Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานความฉลาดทางดิจิทัล (DQ)

รายงานความฉลาดทางดิจิทัล (DQ)

Published by Wasu Saelim, 2021-08-24 04:54:18

Description: รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร

Search

Read the Text Version

รายงานวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การสื่อสาร PC62506 จัดทำโดย นาย วสุ แซ่ลิม้ รหสั นักศกึ ษา 634102005 เสนอโดย คุณครู สธุ ดิ า ปรีชานนท์ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 สาขาวิชา ภาษาองั กฤษ คณะ ครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบึง จงั หวัดราชบุรี

ก คำนำ รายงานเลม่ นจี้ ดั ทำเพอื่ ใหข้ ้อมูลเกย่ี วกบั ความฉลาดทางดิจิทลั หรอื DQ ซง่ึ ใช้ในการศึกษาประกอบควบคู่ กบั การเรียนในวชิ านวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสือ่ สาร โดยในรายงานเล่มนี้ จัดทำโดยนายวสุ แซล่ ้มิ ท่ีได้ทำการรวบรวมข้อมลู ทเี่ กี่ยวข้องจากเว็บไซต์บางสว่ น ซง่ึ ขา้ พเจา้ คาดหวงั วา่ รายงานเลม่ นจี้ ะช่วยใหผ้ ู้ที่ ศึกษาเกี่ยวกับความฉลาดทางดจิ ิทลั ไดร้ บั ข้อมูลท่เี กี่ยวข้องกับเนื้อหา หากมเี น้ือหาส่วนใดท่ผี ดิ พลาด ขา้ พเจ้าขอ กราบอภยั ในความผดิ พลาดมา ณ ท่นี ีด้ ว้ ย

สารบญั ข คำนำ สารบัญ ก ความหมายของ ความฉลาดทางดิจทิ ัล ข ทกั ษะในการรักษาอตั ลักษณ์ท่ีดขี องตนเอง 1 ทักษะการคิดวิเคราะห์มวี ิจารณญาณท่ีดี 3 ทักษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ 4 ทักษะในการรกั ษาข้อมลู สว่ นตัว 5 ทักษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ 6 ทกั ษะในการบริหารจัดการข้อมูลทผี่ ใู้ ช้งานมกี ารทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ 7 ทกั ษะในการรบั มอื กับการกล่ันแกล้งบนโลกไซเบอร์ 8 ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมีจรยิ ธรรม 9 บรรณณานุกรม 10 11

1 ความหมายของ ความฉลาดทางดจิ ิทัล (DQ) กลุ่มของความสามารถทางสังคม อารมณ์ และการรับรู้ ที่จะทำให้คนคนหนึ่งสามารถเผชิญกับความท้า ทายบนเส้นทางของชีวิตในยุคดิจิทัล และสามารถปรับตัวให้เข้ากับชีวิตดิจิทัลได้ ความฉลาดทางดิจิทัลครอบคลุม ทั้งความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยมที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอีกนัยหนึ่งคอื ทกั ษะการใชส้ อื่ และการเข้าสงั คมในโลกออนไลน์ ความฉลาดทางดจิ ิทัล เกยี่ วโยงกับการพฒั นา 3 เรอ่ื งที่สำคญั ทจี่ ำเป็นดงั นี้ ความเป็นพลเมืองดจิ ิทัล (Digital Citizenship) มนษุ ยอ์ ยรู่ วมกันเป็นสังคม เป็นพลเมอื งของประเทศ การ เป็นพลเมืองดิจิทัลจึงหมายถึงการพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ของสังคมดิจิทลั รับรู้ถึงสิ่งท่ี ควร หรือไม่ควรปฏิบัติ อันตรายที่อาจแอบแฝงอยู่ในโลกไซเบอร์ เช่น การเข้าใจตัวตนที่อยู่ในโลกไซเบอร์ ความ เป็นสว่ นตัว การขโมยข้อมูลสว่ นตัว มิจฉาชพี ในโลกไซเบอร์ และการปลอมแปลงแอบแฝงการกระทำการในโลกไซ เบอรส์ เปซ ท่ีสร้างปัญหาให้สงั คม เปน็ ตน้ ความคิดสร้างสรรค์ทางดิจิทัล (Digital Creativity) มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ลั อย่างสรา้ งสรรค์ เชน่ การส่อื สาร การสร้างส่ือ เนอ้ื หา พ้นื ฐานการคิด การโค้ด ซึง่ เปน็ ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีและเคร่อื งมือดิจทิ ัลต่าง ๆ ใหเ้ ป็นประโยชน์ ได้ การเป็นผู้ใช้ดิจิทัลอย่างชาญฉลาด (Smart Digital User) มีความรู้ ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อนำมาสร้างสรรค์ที่เป็นประโยชน์ สร้างงาน สร้างอาชีพใหม่ ๆ ซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงการทำงาน แบบเดมิ ๆ สามารถดำเนนิ กิจกรรมท่ีใช้ดิจิทลั และ การให้บรกิ ารทางดิจทิ ัลใดด้ ยี ิง่ ขึ้

2 ในอดตี ทุกประเทศให้ความสำคญั ในการพัฒนาทักษะและการศึกษาของประชากรด้วยเรือ่ ง 3R คอื การ อ่าน (Read) การเขยี น (Write) และทักษะการคิดวเิ คราะห์ คณิตศาสตร์ (Arithematics) แตใ่ นปัจจุบนั ทวั่ โลก เพ่ิมให้ความสำคญั กบั ทักษะและความรดู้ ้านดิจิทลั ท่ตี อ้ งมคี วบคไู่ ปกับทกั ษะการอา่ น การเขียน และทักษะทาง คณิตศาสตร์ ซึ่งทกั ษะดิจทิ ัลเปน็ เสาหลักตน้ ที่ส่สี ำหรับนกั เรียน ท่เี นน้ ใหท้ กุ คนมีความรู้ ความเข้าใจ ดิจิทัล และใช้ ชีวิตบนโลกอนาคตอยา่ งมีความสุข การใช้ดิจิทัลจึงไม่ใช่แค่เรอื่ งเฉพาะกับคนทำงานองค์กรทีอ่ ยู่ในสาขาดิจิทัล เทา่ นนั้ แตเ่ กีย่ วข้องกับทุกคน ดงั น้นั ต้องพฒั นาใหท้ ุกคน เด็ก นักเรียน ครู ประชาชน มีความฉลาดทางดิจิทลั (DQ) หากประชากรมคี วามฉลาดทางดจิ ทิ ลั จะช่วยให้ประเทศชาตพิ ัฒนาได้อีกมาก

3 ทกั ษะในการรกั ษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสร้างและบริหารจัดการอัตลักษณ์ที่ดีของตนเองไว้ได้อย่างดีทั้งในโลกออนไลน์และโลกความจริง ผู้ใช้สื่อดิจิทัลสร้างภาพลักษณ์ในโลกออนไลน์ของตนเองในแง่บวกทั้งความคิด ความรู้สึกและการกระทำ โดยมี วิจารณญาณในการรับส่งข่าวสารและแสดงความคิดเห็น มีความเห็นอกเห็นใจผู้ร่วมใช้งานในสังคมออนไลน์ เช่น การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ การกล่ันแกลง้ หรือการใชว้ าจาทสี่ ร้างความเกลียดชังผู้อน่ื ทางส่อื ออนไลน์

ทักษะการคดิ วเิ คราะห์มวี ิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking) สามารถคิดวิเคราะห์แยกแยะระหว่างข้อมูลที่ถูกต้องและข้อมูลที่ผิด ข้อมูลที่มีเนื้อหาเป็นประโยชน์และ ข้อมูลที่เข้าข่ายอันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ที่น่าตั้งข้อสงสัยและน่าเชื่อถือได้ เมื่อใช้อินเทอร์เน็ตจะรู้ว่า เนือ้ หาอะไรเป็นสาระมีประโยชน์และหาคำตอบให้ชดั เจนก่อนท่ีจะเชื่อและก่อนทจี่ ะนำไปเผยแพร่ การรู้เท่าทันส่ือ และสารสนเทศจะทำให้เรานั้นสามารถวิเคราะห์และประเมนิ ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลายได้ เข้าใจรูปแบบ การหลอกลวงต่างๆในโลกไซเบอร์ เช่น ข่าวปลอม เวบ็ ปลอม ภาพตัดต่อ เปน็ ตน้

5 ทักษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถป้องกันข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยและป้องกันการโจรกรรมข้อมูล มีทักษะในการ รักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์การรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์คือการปกป้อง อปุ กรณ์ดิจทิ ลั ข้อมูลทจี่ ดั เกบ็ และขอ้ มลู ส่วนตัวไม่ให้เสียหายสูญหาย หรอื ถูกโจรกรรมจากผู้ไม่หวังดีในโลกไซเบอร์

6 ทกั ษะในการรักษาข้อมูลส่วนตวั (Privacy Management) มีความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูลส่วนตัวรู้จักปกป้องข้อมูลความเป็นส่วนตัวในโลกออนไลน์ โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์เพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัวทั้งของตนเองและผู้อื่น รู้เท่าทันภัยคุกคามทาง อินเทอร์เน็ตเช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์และกลลวงทางไซเบอร์ มีความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูลส ่วนตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์เพ่ือปอ้ งกันความเป็นสว่ นตวั ทั้งของตนเองและผู้อื่นเปน็ สิ่งสำคัญทีต่ ้องประกอบ อยู่ในพลเมืองดิจิทลั ทุกคน และจะต้องมีความตระหนักในความเทา่ เทยี มกันทางดจิ ิทลั เคารพในสทิ ธิของคน ทุกคน รวมถึงต้องมีวิจารณญาณในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลตนเองในสังคมดิจิทัล รู้ว่าข้อมูลใดควรเผยแพร่ ข้อมลู ใดไมค่ วรเผยแพรแ่ ละตอ้ งจดั การความเสย่ี งของข้อมลู ของตนในสอ่ื สงั คมดิจทิ ัลได้ด้วย

7 ทักษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) สามารถบริหารเวลาท่ีใชอ้ ุปกรณย์ คุ ดิจิทัลรวมไปถึงการควบคุมเพือ่ ใหเ้ กิดสมดุลระหวา่ งโลกออนไลนแ์ ละ โลกภายนอกตระหนักถึงอันตรายจากการใช้เวลาหน้าจอนานเกินไป และผลเสียของการเสพติดสื่อดิจิทัล นับเป็น อีกหนง่ึ ความสามารถท่บี ง่ บอกถงึ ความเป็นพลเมืองดิจิทลั ได้เป็นอย่างดีเพราะเปน็ ทร่ี ู้กันอยูแ่ ล้วว่าการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศที่ขาดความเหมาะสมย่อมส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวม ทั้งความเครียดต่อสุขภาพจิตและเป็นสาเหตุ ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยทางกายซึ่งนำไปสู่การสูญเสียทรัพย์สินเพื่อใช้รักษาและเสียสุขภาพในระยะยาวโดย รู้เท่าไมถ่ ึงการณ์

8 ทักษะในการบริหารจัดการขอ้ มูลทผ่ี ู้ใช้งานมีการทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลว่าจะหลงเหลือร่อยรอยข้อมูลทิ้งไว้เสมอรวมไปถึง เข้าใจผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อการดูแลสิ่งเหล่านี้อย่างมีความรับผิดชอบ รอยเท้าดิจิทัล คือคำที่ใช้เรียกร่องรอย การกระทำต่าง ๆ ที่ผู้ใช้งานทิ้งรอยเอาไว้ในโลกออนไลนโ์ ซเชียลมีเดีย เว็บไซต์หรอื โปรแกรมสนทนา เช่นเดียวกับ รอยเท้าของคนเดินทาง ข้อมูลดิจิทัล เช่น การลงทะเบียน อีเมล การโพสต์ข้อความหรอื รูปภาพ เมื่อถูกส่งเข้าโลก ไซเบอรแ์ ลว้ จะท้ิงร่อยรอยข้อมูลสว่ นตวั ของผู้ใช้งานไว้ให้ผู้อื่นติดตามได้เสมอ แมผ้ ้ใู ช้งานจะลบไปแล้ว ดังนั้น หาก เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายหรือศีลธรรมก็อาจมีผลกระทบต่อชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของผู้กระทำ กล่าวง่ายๆ รอยเท้าดิจิทัลคือ ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกอินเทอร์เน็ตที่บอกเรื่องของเรา ความเป็นพลเมืองดิจิทัลจึงต้องมีทักษะ ความสามารถที่จะเข้าใจธรรมชาตขิ องการใช้ชีวิตในโลกดิจิทัล ว่าจะหลงเหลือร่องรอยข้อมูลทิ้งไว้เสมอ รวมไปถึง ต้องเขา้ ใจผลลัพธ์ท่ีอาจเกดิ ขนึ้ เพื่อการดูแลสิ่งเหลา่ นอ้ี ยา่ งมีความรบั ผิดชอบ

9 ทักษะในการรับมือกบั การกลัน่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์คอื การกลน่ั แกลง้ รังแก หรือคุกคามโดยเจตนาผ่านสื่อดิจทิ ลั หรอื สือ่ ออนไลน์ เช่น ผทู้ ่กี ล่นั แกล้งจะสง่ ขอ้ ความหรือรปู ภาพผ่าน SMS กล่องข้อความ และแอปพลเิ คชนั หรือส่งผา่ นออนไลนใ์ น โซเชียลมเี ดีย กระดานสนทนา หรือเกมออนไลนท์ ี่ผู้ใช้สามารถเปดิ ดู มีส่วนร่วมหรอื แบง่ ปนั เนื้อหาได้การกลัน่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์คลา้ ยกับการกลน่ั แกล้งในรปู แบบอืน่ แต่การกลั่นแกล้งประเภทน้ีทำผา่ นส่อื ออนไลนห์ รือสื่อดิจิทลั เช่น การส่งข้อความทางโทรศัพทผ์ ู้กลั่นแกลง้ อาจจะเป็นเพื่อนร่วมชั้นคนรู้จกั ในสื่อสังคมออนไลน์หรืออาจจะเป็น คนแปลกหน้าแตส่ ว่ นใหญผ่ ู้ท่ีกระทำจะรู้จกั ผูท้ ่ีถูกกลั่นแกล้งโดยมเี จตนาแหยใ่ ห้ตอบโตก้ ลบั มาดว้ ยถ้อยคำรนุ แรง การใสค่ วาม ผูก้ ลั่นแกล้งจะเผยแพร่ข้อมลู เท็จ ทำให้ผอู้ ืน่ ได้รับความเสียหายแล้วนำข้อมูลส่วนตัวหรอื ความลับของ ผู้อืน่ ไปเผยแพรใ่ นโลกออนไลนโ์ ดยมเี จตนาเพื่อให้อับอาย การล่อลวง การใช้อบุ ายให้ผู้อื่นเปดิ เผยขอ้ มูลสว่ นตวั หรอื ความลบั ท่นี า่ อายแลว้ นำไปเผยแพร่ต่อในสงั คมออนไลนก์ ารขโมยอัตลกั ษณ์ดจิ ทิ ัล ผู้กล่นั แกล้งจะขโมยรูปภาพ ของผู้อ่ืน แลว้ นำไปสรา้ งตัวตนใหม่ เพื่อหวังผลในการหลอกลวงการก่อกวน คุกคาม ผู้กล่ันแกลง้ จะคุกคามก่อกวน ผูอ้ ื่นซำ้ ๆ หลายครงั้ โดยส่งข้อความก่อกวน คุกคาม หรือข่มขู่ให้หวาดกลัวการคุกคามขม่ ขู่อย่างจรงิ จังและรุนแรง ผ่านสอ่ื ดจิ ิทัล ผูก้ ล่นั แกลง้ จะข่มขวู่ า่ จะทำใหเ้ หย่ือเสยี ชือ่ เสียง หรอื จะทำร้ายร่างกาย

10 ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีอย่างมจี รยิ ธรรม (Digital Empathy) มีความเหน็ อกเหน็ ใจ และสร้างความสมั พันธ์ทด่ี กี บั ผู้อน่ื บนโลกออนไลนแ์ มจ้ ะเป็นการสื่อสารท่ีไมไ่ ดเ้ หน็ หนา้ กนั มีปฏสิ มั พนั ธ์อันดีต่อคนรอบข้าง ไมว่ า่ พ่อแม่ ครู เพ่ือน ท้ังในโลกออนไลน์และในชีวติ จรงิ ไมด่ ว่ นตดั สิน ผ้อู ืน่ จากข้อมลู ออนไลนแ์ ต่เพียงอย่างเดยี ว และชว่ ยเหลอื ผูท้ ่ีต้องการความชว่ ยเหลือ คิดก่อนจะโพสตล์ งสังคม ออนไลน์(Think Before You Post) กอ่ นที่จะโพสต์รปู หรือขอ้ ความลงในส่อื ออนไลน์ ไม่โพสต์ขณะกำลังอย่ใู น อารมณ์โกรธ สื่อสารกับผอู้ ื่นด้วยเจตนาดไี มใ่ ชว้ าจาที่สร้างความเกลียดชงั ทางออนไลน์ ไม่นำลว้ งข้อมลู สว่ นตวั ของ ผอู้ น่ื ไม่กลน่ั แกลง้ ผู้อ่นื ผา่ นส่ือดจิ ิทลั ความสามารถในการเหน็ อกเหน็ ใจและสรา้ งความสัมพนั ธ์ทดี่ กี ับผอู้ ืน่ บนโลกออนไลน์ พลเมอื งดิจิทลั ท่ีดี จะต้องรู้ถงึ คุณค่าและจรยิ ธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยีต้องตระหนักถึงผลพวงทางสังคม การเมอื ง เศรษฐกจิ และ วฒั นธรรม ทีเ่ กดิ จากการใช้อินเทอรเ์ นต็ การกดไลก์กดแชร์ข้อมูล ขา่ วสาร ออนไลน์รวมถึงรู้จักสทิ ธิและความ รับผิดชอบออนไลนอ์ าทเิ สรีภาพในการพูดการเคารพทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อ่นื และการปกป้องตนเองและ ชุมชนจากความเสีย่ งออนไลน์ เชน่ การกลนั่ แกล้งออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเด็ก สแปม เปน็ ตน้

11 บรรณณานกุ รม Starfish Academy. 2564. Digital Intelligence เมอื่ โลกดจิ ิทัลคือส่งิ จำเป็นในอนาคต. สบื คน้ 19 สงิ หาคม 2564, จาก https://www.starfishlabz.com/blog/336-digital-intelligence- %E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0 %B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8 %A5%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87 %E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%83%E0 %B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%95 นริ นาม. (ม.ป.ป.). ทกั ษะดจิ ทิ ัล กา้ วสู่ พลเมืองในศตวรรษท่ี 21. สบื คน้ 19 สิงหาคม 2564 จาก https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge-base/article-pr/1355-goto- citizens21st ดร.สลานนท์ อนิ ทนนท์. (2563). ความฉลาดทางดิจทิ ัล (พิมพ์ครัง้ ท่ี 3). บริษัท วอล์ค ออน คลาวด์ จำกดั . นิตยา นาคอนิ ทร์, สุภาณี เส็งศรี, รจุ โรจน์ แก้วอไุ ร, กติ ตพิ งษ์ พมุ่ พวง. (2561) 8 ทักษะ “ความฉลาดทางดจิ ิทลั ” ของนกั ศึกษาวชิ าชีพครูสู่การเป็นพลเมือง 4.0.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook