Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุคคลสำคัญ เล่มที่ 1

บุคคลสำคัญ เล่มที่ 1

Published by earnkung2546, 2021-02-28 16:50:36

Description: บุคคลสำคัญ เล่มที่ 1

Search

Read the Text Version

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เร่ืองบุคคลสำคัญเล่มน้ี ทำงคณะผู้จัดทำ จั ด ท ำ ข้ึ น ต ำ ม ผ ล ก ำ ร เ รี ย น รู้ ก ลุ่ ม ส ำ ร ะ ก ำ ร เ รี ย น รู้ สั ง ค ม ศึ ก ษ ำ รำยวิชำ ประวัติศำสตร์ รหัสวิชำ ส ๓๒๑๐๔ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ผู้อ่ำนได้รับควำมรู้ในเร่ืองบุคคลสำคัญได้เป็นอย่ำงดีมีควำมถูกต้อง และพิจำ รณำ ใช้หนัง สือ อิเล็กท รอนิกส์เล่มนี้ใ นกำรจัดกำรเ รียนรู้ใ ห้ สอดคล้องกับกำรศึกษำของตนได้อย่ำงเหมำะสม ทำงคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อกำรสืบค้นหำข้อมูล ใช้ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน แ ล ะ เ ป็ น ส่ ว น ส ำ คั ญ ใ น ก ำ ร พั ฒ น ำ ทั ก ษ ะ ใ น ร ำ ย วิ ช ำ ป ร ะ วั ติ ศ ำ ส ต ร์ ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ ำ ง ดี ห ำ ก ผิ ด พ ล ำ ด ป ร ะ ก ำ ร ใ ด โ ป ร ด ติ ช ม แ ล ะ แ จ้ ง ข่ ำ ว ส ำ ร ม ำ ท ำ ง ค ณ ะ ผู้ จ ะ ท ำ โ ด ย ต ร ง ท ำ ง ค ณ ะ ผู้ จั ด ท ำ จ ะ รั บ เ ร่ื อ ง ดั ง ก ล่ ำ ว แ ล ะ นำ ไ ป แ ก้ไ ข ใ ห้โ ด ย เ ร็ว ข อ ข อ บ คุณ น ำ ย วุฒิชัย เ ชื่อ ม ป ร ะ ไ พ ตลอดจนบุคคลท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในกำรจัดทำไว้ ณ ท่ีนี้ คณะผู้จัดทำ

๐๑ ๑๑ ๐๒ ๑๒ ๐๓ ๑๓ ๐๔ ๑๔ ๐๕ ๑๕ ๐๖ ๑๖ ๐๗ ๑๗ ๐๘ ๑๘ ๐๙ ๑๙ 10 ๒๐ ๒๒

พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หวั พระราชประวัติ พระบำทสมเด็จพระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัวเป็นพระรำชโอรส พระองคเ์ ดียวในพระบำทสมเด็จพระมหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร และสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิต์ิ พระบรมรำชนิ ีนำถ พระบรมรำชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระรำชสมภพ ณ พระท่ีน่ัง อัมพรสถำน พระรำชวังดุสิต เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ได้รับพระรำชทำนพระนำมว่ำ สมเด็จพระเจ้ำลูกยำ เธอ เจ้ำฟ้ำวชิรำลงกรณ ขึ้นทรงรำชย์เป็นพระมหำกษัตริย์ รัชกำลใหม่ ตั้งแต่วันท่ี ๑๓ ตุลำคม๒๕๕๙ ตำมบทบัญญัติของ รัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจักรไทย (ฉบับช่ัวครำว) พระราชกรณยี กจิ คร้ังดำรงตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสำธิรำชฯ สยำมมกุฎรำชกุมำร ในด้ำนกำรสำธำรณสุข โปรดให้ สร้ำงโรงพยำบำลสมเด็จพระยุพรำชข้ึน เพื่อให้กำร รักษำพยำบำลผู้เจ็บป่วยในถ่ินทุรกันดำร พระองค์ ทรงเป็นองค์นำยกกิตติมศักด์ิของมูลนิธิโรงพยำบำล สมเด็จพระยุพรำช เม่ือวนั ที่ ๑๑ สงิ หำคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พระรำชทำนเงนิ จำนวน 100 ล้ำนบำท ซึ่งเป็นรำยได้จำกกำรจำหน่ำยสมุดไดอำร่ีภำพกำร์ตูนฝีพระหัตถ์ เพ่ือสมทบทุนสร้ำงอำคำร นวมินทรบพิตร ๘๔ พรรษำ โรงพยำบำลศิริรำช คณะแพทยศำสตร์ศิริรำชพยำบำล มหำวทิ ยำลยั มหิดลทำงกำรแพทย์ ๐๑

สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง พระราชประวตั ิ สมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ พระบรมรำช ชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระนำมเดิมว่ำ หม่อมรำชวงศ์สิริกิติ์ กิ ติ ย ำ ก ร ซ่ึ ง พ ร ะ น ำ ม \" สิ ริ กิ ต์ิ \" ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร ำ ช ท ำ น จ ำ ก พระบำทสมเด็จพระปกเกลำ้ เจ้ำอยู่หัว มีควำมหมำยว่ำ \"ผู้เป็นศรี แ ห่ ง กิ ติ ย ำ ก ร “ วั น ที่ ๕ ธั น ว ำ ค ม พ . ศ . ๒ ๔ ๙ ๙ อั น เ ป็ น ปี ท่ี พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดชมีพระรำช ประสงค์จะผนวชเป็นพระภิกษุ ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ แต่งต้ังสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีเป็นผู้สำเร็จ รำชกำรแทนพระองคใ์ นระหวำ่ งท่ผี นวชและทรงพระรำชดำริวำ่ สมเด็จพระนำงเจำ้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรม รำชินีได้ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จรำชกำรแทนพระองค์ในระหว่ำงที่ผนวชและ ไดปฏิบัติพระรำช ภำรกิจแทนพระองค์ด้วยพระปรีชำ จึงทรงกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้เฉลิมพระนำมำภิไธย สมเด็จพระนำง เจ้ำสิรกิ ิต์ิ พระบรมรำชนิ ีวำ่ สมเด็จพระนำงเจ้ำสิรกิ ติ ิ์ พระบรมรำชินนี ำถ พระราชกรณยี กจิ ปฏิบัติพระรำชภำรกิจมำกมำย โดยเฉพำะอย่ำงในกำรส่งเสริม คุณภำพชีวิต อำชีพ และควำมเป็นอยู่ของบุคคลผยู้ ำกไร้ และประชำชน ใน ชนบทห่ำงไกลในแผ่นดินไทยนี้โครงกำรที่มีสำขำขยำยกว้ำงขวำง ไปท่ัวประเทศโครงกำรหน่ึงก็คือ โครงกำรส่งเสรมิ ศิลปำชีพ ภำยหลัง ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯให้ก่อต้ัง เป็นรูปมูลนิธิ พระรำชทำนนำม ว่ำ \"มูลนิธิส่งเสริมศิลปำชีพพิเศษในพระบรม รำชินูปถัมภ์ และเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้เปลี่ยนชื่อ เป็น มูลนิธิ ส่งเสริมศิลปำชีพในสมเด็จ พระนำงเจ้ำสิริกิต์ิ พระบรมรำชินีนำถ เป็นกำรส่งเสริมอำชีพและ อนุรักษ์และส่งเสริมงำนศิลปะ พื้นบ้ำนที่มีควำมงดงำมหลำยสำขำ เช่น กำรปน้ั กำรทอ กำรจกั สำน เปน็ ตน้ ๐๒

พระบาทสมเด็จพระปนิ เกลา้ เจ้าอยู่หวั พระราชประวัติ พระบำทสมเด็จพระปิ่นเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ประสูติเม่ือวันท่ี ๔ กันยำยน พ.ศ.๒๓๕๑ ทรงเป็นพระรำชโอรสองค์ที่ ๕๐ ของ พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย พระรำชมำรดำ คือ สมเด็จพระศรีสุริเยนทรำบรมรำชินี มีพระนำมเดิมว่ำ เ จ้ ำ ฟ้ ำ จุ ฑ ำ ม ณี ห รื อ เ ป็ น ท่ี รู้ จั ก อ ย่ ำ ง ดี คื อ เ จ้ ำ ฟ้ ำ น้ อ ย พระองค์ทรงเป็นพระอนุชำของพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำ เจ้ำอยู่หัว ทรงเป็นพระมหำกษัตริย์ พระองค์ท่ี ๒ ในรัชกำลของ พ ร ะ บ ำ ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล้ ำ เ จ้ ำ อ ยู่ หั ว รั ช ก ำ ล ที่ ๔ ทรงได้รับพระบวรรำชำภิเษกเป็นพระเจ้ำแผ่นดิน เมื่อวันอำทิตย์ท่ี ๒๕ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๓๙๑ เมอื่ ทรงมีพระชนมพรรษำได้ ๔๓ พรรษำ พระราชกรณยี กิจ พระบำทสมเด็จพระป่ินเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงใฝ่พระรำชหฤทัยในวิชำกำรด้ำนจักรกลมำกเหตุ ที่ พ ร ะ อ ง ค์ โ ป ร ด ก ำ ร ท ห ำ ร ท ำ ใ ห้ จึ ง ส น พ ร ะ ร ำ ช ห ฤ ทั ย เ กี่ ย ว กั บ อ ำ วุ ธ ยุ ท ธ ภั ณ ฑ์ เ ป็ น พิ เ ศ ษ เท่ำที่ค้นพบพระบรมฉำยำลักษณ์ของพระองค์นั้นมักจะ ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบทหำร และ เป็นเครื่องแบบทหำรเรือด้วย แต่เป็นที่น่ำเสียดำยว่ำไม่มีกำรบันทึกพระรำชประวัติในส่วนท่ีทรง สร้ำงหรือวำงแผนงำนเก่ียวกับกิจกำรทหำรใดๆไว้บ้ำงเลยแม้ในพระรำชพงศำวดำ หรือใน จดหมำยเหตุต่ำง ๆ ก็ไม่มีกำรบันทึกผลงำนพระรำชประวัติในส่วนน้ีเลย แม้พระองค์เองก็ไม่โปรด กำรบนั ทึกไมม่ พี ระรำชหตั ถเลขำ แต่ถงึ กระนน้ั กย็ ังมงี ำนเดน่ ทมี่ หี ลักฐำนทั้งของฝรั่งและไทยกลำ่ ว ไวแ้ ม้จะนอ้ ยนิดแตก่ แ็ สดงใหเ้ ห็นถึงกำรรเิ ร่ิมท่ีล้ำหนำ้ กว่ำประเทศเพอื่ นบ้ำน ๐๓

กรมพระราชวังบวรวไิ ชยชาญ พระราชประวัติ เป็นพระรำชโอรสพระองค์ใหญ่ใน “พระบำทสมเด็จพระปิ่นเกล้ำ เจ้ำอยู่หัว” เมื่อแรกประสูติพระองค์มีพระอิสริยยศท่ี \"หม่อมเจ้ำ\" โดย พระบำทสมเด็จพระปิ่นเกล้ำเจ้ำอยู่หัว พระรำชทำนพระนำมว่ำ \"ยอร์ช วอชิงตัน \" ต่อมำพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว พระรำชทำนพระนำมให้ใหมว่ ่ำ \"พระองคเ์ จ้ำยอดยิ่งยศ บวรรำโชรสรัตน รำชกุมำร\" และได้รับกำรสถำปนำเป็นพระองค์เจ้ำต่ำงกรมท่ีกรมหม่ืน บวรวิไชยชำญ เม่ือปี ๒๔๐๔ แลได้รับพระรำชทำนอุปรำชำภิเษกเป็น “กรมพระรำชวังบวรสถำนมงคล” ในรชั สมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยู่หัวเมื่อปลำยสมัย พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ก่อนท่ีจะสวรรคต ๑ วัน ได้มีกำรประชุมพระญำติวงศ์และขุน นำง ท่ีประชุมจึงตกลงท่ีจะแต่งต้ัง กรมหม่ืนบวรวิไชยชำญเป็น “กรมพระรำชวังบวรสถำนมงคล” ตำมคำเสนอของพระเจ้ำนอ้ งยำเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรนิ ทร์ พระราชกรณยี กิจ ก ร ม พ ร ะ ร ำ ช วั ง บ ว ร วิ ไ ช ย ช ำ ญ ท ร ง เ ป็ น เ จ้ ำ น ำ ย ที่ มี ควำมสำมำรถหลำยด้ำน ด้ำนนำฏกรรม ทรงพระปรีชำเล่นหุ่นไทย หุ่นจีน เชิดหนัง และง้ิว ด้ำนกำรช่ำงทรงชำนำญเครื่องจักรกล ทรงต่อเรือกำป่ัน ทรงทำแผนท่ีแบบสำกล ทรงสนพระทัยในแร่ธำตุ ถึ ง กั บ ท ร ง ส ร้ ำ ง โ ร ง ถ ลุ ง แ ร่ ไ ว้ ใ น พ ร ะ ร ำ ช วั ง บ ว ร ส ถ ำ น ม ง ค ล เ มื่ อ พ.ศ. ๒๔๒๖ ทรงได้รับประกำศนียบัตรจำกฝรั่งเศสในฐำนะผู้เชี่ยวชำญ สำขำวชิ ำชำ่ ง ๐๔

สมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง พระราชประวตั ิ มีพระนำมเดิมว่ำ พระเจ้ำลูกเธอ พระองค์เจ้ำหญิงเสำวภำผ่อง ศรี เป็นพระรำชธิดำลำดับท่ี ๖๖ ในพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำ เจ้ำอยู่หัว ซ่ึงประสูติแต่สมเด็จพระปิยมำวดีศรีพัชรินทรมำตำ พ ร ะ ร ำ ช ส ม ภ พ เ ม่ื อ วั น ท่ี ๑ ม ก ร ำ ค ม พุ ท ธ ศั ก ร ำ ช ๒ ๔ ๐ ๖ เมื่อมีพระชนมำยุ ๑๕ พรรษำ ทรงดำรงตำแหน่งพระอัครมเหสี ในพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว พระราชกรณยี กจิ ทรงสนพระทัยในกำรพัฒนำสตรี ทรงบริจำคพระรำชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดต้ังโรงเรียนสำหรับ เด็กหญิงแห่งท่ีทรงพระรำชทำนชื่อว่ำ “โรงเรียนสตรีบำรุงวิชำ” ในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ทรงเปิดโรงเรียน สำหรบั กลุ ธิดำของขำ้ รำชสำนกั และบคุ คลชั้นสูงคือ “โรงเรยี นสุนันทำลัย” ให้กำรอบรมดำ้ นกำรบ้ำนกำรเรือนกิริยำมำรยำท และวชิ ำกำร ท้งั ทรงจำ่ ยเงนิ เดอื นครูและค่ำใชส้ อย ตำ่ ง ๆ สำหรับเปน็ ค่ำเล่ำเรียน แก่กุลบุตรกลุ ธิดำของข้ำรำชกำรใหญ่น้อยและรำษฎรอีกจำนวนมำก ทรงบรจิ ำคพระรำชทรพั ยส์ ่วนพระองค์ให้ตั้งโรงเรียน ทรงมีควำมห่วงใยควำมเจ็บไข้ได้ป่วยของรำษฎร และทหำร โดยทรงสนับสนุนกำรก่อตั้งโรงพยำบำล ศิริรำชเป็นโรงพยำบำลแห่งแรกของประเทศไทย และพระรำชทำนทรัพย์ส่วนพระองค์ต้ังโรงเรียน แพทย์ผดุงครรภข์ ึ้นในโรงพยำบำลแหง่ นสี้ ำหรบั เปน็ สถำนศกึ ษำวิชำพยำบำลและผดุงครรภ์ ๐๕

พระวภิ าคภูวดล กำรทำแผนที่แบบตะวันตกในประเทศไทย เร่ิมตั้งแต่นำยแมคคำร์ทีเข้ำรับรำชกำร ไทย ได้ใช้ หลักมูลฐำนขนำดมิติทรงวงรี เอเวอเรสต์ ในกำรสำรวจทำแผนท่ีตลอดมำ ช่ือทรงวงรี \"เอเวอเรสต์\" มำจำกชื่อของนำยพันเอกเอเวอเรสต์ นำยทหำรช่ำงชำวอังกฤษ ผู้เปน็ หัวหน้ำสถำบันกำรแผนท่ีอินเดยี ในสมยั ทีอ่ ินเดยี ยังขึ้นกบั อังกฤษกำรทำแผนท่ี ซึง่ ไดจ้ ดั ทำกอ่ นสถำปนำเปน็ กรมแผนท่ีเร่ิมแรกในตอนปลำย พ.ศ. ๒๔๒๔ เป็นกำรสำรวจสำหรับวำงแนวทำงสำยโทรเลขระหวำ่ ง กรุงเทพฯ และมะละแหม่ง (Moulmein) ผำ่ นระแหง (ตำก) ในกำรนี้ นำยแมคคำร์ทไี ดท้ ำกำรสำรวจสำมเหลีย่ มเลก็ โยงยดึ กบั สำยสำม เหลี่ยมของอนิ เดียทย่ี อดเขำซง่ึ อยทู่ ำงตะวนั ตกของระแหงไว้ ๓ แหง่ งำนแผนทีท่ ี่ใช้ สำรวจมีกำรวดั ทำงดำรำศำสตรแ์ ละกำรวำงหมุด หลักฐำนวงรอบ (traverse) ๐๖

พอ่ ขุนศรอี นิ ทราทติ ย์ พระราชประวตั ิ พ่อขนุ ศรีอินทรำทิตย์ ทรงเป็นพระมหำกษตั ริย์ รัชกำลที่ ๑ แหง่ รำชวงศ์พระรว่ งกรงุ สุโขทัย พระนำมเดมิ คือพ่อขุนบำงกลำงหำว มีมเหสีคอื นำงเสอื ง มพี ระรำชโอรส ๓ พระองค์ พระรำชธิดำ ๒ พระองค์ พ่อขุนศรีอินทรำทิตย์เมื่อคร้ังยังเป็นพ่อขุน บำงกลำงหำวได้ร่วมมือกับพ่อขุนผำเมือง เจำ้ เมอื งรำดแห่งรำชวงศศ์ รีนำวนำถุมรวมกำลงั พลกันกระทำรัฐประหำรขอมสบำด โขลญลำพง โดยพ่อขุนบำงกลำงหำวตีเมืองศรีสัชนำลัยและเมืองบำงขลงได้ และยกท้ังสองเมืองให้พ่อขุนผำ เมือง ส่วนพ่อขุนผำเมืองตีเมืองสุโขทัยได้ก็ได้มอบเมืองสุโขทัยให้พ่อขุนบำงกลำงหำว พร้อมพระขรรค์ชัยศรแี ละพระนำม \"ศรีอนิ ทรำทิตย์\" ซ่ึงได้นำมำใช้เป็นพระนำม ภำยหลังได้คลำย เป็นศรีอินทรำทิตย์ กำรเข้ำมำครองสุโขทัยของพระองค์ส่งผลให้รำชวงศ์พระร่วงเข้ำมำ มีอิทธิพลในเขตนครสุโขทัยเพิ่มมำกข้ึนและได้แผ่ขยำยดินแดนกว้ำงขวำงมำกออกไป ๐๗

พ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระราชประวตั ิ พอ่ ขุนรำมคำแหงมหำรำชเปน็ พระรำชโอรสของพอ่ ขุนศรีอนิ ทรำทิตย์ ปฐมกษตั ริยแ์ ห่งกรุงสโุ ขทัย เม่ือพ่อขุนศรีอินทรำทิตย์ทรงขจัดอิทธิพลของเขมร ออกไปจำกกรุงสุโขทัยได้ในปลำย พุทธศตวรรษที่ ๑๘ กำรปกครองของกษัตริย์สุโขทัยได้ใช้ระบบปิตุ รำชำ ธิปไตยหรือ \"พ่อปกครองลูก\" ดังข้อควำมในศิลำจำรึกพ่อขุนรำมคำแหงว่ำ “....เม่ือช่ัวพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูได้ตัวเน้ือตัวปลำ กูเอำมำแก่พ่อกู กูได้หมำกส้มหมำกหวำน อันใดกินอร่อยดี กูเอำมำแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้ำงได้ กูเอำมำแก่พ่อกู กูไปท่อบ้ำนท่อเมืองได้ช้ำงได้งวง ได้ปั่วได้นำง ได้เงือน ได้ทอง กูเอำมำเวนแก่พอ่ กู..\" พอ่ ขนุ รำมคำแหงมหำรำช ทรงรวมเปน็ พระมหำกษัตรยิ ์ที่ทรงอจั ฉริยภำพ ทง้ั ดำ้ นกำรปกครอง เศรษฐกิจ ศำสนำและศลิ ปวทิ ยำตำ่ ง ๆ ทีส่ ำคญั ยิ่งคอื พระองค์ได้ทรงประดิษฐอ์ ักษรไทยขนึ้ เม่ือประมำณ พ.ศ. ๑๘๒๖ ซ่ึงเปน็ ตน้ กำเนดิ ของอกั ษรไทยท่ใี ชอ้ ยใู่ นปัจจบุ นั ๐๘

พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ พระราชประวัติ ทรงเป็นพระโอรสพระยำเลอไทและพระรำชนัดดำ ของพ่อขนุ รำมคำแหงมหำรำช ทรงเป็นพระมหำกษตั รยิ ์ของอำณำจกั รสุโขทยั รำชวงศ์พระร่วงลำดบั ท่ี ๕ เปน็ กษัตรยิ อ์ งค์ที่ ๖ แหง่ กรงุ สุโขทยั ขึน้ ครองรำชยต์ ่อพระยำงั่วนำถม ทรงเล่ือมใสในพระพุทธศำสนำมำก นโยบำยกำรปกครองท่ีใช้ศำสนำเป็นหลักรวมควำม เป็นปึกแผ่นจึงเป็นนโยบำยหลักในรัชสมัยนี้ ด้วยทรงดำริว่ำกำรจะขยำย อำณำเขตต่อไป พระองค์จึงทรงมีพระรำชประสงค์ที่จะปกครองบ้ำนเมืองเช่นเดียวกับพระเจ้ำอโศกมหำรำช สง่ เสริมพระพุทธศำสนำและส่ังสอนชำวเมืองให้ตง้ั อยู่ในศีลธรรม คือวิธีรกั ษำเมืองให้ย่ังยนื อยู่ ได้ทรงสร้ำงเจดีย์ที่เมืองนครชุม และอออกผนวชในพระพุทธศำสนำนับว่ำทำควำมม่ันคง ให้พุทธศำสนำ หลังรัชสมัยพ่อขุนรำมคำแหงมหำรำช บ้ำนเมืองแตกแยก วงกำรสงฆ์เอง ก็แตกแยก แต่ละสำนักแต่ละเมืองก็ปฏิบัติแตกต่ำงกันออกไป เมื่อผู้นำทรงมีศรัทธำแรงกล้ำ ถึงขั้นออกบวชพสกนิกรทั้งหลำยก็คล้อยตำมหันมำเลื่อมใสตำมพระองค์ พระพุทธศำสนำใน สุโขทัยจึงเลื่องลือไปไกล พระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ได้ออกไปเผยแพร่ ธรรมในแควน้ ต่ำง ๆ ๐๙

สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ 1 พระราชประวตั ิ สมเด็จพระรำมำธิบดที ่ี ๑ หรือ พระเจำ้ อทู่ อง ทรง เปน็ พระปฐมบรมกษตั รยิ แ์ ห่งอำณำจกั รอยุธยำ เสด็จพระรำชสมภพเม่อื พ.ศ. ๑๘๙๓ ทรงสถำปนำ กรุงศรีอยธุ ยำเป็นรำชธำนขี องอำณำจกั รอยธุ ยำ สมเดจ็ พระรำมำธิบดีท่ี ๑ (พระเจำ้ อทู่ อง) ทรงสถำปนำกรงุ ศรีอยธุ ยำเป็นรำชธำนีเมื่อ วันศุกร์ ขึ้น ๖ ค่ำเดือน ๕ ปขำล จุลศักรำช ๗๑๒ ตรงกับวันที่ ๔ มีนำคม พ.ศ. ๑๘๙๓ ชีพ่อพรำหมณ์ถวำยพระนำมว่ำ สมเด็จพระรำมำธิบดี แล้วโปรดให้ขุนหลวงพะง่ัว ซึ่งเป็น พระเชษฐำของพระมเหสีเป็น สมเด็จพระบรมรำชำธิรำชเจ้ำไปครองเมืองสุพรรณบุรี ส่วน พระรำเมศวร รัชทำยำทให้ไปครองเมืองลพบุรี ตรำกฎหมำย สมเด็จพระรำมำธิบดีที่ ๑ ทรงประกำศใชก้ ฎหมำยถงึ ๑๐ ฉบบั ๑๐

พระบรมไตรโลกนาถ พระราชประวตั ิ สมเด็จพระบรมไตรโลกนำถ หรอื สมเด็จพระรำเมศวรบรมไตรโลกนำถบพิตร มพี ระนำมเดิมว่ำสมเดจ็ พระรำเมศวร ทรงพระรำชสมภพ พ.ศ. ๑๙๗๔ ทรงขึ้นครองรำชย์ พ.ศ. ๑๙๙๑ เปน็ กษตั รยิ ร์ ชั กำลท่ี ๘ แห่งกรุงศรีอยธุ ยำ สวรรคต เมื่อ พ.ศ.๒๐๓๑ พระรำชกรณียกิจพระบรมไตรโลกนำถด้ำนกำรปกครองประกอบด้วยกำรจัดระเบียบ กำรปกครองส่วนกลำงและส่วนภูมิภำค อันเป็นแบบแผนซึ่งยึด สืบต่อกันมำจนถึงรัชสมัย พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวและกำรตรำพระรำชกำหนดศักดินำ ทำให้มีกำร แบ่งแยกสิทธิ และหน้ำท่ีของแต่ละบุคคลแตกต่ำงกันไป โดยทรงเห็นว่ำรูปแบบกำรปกครอง นับต้ังแต่รัชสมัยสมเด็จพระรำมำธิบดีที่ ๑ มีควำมหละหลวมหัวเมืองต่ำง ๆ เบียดบังภำษี อำกร และปัญหำกำรแขง็ เมอื งในบำงช่วงที่ พระมหำกษตั ริย์อ่อนแอ สมเด็จพระบรมไตรโลกนำถ ทรงตรำพระรำชกำหนดศักดนิ ำขึน้ เป็นกฎเกณฑ์ของสงั คม ทำใหม้ ีกำรแบ่งประชำกรออกเปน็ หลำยชนช้นั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนำถ ทรงปฏริ ูปกำร ปกครองโดยมีกำร แบง่ งำนฝำ่ ยทหำรและฝำ่ ยพลเรือนออกจำกกันอยำ่ งชัดเจน ให้สมหุ พระกลำโหมดูแลฝ่ำยทหำร และให้สมหุ นำยกดแู ลฝ่ำย พลเรือน รวมท้งั จตุสดมภใ์ นรำชธำนี ๑๑

สมเดจ็ พระสุริโยทยั พระรำชพงศำวดำร ฉบับพันจันทนุมำศ (เจิม) ระบุว่ำ เมื่อวันท่ี ๓ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๐๙๐ สมเด็จพระมหำจักรพรรดิเสด็จออกไปดูกำลังข้ำศึกที่ ภูเขำทอง พระสุริโยทัยพร้อมด้วยพระรำชโอรสพระรำชธิดำรวม ๔ พระองค์ ตำมเสด็จด้วย โดยพระองค์ทรงแต่งกำยอย่ำงพระมหำอปุ รำชทรงช้ำงพลำย ทรงสุริยกษัตริย์สูง ๖ ศอก ครั้นยกกองทัพออกไปบริเวณทุ่งภูเขำทอง กองทัพอยุธยำปะทะกับกองทัพพระเจ้ำแปร ซึ่งเป็นทัพหน้ำของพม่ำ ช้ำงทรง ของสมเด็จพระมหำจักรพรรดิเกิดเสียทีหันหลังหนีจำกข้ำศึกพระเจ้ำแปร ก็ทรงขบั ชำ้ งไล่ตำมมำอยำ่ งกระชนั้ ชิด พระสุริโยทัยทอดพระเนตรเห็นพระรำชสวำมีกำลังอยู่ในอันตรำยจึง รีบขับช้ำงเข้ำขวำงพระเจ้ำแปร ทำให้ทรงไม่สำมำรถติดตำมต่อไปได้พระ เจ้ำแปรจึงทำยุทธหัตถีกับพระสุริโยทัย เน่ืองจำกพระนำงอยู่ในลักษณะ เสียเปรียบ ช้ำงพระเจ้ำแปรได้เสยช้ำงพระสุริโยทัยจนเท้ำหน้ำทั้งสองลอย พ้นพื้นดิน แล้วพระเจ้ำแปรจึงฟันพระสุริโยทัยด้วยพระแสงของ้ำวต้อง พระอังสำขำดถึงรำวพระถัน ส่วนพระรำชพงศำวดำรกรุงเก่ำฉบับหลวง ประเสรฐิ อักษรนิต์ิ ระบวุ ำ่ มีพระรำชธิดำ สนิ้ พระชนม์บนคอชำ้ งดว้ ย ๑๒

พระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ. ๒๑๓๕ พระเจ้ำนันทบุเรง โปรดให้พระมหำอุปรำชำนำกองทัพทหำรมำตี กรงุ ศรอี ยุธยำหมำยจะชนะศึกในครั้งนี้สมเด็จพระนเรศวรทรงทรำบว่ำพม่ำจะยกทัพใหญ่ มำตีจึงทรงเตรียมไพร่พล มีกำลังหน่ึงแสนคนเดินทำงออกจำกบ้ำนป่ำโมกไปสุพรรณบุรี ข้ำมน้ำตรงท่ำท้ำวอู่ทองและตั้งค่ำยหลวงบริเวณหนองสำหร่ำย เช้ำของวันจันทร์ แรม ๒ ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๑๓๕ สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกำทศรถ ทรงเคร่ืองพิชัยยุทธ สมเด็จพระนเรศวรทรงช้ำงนำมว่ำ เจ้ำพระยำไชยำนุภำพ ส่วนสมเด็จพระเอกำทศรถทรงช้ำงนำมว่ำ เจำ้ พระยำปรำบไตรจักร ช้ำงทรงของทั้งสอง พระองค์น้ันเป็นช้ำงชนะงำ คือช้ำงมีงำที่ได้รับกำรฝึกให้รู้จักกำรต่อสู้มำแล้วหรือเคย ผำ่ นสงครำมชนชำ้ งชนะช้ำงตัวอ่ืนมำแล้วซึ่งเปน็ ช้ำงทก่ี ำลังตกมนั ระหว่ำงกำรรบจึงว่ิงไล่ตำมพม่ำหลงเข้ำไปในแดน พม่ำมีเพียงทหำรรักษำพระองค์และจำตุรงค์บำทเท่ำนั้นท่ีติดตำมไปทัน สมเด็จพระนเรศวทอดพระเนตรเห็นพระมหำอุปรำชำทรงพระคชสำรอยู่ใน รม่ ไม้กบั เหลำ่ เท้ำพระยำจึงทรำบไดว้ ำ่ ชำ้ งทรงของสองพระองค์หลงถลำเข้ำ มำถึงกลำงกองทัพและตกอยู่ในวงล้อมข้ำศึกแล้ว แต่ด้วยพระปฏิภำณไหว พริบของสมเด็จพระนเรศวร ทรงเห็นว่ำเป็นกำรเสียเปรียบข้ำศึกจึงไสช้ำง เข้ำไปใกล้ แล้วตรัสถำมด้วยคุ้นเคยมำก่อนแต่วัยเยำว์ว่ำ พระเจ้ำพ่ีเรำจะยืน อยู่ใยในร่มไม้เล่ำ เชิญออกมำทำยุทธหัตถีด้วยกันให้เป็นเกียรติยศไว้ใน แผ่นดินเถิด ภำยหน้ำไปไม่มีพระเจ้ำแผ่นดินที่จะได้ยุทธหัตถีแล้ว ๑๓

พระนารายณ์มหาราช เ ป็ น พ ร ะ ม ห ำ ก ษั ต ริ ย์ ผู้ เ ป็ น ที่ เ ลื่ อ ง ลื อ พระเกียรติยศในพระรำโชบำยทำงคบค้ำสมำคมกับ ชำวต่ำงประเทศ รักษำเอกรำชของชำติให้พ้นจำก ก ำ ร เ บี ย ด เ บี ย น ข อ ง ช ำ ว ต่ ำ ง ช ำ ติ แ ล ะ รั บ ผลประโยชน์ทั้งทำงวิทยำกำรและเศรษฐกิจท่ีชน ต่ำงชำตินำเข้ำมำ นอกจำกน้ียังได้ทรงอุปถัมภ์ บำ รุ ง ก วี แ ล ะ ง ำ น ด้ ำ น ว ร ร ณ ค ดี อั น เ ป็ น ศิ ล ป ะ ที่ รุ่งเรืองท่ีสุดในยุคน้ัน เม่ือสมเด็จพระนำรำยณ์เสด็จเถลิงถวัยรำชสมบัติ ณ รำชอำณำจักรศรีอยุธยำแล้ว ปัญหำกิจกำรบ้ำนเมืองในรัชสมัยของ พระองค์เป็นไปในทำงเก่ียวข้องกับชำวต่ำงประเทศเป็นส่วนใหญ่ด้วยใน ขณะน้ันมีชำวต่ำงประเทศเข้ำมำค้ำขำยและอยู่ในรำชอำณำจักรไทยมำ กวำ่ ท่เี คยเป็นมำในกำลกอ่ นท่สี ำคัญมำก คือ ชำวยุโรปซึง่ เป็นชำตใิ หญม่ ี กำลังทรัพย์กำลังอำวุธและผู้คนตลอดจนมีควำมที่สำคัญมำก คือ ชำวยุโรปซ่ึงเป็นชำติใหญ่ มีกำลังทรัพย์ กำลังอำวุธและผู้คนตลอดจนมีควำมเจริญรุ่งเรืองทำงวิทยำกำรต่ำง ๆ เหนือกว่ำชำวเอเชียมำก และชำวยุโรปเหล่ำนี้กำลังอยู่ในสมัยขยำยกำรค้ำ ศำสนำคริสต์และ อำนำจทำงกำรเมืองของพวกตนมำสู่ดินแดนตะวันออก ยกตัวอย่ำง เช่นในปี พ.ศ. ๒๒๓๐ (ค.ศ. ๑๖๘๗) ออกญำพระเสด็จสุเรนทรำธิบดีพระยำพระคลังและออกพระศรีพิพัทธ์ รตั นรำชโกษำได้ลงนำมในสนธสิ ัญญำทำงกำรคำ้ กับประเทศฝรัง่ เศส ๑๔

พระบาทสมเดก็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ใ น รั ช ส มั ย ข อ ง พ ร ะ บ ำ ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ เ ลิ ศ ห ล้ ำ นภำลัยได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นยุคทองของวรรณคดีด้ำน กำพย์ กลอนเจริญสูงสุด ในรัชกำลที่ ๒ นั้นกวีที่มีช่ือเสียง นอกจำกพระองค์เองแล้วยังมีกรมหมื่นเจษฎำบดินทร์ (รัชกำลที่ ๓) สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุ ชิตชิโนรส สุนทรภู่ พระยำตรัง และนำยนรินทรธิเบศร์ (อิน) พระองค์มีพระรำชนิพนธ์ท่ีเป็นบทกลอนมำกมำย ทรงเป็นยอดกวีด้ำนกำรแต่งบทละครทั้งละครในและละคร นอก มี หลำยเรื่องท่ีมอี ย่เู ดิมและทรงนำมำ แต่งใหม่เพื่อให้ใช้ในกำรแสดงได้ เช่น รำมเกียรต์ิ อุณรุท และอิเหนำ โดยเร่ืองอิเหนำน้ีเร่ือง เดิมมคี วำมยำวมำกไดท้ รงพระรำชนิพนธ์ใหมต่ ้งั แต่ต้นจนจบ เป็นเร่อื งยำวที่สุดของพระองค์ วรรณคดสี โมสรในรัชกำลที่ ๖ ไ ด้ ย ก ย่ อ ง ใ ห้ เ ป็ น ย อ ด บ ท ล ะ ค ร รำ ท่ี แ ต่ ง ดี ย อ ด เ ยี่ ย ม ทัง้ เนอ้ื ควำม ทำนองกลอน และกระบวนกำรเล่นทงั้ รอ้ งและรำ นอกจำกนี้ยงั มลี ะครนอกอื่น ๆ เช่น ไกรทอง สังข์ทอง ไชยเชษฐ์ หลวิชัยคำวี มณีพิชัย สังข์ศิลป์ชัย ได้ทรงเลือกเอำของเก่ำมำทรงพระรำชนิพนธ์ขึ้นใหม่ บำงตอน และยังทรงพระรำชนิพนธ์บทพำกย์โขนอีกหลำยชุด เช่น ชุดนำงลอย ชุดนำคบำศ และชุดพรหมำสตร ๑๕

สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช โปรดเกลำ้ ให้ชำระกฎหมำยทห่ี ำยไปหลังกรุงแตกฉบับใด ยงั เหมำะแกก่ ำลสมยั ก็โปรดฯ ใหค้ งไว้ ฉบับใดไมเ่ หมำะ กโ็ ปรดใหแ้ กไ้ ขเพิ่มเตมิ ยกเลกิ ไปก็มี ตรำขึ้นใหม่กม็ ี เช่น โปรดฯใหแ้ ก้ไขกฎหมำยว่ำดว้ ยกำรพนันให้อำนำจ กำรตัดสนิ ลงโทษขึ้นแกศ่ ำลแทนนำยตรำสิทธข์ิ ำด และยังห้ำมนำยตรำนำยบ่อนออกเงินทดลองให้ผ้เู ล่น เกำะกมุ ผูกมดั จำจองเรง่ รัดผเู้ ล่น กฎหมำยพกิ ดั ภำษี อำกรก็เกือบไม่มี และเปิดโอกำสให้รำษฎรได้เฝำ้ แหน ตำมรำยทำง โดยไมม่ ีพนกั งำนตำรวจแม่นปนื คอยยงิ รำษฎร ซงึ่ แม้แต่ชำวต่ำงประเทศ กย็ งั ชืน่ ชมในพระรำชอธั ยำศยั นี้ ๑๖

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า จฬุ าโลกมหาราช พระราชกรณียกจิ ประกำรแรกคือกำรโปรดเกล้ำโปรดกระหม่อม ให้ต้งั กรงุ รตั นโกสินทร์เป็นรำชธำนีใหม่ กรงุ ธนบุรี ด้วยเหตผุ ลว่ำกรงุ ธนบุรตี งั้ อยู่บน สองฝงั่ แม่น้ำ ทำให้กำรลำเลยี งอำวุธ ยุทธภณั ฑ์ และกำรรกั ษำพระนคร เป็นไปไดย้ ำก อกี ทง้ั พระรำชวังเดมิ ไมส่ ำมำรถ ขยำยได้ เน่อื งจำกตดิ วัดอรณุ รำชวรำรำม รำชวรมหำวหิ ำรและวดั โมลีโลกยำ รำมรำชวรวิหำร สว่ นทำงฝงั่ กรุง รตั นโกสนิ ทร์น้ันมคี วำมเหมำะสม กว่ำตรงทม่ี ี ชยั ภูมิเหมำะสมและสำมำรถรับศึกได้เปน็ อย่ำงดี กำร สรำ้ งรำชธำนใี หม่นน้ั ใช้เวลำ ทง้ั สน้ิ ๓ ปี โดยทรงประกอบพธิ ยี กเสำรห์ ลกั เมอื งเม่อื วนั อำทิตย์ ขึน้ ๑๐ คำ่ เดอื น ๖ ปีขำล จ.ศ. ๑๑๔๔ ตรงกับ วนั ท่ี ๒๑ เมษำยน พ.ศ. ๒๓๒๕ และโปรดเกล้ำโปรดกระหมอ่ มให้ สรำ้ งพระบรมมหำรำชวัง และสร้ำงพระอำรำมหลวงใน เขตพระบรมมหำรำชวงั ตำมแบบกรุงศรีอยุธยำ นอกจำกนีย้ ังโปรดเกลำ้ ใหส้ รำ้ งปอ้ มปรำกำรอีกดว้ ย ๑๗

พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมื่อครง้ั ทท่ี รงกำกับรำชกำรกรมท่ำ (ในสมยั รัชกำลที่ ๒) ได้ทรงแต่งสำเภำ บรรทุกสินค้ำออกไปค้ำขำยในต่ำงประเทศ มรี ำยได้ในทอ้ งพระคลงั เปน็ อันมำก พระรำชบิดำทรงเรียกพระองค์ว่ำ \"เจ้ำสัว\" เม่ือรัชกำลที่ ๒ เสด็จสวรรคต มิได้ตรัสมอบรำชสมบัติแก่ผู้ใด ขุนนำง และพระรำชวงศ์ต่ำงมีควำมเห็นว่ำ พระองค์ (ขณะทรง ดำรงพระรำชอิสริยยศเป็นกรมหมื่นเจษฏำบดินทร์) ข ณ ะ นั้ น มี พ ร ะ ช น ม ำ ยุ ๓ ๗ พ ร ร ษ ำ ท ร ง ร อ บ รู้ กิ จ ก ำ ร บ้ ำ น เ มื อ ง ดี ทรงปรำดเปรื่องในทำงกฎหมำย กำรค้ำและ กำรปกครอง จึงพร้อมใจกัน อญั เชิญครองรำชย์เป็น รัชกำลท่ี ๓ ๑๘

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั เม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๑ พระองค์ทรงคำนวณว่ำ จะสำมำรถเห็นสุริยุปรำคำเต็มดวงได้ในประเทศ สยำม ณ หมู่บ้ำนหว้ำกอ ตำบลคลองวำฬ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พระองค์จึงโปรดให้ตั้ง พลับพลำเพ่ือเสด็จ พระรำชดำเนินทอดพระเนตร สุริยุปรำคำ ที่ตำบลหว้ำกอ ซ่ึงเมื่อถึงเวลำ ที่พระองค์ ทรงคำนวณก็เกิดสุริยุปรำคำเต็ม ดวงดังท่ีทรงได้คำนวณไว้ พระองค์เสด็จประทับ อยู่ ที่ ห ว้ ำ ก อ เ ป็ น ร ะ ย ะ เ ว ล ำ ป ร ะ ม ำ ณ ๙ วั น จึงเสด็จกลับกรุงเทพมหำนคร พระบำทสมเดจ็ พระจอมเกลำ้ เจำ้ อยู่หวั ประทับ ณ เกยหน้ำพลับพลำทป่ี ระทับ โปรดให้ฉำยพระรูปกับคณะแขกเมอื ง ณ คำ่ ยหลวงบ้ำนหวำ้ กอ ๑๙

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ๒๐

พระราชกรณยี กิจ พระรำชกรณยี กจิ ทสี่ ำคัญของรัชกำลท่ี ๕ ได้แก่ ทรงพระกรณุ ำโปรดเกลำ้ ฯ ใหม้ กี ำร เลิกทำสและไพรใ่ นประเทศไทย กำรปอ้ งกนั กำรเป็นอำณำนิคมของจกั รวรรดิฝรง่ั เศสและ จกั รวรรดอิ งั กฤษได้มีกำรประกำศออกมำให้มีกำรนบั ถอื ศำสนำโดยอสิ ระในประเทศ โดยบคุ คลศำสนำคริสตแ์ ละศำสนำอิสลำม สำมำรถปฏิบตั ิศำสนกจิ ไดอ้ ย่ำงอสิ ระ นอกจำกน้ไี ด้มีกำรนำระบบจำกทำงยุโรปมำใชใ้ นประเทศไทย ไดแ้ กร่ ะบบกำรใช้ธนบตั รและเหรียญบำท ใชร้ ะบบเขตกำรปกครองใหมเ่ ช่น มณฑลเทศำภบิ ำล จงั หวดั และอำเภอ และไดม้ ีกำรสรำ้ งรถไฟสำยแรก คอื กรุงเทพฯ ถงึ อยุธยำ ลงวนั ที่ ๑ มนี ำคม ร.ศ. ๑๐๙ ซ่งึ ตรงกับพทุ ธศกั รำช ๒๔๓๓ นอกจำกนไี้ ด้มีงำน พระรำชนิพนธ์ท่ีสำคญั กำรก่อต้ังกำรประปำ กำรไฟฟ้ำ ไปรษณีย์โทรเลข โทรศัพท์ กำรส่ือสำร กำรรถไฟ ส่วนกำรคมนำคม ให้มีกำร ขุดคลองหลำยแห่ง เชน่ คลองประเวศบรุ รี มย์ คลองสำโรง ๒๑

บรรณานุกรม กิตตพิ จน์ กิจสิรสิ ิน. (ไมร่ ะบ)ุ . ประวตั ิของพระบำทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้ำนภำลยั . ค้นเมอื่ กมุ ภำพนั ธ,์ 24, 2564. จำก https://sites.google.com/site/kittipotkijsirisin/phra-rach-prawati-khxng-phrabath-smdec- phraphuthth-leis-hla-nphalay กระทรวงวฒั นธรรม. (2560). ประวัตแิ ละพรำชกรณยี กิจของพระบำทสมเดจ็ พระวชริ เกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั . คน้ เมอื่ กุมภำพันธ์, 22, 2564. จำก https://www.m-culture.go.th/th/article_view.php?nid=11079 คิงกอลฟ์ ประเทศไทย. (2559). ประวัติและพระรำชกรณียกิจของพระบำทสมเดจ็ พระจอมเกลำ้ เจ้ำอยู่หวั . ค้นเม่ือ กมุ ภำพันธ,์ 24, 2564. จำก https://sites.google.com/site/kingofth/phra-rach-prawati-phra-mha-ksatriy-mharach-thiy/rachkal- thi-4-phrabath-smdec-phracxmkela-cea-xyu-haw จุฬำลงกรณร์ ำชบรรณำลัย. (ไมร่ ะบ)ุ . ประวตั ิและพระรำชกรณียกิจของกรมพระรำชวังบวรวไิ ชยชำญ. คน้ เมอื่ กุมภำพนั ธ,์ 22, 2564. จำก http://rama5.flexiplan.co.th/th/timeline/detail/4698 จุฬำลงกรณ์รำชบรรณำลัย. (ไมร่ ะบ)ุ . ประวัติและพระรำชกรณียกิจของพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำ เจำ้ อยูห่ วั . คน้ เม่ือ กุมภำพนั ธ,์ 24, 2564. จำก http://kingchulalongkorn.car.chula.ac.th/th/history/rama5_bio เจ้ำของรำ้ น. (2558). ประวตั แิ ละพระรำชกรณียกิจของพระมหำธรรมรำชำท่ี 1. คน้ เมือ่ กมุ ภำพนั ธ์, 23, 2564. จำก https://www.prapucha36.com/article ทรูปลูกปญั ญำ. (2562). ประวัติและพระรำชกรณียกจิ ชองสมเดจ็ พระรำมำธิบด่ี 1. คน้ เมอ่ื กุมภำพันธ,์ 23, 2564. จำก https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/19522-029761 ทรไู อดี. (2563). ประวตั แิ ละพระรำชกรณยี กิจของพระวภิ ำคภูวดล. คน้ เม่อื กมุ ภำพนั ธ,์ 23, 2564. จำก https://news.trueid.net/detail/K3bdEq6yBDaZ ๒๒

นำมำนกุ รมวรรณคดไี ทย. (ไมร่ ะบุ). ประวตั แิ ละผลงำนของพระบำทสมเด็จพระน่ังเกลำเี จำ้ อยู่หวั . คน้ เมอ่ื กุมภำพันธ์, 24, 2564. จำก https://www.sac.or.th/databases/thailitdir/cre_det.php?cr_id=6 ไมป่ รำกฎชอื่ ผเู้ ขยี น. (ไม่ระบุ). ประวัติพระบำทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้ำ จฬุ ำโลกมหำรำช. คน้ เมอ่ื กมุ ภำพันธ์, 24, 2564. จำก https://www.m-culture.go.th/ratchaburi/ewt_dl_link.php?nid=508 ลำนหิน2224. (ไม่ระบุ). ประวัตแิ ละพระรำชดรณยี กิจของสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำช. ค้นเมื่อ กมุ ภำพันธ์, 23, 2564. จำก https://sites.google.com/site/lanhin2224/prawati-smdec-phra-nreswr-mharach-phraxngkh-da วัดคงุ้ ตะเภำ. (ไม่ระบุ). ประวัตสิ มเด็จพระเจ้ำตำกสนิ มหำรำช. คน้ เม่อื กมุ ภำพนั ธ์, 24, 2564. จำก https://sites.google.com/site/watkungtaphao/history/taksin วทิ ยำลยั กำรอำชีพบำเหน็จณรงค์. (2563). ประวัติและพระรำชกรณียกจิ ของพ่อขุนรำมคำแหงมหำรำช. ค้นเม่ือ กมุ ภำพนั ธ์, 23, 2564. จำก http://bamnet.ac.th/bm/archives/4223 ศรีภญิ โญ โพนสุวรรณ. (ไม่ระบุ). ประวัติและพระรำชกรณยี กจิ ของพอ่ ขุนศรีอินทรำทติ ย์. คน้ เมอื่ กมุ ภำพันธ์, 23, 2564. จำก https://sites.google.com/site/seepinyophonsuwan/neuxha-prawatisastr/013_phra-mha-ksatriy-sukhothay- thi-sakhay-kab-phra-rach-krniykic ศิลปวัฒนธรรม. (2562). ประวัติและพระรำชกรณยี กิจของสมเดจ็ พระสรุ ิสรุ ิโยทัย. คน้ เมอ่ื กมุ ภำพนั ธ์, 23, 2564. จำก https://www.silpa-mag.com/history/article_37635 สำนกั วทิ ยบรกิ ำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ มหำวทิ ยำลัยรำชภฏั เทพสตรี. (ไม่ระบุ). ประวัติและพระรำชกรณยี กิจ ของสมเดจ็ พระนำรำยณม์ หำรำช. ค้นเมือ่ กมุ ภำพันธ์, 23, 2564. จำก http://library.tru.ac.th/inlop/lppep/337- lppe0104.html สถำบนั เทคโนโลยจี ิตรลดำ. (2563). ประวตั ิและพรำชกรณียกจิ ของสมเดจ็ พระนำงเจำ้ สิริกติ ์ิ พระบรมรำชนิ ีนำถ พระบรมรำชชนนพี ันปหี ลวง. คน้ เมือ่ กมุ ภำพันธ์, 22, 2564. จำก https://www.cdti.ac.th/en สภำกำชำดไทย. (ไม่ระบุ). ประวตั แิ ละพระรำชกรณียกจิ ของสมเดจ็ พระศรพี ชั รินทรำบรมรำชนิ นี ำถ พระบรม รำชชนนพี ันปหี ลวง. ค้นเมอ่ื กมุ ภำพันธ์, 22, 2564. จำก https://www.redcross.or.th/uncategorized/8846/ อำจำรย์บญุ เกียรติ กำระเวกพันธ์ุ และคณะ. (ไมร่ ะบุ). ประวตั แิ ละพระรำชกรณียกิจของ พระบรมไตรโลกนำถ. ค้นเมื่อ กมุ ภำพันธ์, 23, 2564. จำก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title ๒๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook