขึ้นไป และระดับ ปริญญาโท คะแนนสะสมเฉลยี่ (GPA) ทรี่ ะดับ 3.50 ขนึ้ ไป การเตรียมความพร้อมในส่วนของทักษะภาษา ก่อนไปเรียนต่อต่างประเทศ นักศึกษาควรที่จะเตรียมความพร้อมในส่วนของทักษะภาษาท่ีต้องใช้ในการเรียนในประเทศท่ีตนเอง สนใจ โดยหากทักษะภาษาดีอยู่แล้ว อาจเลือกสอบวัดผลคะแนนภาษาที่เป็นที่ยอมรับของสถาบันการศึกษา หรือตามคุณสมบัติในการขอวีซ่า เช่น IELTS, UKVI IELTS (สาหรับสถานศึกษาใน UK), TOEFL, DELF เป็นต้น ซึ่งหากได้คะแนนผลสอบสูงกว่าหรือเท่ากับ Requirement ของหลักสูตร ก็สามารถนาผลสอบ กับเอกสารประกอบอ่ืนๆ สมัครเรียนในหลักสูตรท่ีต้องการได้ทันที แต่หากคะแนนสอบวัดผลภาษายังไม่ถึง เกณฑ์ท่ีหลักสูตรกาหนด หรือในกรณีที่ไม่ม่ันใจในทักษะภาษาของตนเอง ก็อาจเลือกเส้นทางท่ีไปเรียนและ ฝึกฝนภาษาท่ีต่างประเทศได้เช่นกัน โดยการฝึกฝนการใช้ภาษาที่ต่างประเทศ (ในประเทศท่ีเราตั้งใจไปเรียน) มีข้อดหี ลายอยา่ ง เชน่ 1. มโี อกาสไดฝ้ กึ ฝนภาษากับเจ้าของภาษาอยา่ งสมา่ เสมอ ซ่ึงส่งผลดีต่อการพัฒนาทักษะภาษา 2. มโี อกาสได้ไปเรยี นรู้และลองใช้ชีวิต รวมถึงดูการปรับตวั ของตนเองว่าจะสามารถอย่เู รียนในระยะ ยาวได้หรอื ไม่ 3. มโี อกาสไดเ้ รียนรูว้ ฒั นธรรม และธรรมเนยี มปฏบิ ัติ ของประเทศน้นั ๆ 4. มีโอกาสไดล้ องใช้ชีวติ ดว้ ยตนเอง ได้ประสบการณใ์ หม่ ๆ ซ่ึงมสี ว่ นชว่ ยให้ รู้จักพึ่งตวั เองและเปน็ ผใู้ หญม่ ากขนึ้

27 การเตรยี มความพร้อมในส่วนของเงินสนับสนุนและการเงินทีต่ ้องใช้จ่าย การไปเรียนต่อต่างประเทศ จาเป็นต้องใช้เงินสนับสนุนที่ เพยี งพอ ซ่งึ เงนิ ส่วนใหญท่ ี่ใชไ้ ด้น้ันมักอยู่ในรูปของเงินที่มีสภาพคล่อง สูง และเป็นเงินที่เตรียมไว้สาหรับใช้เป็นทุนการศึกษา ยกตัวอย่าง เช่น เงินในบญั ชอี อมทรพั ย์ เงนิ ฝากประจา เปน็ ตน้ ซงึ่ ปจั จยั ในสว่ นน้ี มกั จะเก่ยี วขอ้ งกบั การดาเนินการในสว่ นของการขอวซี ่าเป็นสว่ นใหญ่ โดยบัญชีสนับสนุนน้ันอาจอยู่ในช่ือของนักเรียนเอง หรือช่ือของ ผู้สนับสนุน (โดยส่วนใหญ่ควรต้องเป็นผู้ปกครองหรือญาติใกล้ชิด ขึ้นอยู่กับข้อกาหนดของสถานทูต) ก็ได้ โดยแต่ละประเทศ ต่างเมือง ตา่ งสถาบนั อาจกาหนดงบประมาณทีแ่ ตกต่างกัน การเตรียมความพร้อมในส่วนของการขอวีซา่ สาหรับประเทศทีต่ ้องขอวซี า่ ควรตรวจสอบคุณสมบตั ิในการสมัคร และหาข้อมลู ว่า สถานทตู ต้องการ เอกสารใดประกอบการพิจารณาบ้าง เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนไปเรยี นตา่ งประเทศ แนวทางการพิจารณาอ่ืน ๆ ในการเลือกศึกษาต่อตา่ งประเทศ 1.ระบบการศึกษา 2.โครงสรา้ งของหลักสตู ร 3.ระยะเวลาของหลักสตู ร 4.คา่ ใช้จา่ ย 5.ทีต่ ง้ั ของสถาบัน 6.สง่ิ อานวยความสะดวก 7.สภาพแวดลอ้ ม 8.มาตรฐานการศึกษา 9.วฒุ ิการศกึ ษาท่ไี ด้รบั หลงั จากท่จี บหลักสตู ร 10.การรบั รองวิทยฐานะ 11.วิธีที่ใชใ้ นการเรยี นการสอน และ อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการเรียนการสอน 12.จานวนนักศกึ ษา และสดั ส่วนนกั เรยี นต่อ 1 หอ้ ง 13.การเดินทาง 14.ความนา่ เชอ่ื ถอื ของสถาบัน 15.สถาบัน 16.หลกั สตู รไดร้ บั ความน่าเชอื่ ถือจากสถานทตู

28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook