Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เคมี

เคมี

Published by 34 Subhan, 2023-06-19 01:49:56

Description: เคมี

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวิทยาลัย หนา ที่1 เรื่อง ตารางธาตุ รศ.อินทิรา หาญพงษพันธุและ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วชิ าเคมี โดย รศ. อนิ ทิรา หาญพงษพ นั ธ และ ผศ. ดร. บัญชา พลู โภคา สถานะสสาร, ตารางธาตุ, โครงสรา งอะตอม, พันธะเคมี การจําแนกสสาร สารบรสิ ทุ ธ์ิ ธาตุ สสาร สาร สารประกอบ สารผสม สารเนอื้ เดยี ว สารเน้อื ผสม สสาร (Matter) หมายถึง สิ่งตา งๆ ท่ีมีอยูรอบๆ ตวั เรา มขี นาด ตอ งการท่ีอยู มีมวล สมั ผสั ได เชน อากาศ สาร (Substances) คือ สิ่งหนึง่ ของสสาร เชน โตะ เกา อี้ คน ตนไม อากาศ กาซ O2 เปนตน สารบริสุทธิ์ เปนสารเนื้อเดียวที่มีองคประกอบชนิดเดียวกันหมด มีสมบัตทิ ้ังทางเคมี และกายภาพเหมือนกัน เชน มีจดุ เดือดและจดุ หลอมเหลวคงที่ ไดแ ก ธาตุ สารประกอบ ธาตุ : โลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ (ดจู ากตารางธาตุ) ธาตุเปน อะตอม มสี ัญลกั ษณเขยี นเปนท่ัวๆไป คือ X และสัญลกั ษณน ิวเคลียร คือ A X Z 11 ,12 ,12 13 C, ตวั อยาง เชน B, C และสัญลกั ษณน วิ เคลียร : 5 B B C 6 ตามลาํ ดับ 5 6 สารประกอบ : สารอินทรยี  สารอนินทรีย อาจแบง เปน สารประกอบไอออนิก และโคเวเลนต สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่เปนเน้ีอเดียวกันตลอด อาจเปนสารบริสุทธ์ิหรือไมบรสิ ุทธ์ิก็ได เชน ทอง เงิน นาก นํ้าเกลือ อากาศ เปน ตน สารเนื้อผสม หมายถึง สารไมบริสุทธ์ิที่สามารถมองเห็นความแตกตางไดงาย คือไมรวมเปนเนื้อเดียวกันนั่นเอง และ สามารถแยกออกจากกันไดง า ย โดยการกรองดวยกรวยกรอง หรือกรวยแยกได สมบตั ิของสสารหรือสาร แบง ออกเปน 2 ชนิด คอื 1. สมบัติทางกายภาพ ไดแก สมบัติที่เก่ียวกับสถานะ รูปรา ง กล่ิน สี รส การละลาย รวมทั้งจุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแนน 2. สมบตั ิทางเคมี เปนสมบตั ทิ เี่ ก่ยี วขอ งกบั ปฏกิ ริ ิยาเคมี เชน การเผาไหม (การสนั ดาป) การสลายตัว การระเบิด การเปลยี่ นแปลงของสาร แบงตามสมบตั ขิ องสาร ไดแ ก 1. การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ เปนการเปลี่ยนแปลงที่ไมไดสารใหม เปนการเปลี่ยนแปลงรูปรางภายนอก และไมทํา ใหองคป ระกอบของสารเปล่ียนแปลง เชน เกลือละลายน้ําไดน ํ้าเกลือซ่ึงยังมีความเค็มของเกลืออยู ทุบนํ้าตาลกอนให เปนเกรด็ เลก็ ๆ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนีเ้ ปน ลิขสทิ ธขิ์ องภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนา ท่2ี เร่ือง ตารางธาตุ รศ.อินทิรา หาญพงษพันธุแ ละ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. การเปลย่ี นแปลงทางเคมี จะไดสารใหมท่ีมีสวนประกอบของสารใหมแตกตางไปจากสารเดิม สารใหมท่ีสามารถ มองเห็นไดช ดั คอื กา ซ ตะกอน สขี องสารเปล่ยี น ตัวอยา งขอ สอบ 1. ขอใดที่ยกตัวอยา งสารแตล ะประเภทถูกตอง ขอ ธาตุ สารประกอบ สารละลาย คอลลอยด สารแขวนลอย 1 Ne S8 3% H2O2 กาวน้ํา น้ําแปง ควนั ไฟ นํ้าสบู 2 Na Cl2 นํ้าสม สายชู น้าํ มันดเี ซล นํา้ สลดั นา้ํ เตา หู น้าํ โคลน 3 Fe Fe2O3 นํา้ โซดา 4 O2 H2O อากาศ วิธที าํ 1) ใหพ ิจารณา สารประกอบกอน เพราะวา สารประกอบตองมสี ตู ร = ธาตุ + ธาตุ เชน Fe2O3 H2O HCl ∴ตดั ขอ 1, 2 ออก โอกาสถูกขอ 3, 4 2) ใหพจิ ารณา สารแขวนลอย สารแขวนลอยเปน สารเนอ้ื ผสม ตงั้ ท้ิงไวจ ะตกตะกอนได ∴ขอ 4 เปนขอถกู 2. สมบัตใิ นการจําแนกสารเหลานี้ ออกเปนธาตหุ รือสารประกอบ สาร ความหนาแนน จุดหลอมเหลว สี จํานวนธาตทุ ่ีเปนองคป ระกอบ g/cm3 oC A 3.12 -7 นํ้าตาลแดง 1 B 8.94 1083 นาํ้ ตาล 1 C 2.11 334 ขาว 3 D 2.68 398 สม 3 ขอใดถูก ขอ สาร ธาตุหรือสารประกอบ สมบัตทิ ี่ใช 1A ธาตุ จุดหลอมเหลว 2B ธาตุ ความหนาแนน 3C สารประกอบ 4D สารประกอบ สี จํานวนธาตุท่ีเปน องคป ระกอบ วธิ ีทาํ หลัก ธาตเุ ปน อะตอม มสี ัญลักษณ เชน คารบอน : C แคลเซยี ม : Ca สวนสารประกอบ มีสตู ร เทา กับ ธาตุ + ธาตุ เชน H2O HCl NaCl ∴ ตอบขอ 4 สาร D เปนสารประกอบ โจทยจ ะถามเกี่ยวกับการแยกสาร การแยกสาร เปนการทําใหสารบริสุทธ์ทิ ่ีสามารถทาํ ไดโ ดยวิธที างกายภาพ และทางเคมี เชน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเ้ี ปน ลิขสิทธิ์ของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลัย หนาท่3ี เรอ่ื ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพนั ธุและ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การกรอง : โดยกรวยกรอง กรวยแยก การกลั่น : กล่นั ธรรมดา กลน่ั ลําดบั สว น การตกผลึก : การสกดั ดว ยตวั ทาํ ละลาย การกรอง เปนวิธแี ยกของแข็งที่ไมละลายในของเหลวโดยกรองดวยกรวยกรอง เชน แยก PbI2(s) สีเหลือง ออกจาก สารละลายผสมระหวา ง Pb(NO3)2 กับ KI การตกผลึก เปนวิธีแยกของแข็งที่รวมเปนเน้ือเดียวกับตัวทําละลาย โดยทําใหสารละลายอิ่มตัวท่ีอุณหภูมิสูงแลวลด ⋅อุณหภมู ลิ ง จะไดผลึกของแขง็ แยกออกมา เชน การตกผลึกของจนุ สี CuSO4 5H2O ในน้าํ การสกดั ดว ยตวั ทาํ ละลาย เปนการแยกของผสมออกจากกนั โดยอาศัยสมบตั กิ ารละลายของสารในของผสม หลักสาํ คัญทต่ี อ งเลือกตวั ทําละลายใหเ หมาะสม ควรจะมีสมบตั ิโดยท่วั ๆไป ดงั น้ี 1. ตอ งละลายไดเพยี งสารเดียว ไมล ะลายส่ิงเจือปน หรอื สารอ่ืนๆ ที่ไมตองการ 2. ไมท ําปฏกิ ิรยิ ากับตัวละลายที่ตอ งการแยก 3. หลงั จากสกดั สารนน้ั ๆ ออกแลว นาํ ไปใชไดใหมอกี 4. สามารถแยกออกจากสารละลายไดงาย วิธีการสกดั ดวยตวั ทาํ ละลาย สามารถแยกของผสมออกจากกันไดท ้ังในสถานะของแขง็ ของเหลว เชน ถาเปน ของผสมระหวางของเหลว-ของเหลว เมื่อเติมตัวทําละลายที่เหมาะสมแลวจะไดสารละลายแยกเปน 2 ช้ัน จะแยก จากกนั ไดโ ดยใชกรวยที่เรยี กวา กรวยแยก แยกสารตัวละลายออกจากกันแลว นาํ ไปกลนั่ ไลตัวทําละลายออก จะไดสารทต่ี องการ ถาเปน ของผสมระหวางของแข็ง-ของแข็ง เมื่อเติมตัวทําละลายที่เหมาะสมแลว นําสวนของแขง็ ที่ไมละลายไปกรองดวย กรวยกรอง สวนทเ่ี หลอื ท่ีเปน สารละลายนําไปไลตวั ทําละลายออก จะไดของแข็งทล่ี ะลายในตวั ทาํ ละลายนน้ั ๆ ตามตองการ ตัวอยา ง ของผสมระหวา ง NaCl-AgCl ใชน าํ้ เปนตัวทําละลาย ของผสมระหวาง เอทานอล-เบนซนี ใชน ํา้ เปน ตวั ทําละลาย ของผสมระหวา ง ลกู เหมน็ -เกลอื แกง ใชโทลอู ีนเปน ตวั ทําละลาย ตวั อยา งขอสอบ A, B และ C เปนของเหลวใส ไมมีสี มีจุดเดือด 40oC, 45oC และ 110oC A ไมละลายใน B และ C แต B ละลายใน C วิธีท่ี เหมาะสมในการแยกของเหลวทงั้ 3 ชนิดออกจากกนั คอื ขอใด 1. นาํ ของผสมมากลั่นแยก A, B และ C ออกตามลําดบั 2. กรอง A ออกจาก B และ C แลว แยก B ออกจาก C ดวยการกล่นั 3. กล่นั A ออกจาก B และ C ดว ยไอนา้ํ แลว แยก B ออกจาก C ดว ยการกลน่ั 4. แยก A ออกจาก B และ C ดว ยกรวยแยก แลวแยก B ออกจาก C ดวยการกลน่ั วิธที ํา - โจทยก าํ หนด A, B, C เปนของเหลวไมม สี ี - ของเหลว A ไมละลายในของเหลว B และ C หลกั การแยกของเหลวที่ไมละลายซ่ึงกันและกนั จะใชวธิ ีการแยกจากกันดวยกรวยแยก ∴ ตอบขอ 4 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปน ลขิ สิทธ์ิของภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนา ที่4 เรือ่ ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพนั ธแุ ละ ผศ.ดร. บัญชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การกล่ัน เปนวิธีการทําใหสารใหบริสุทธ์ิ ซ่ึงเปนที่นิยมกันมาก ใชแยกไดทั้งของเหลว-ของเหลวที่ละลายเปนเน้ือเดยี วกัน ออกจากกันโดยอาศัยจุดเดือดตางกัน หลักการท่สี ําคัญ คือ ทําใหของเหลวมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงจุดเดือด แยกไอของเหลวนั้นๆ ออกไปแลว นาํ ไปควบแนน ท้งั นีข้ องเหลวท่มี ีจุดเดอื ดตํา่ กวาจะแยกออกไปกอน การกล่นั จะทําไดห ลายวธิ ขี ้ึนอยูกับความเหมาะสม ไดแก การกลัน่ ธรรมดา และการกล่ันลาํ ดับสวน การกลั่นธรรมดา ใชแยกสารละลายท่ีประกอบดวยตัวถูกละลายที่ระเหยยากกับตัวทําละลายที่ระเหยงาย มักจะใชกับ ของเหลวหรือสารละลายทีม่ ีจุดเดอื ดของของผสมน้ันๆ ตา งกันมากๆ เชน กล่ันนํา้ ออกจากนา้ํ เกลอื กล่นั น้าํ ออกจากนาํ้ เชื่อม ถา สารละลายท่มี จี ดุ เดอื ดของของผสมใกลเคียงกัน และของผสมในของเหลวระเหยงายจะใชวิธีกล่ันธรรมดาไมได เชน เอ ทานอล-น้ํา การกล่ันลําดับสว น ใชแยกของเหลวที่มีในของผสมและมจี ดุ เดือดใกลเคียงกัน และของเหลวนั้นๆ ระเหยไดงาย เชน การ กล่นั นํ้ามนั ดบิ (Petroleum) การกลนั่ ดวยไอนํ้า ใชแ ยกสารทร่ี ะเหยงา ย และไมล ะลายนา้ํ (เมอ่ื เยน็ ตัวลง) ออกจากสารผสม ปกตวิ ธิ นี ี้ใชส กดั สารอนิ ทรยี อ อกจากสารผสม เชน สกดั น้ํามนั หอมระเหยออกจากพืช เปนตน การแยกสารอีกวิธหี นึง่ ท่ีขอสอบออกมาก ก็คือ วิธีโครมาโทกราฟ เปนเทคนิคอยางหน่ึงสําหรบั ทําใหสารบริสุทธ์ิ ปกติจะ ใชแยกสารท่ีมสี อี อกจากกัน หลักสําคัญการแยกวิธีน้ี คือ อาศัยการละลาย การดูดซับ สารที่จะแยกออกจากกันควรละลายไดไมเทา กัน และถูกดูดซับ ดวยตัวดูดซบั ไดไ มเทา กัน จะพจิ ารณาไดว า สารที่ละลายในตัวทําละลายไดดี แตถูกซับไดนอยจะแยกออกมากอน ในขณะที่สารที่ละลายไดนอยแตถูกดูดซับมากจะ แยกออกมาทีหลัง โดยทั่วๆ ไปสารแตละชนิดจะละลายในตัวทําละลายไดตางกัน และการดูดซับก็ตางกันหรือไมเทากัน จึงทําให อตั ราการเคล่ือนที่ไปพรอมกนั ของตัวทําละลายไดไ มเทา กนั จงึ ทาํ ใหแ ยกออกจากกันไดง าย การเลือกตวั ทําละลายทเ่ี หมาะสมจงึ จาํ เปนอยางยิ่งในการแยกสารท่ีใชวิธีโครมาโทกราฟ ตัวทําละลายท่ีนิยมใชมาก ไดแก เฮกเซน ปโ ตรเลียมอีเทอร คลอโรฟอรม เบนซนี และ อะซีโตน เปนตน สวนตัวดูดซับที่ใชกันมาก คือ อลูมินา (Al2O3) และ ซิลิกา เจล (SiO2) ขอจาํ กัดของโครมาโทกราฟ คือ ไมส ามารถแยกสารที่มกี ารเคลอ่ี นทไ่ี ปบนตวั ดูดซับไดไ มเทากนั หรือใกลเคยี งกัน โครมาโทกราฟที่นักเรียนระดับมัธยมปลายศึกษา ก็คือ โครมาโทกราฟกระดาษ จะใชคาคงที่เฉพาะตัวตรวจสอบชนิดของ สาร เรียกวา Rf value (= Retardation factor) ซึ่งหมายถึง อัตราสว นระหวาง ระยะทางที่สารเคลื่อนท่ี ตอระยะทางท่ีตัวทําละลาย เคลอ่ื นท่ี ∴ Rf = ระยะทางท่ีสารเคล่อื นที่ ระยะทางท่ตี วั ทําละลายเคลอ่ื นที่ ตวั อยางขอ สอบ Entrance 1. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ตะปูเหลก็ เกิดสนมิ การเผาดา งทบั ทมิ การระเหยแอลกอฮอล เปน การเปล่ยี นแปลงทางเคมี ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปน ลขิ สิทธิข์ องภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลัย หนาท5่ี เรื่อง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ข. ทองเหลอื ง น้ําทะเล น้ําโซดา จดั เปนสารเน้อื เดยี วประเภทสารละลาย ค. สมบตั ขิ องตวั ทาํ ละลายทเ่ี หมาะสมในการตกผลกึ คอื ตอ งละลายสารทจ่ี ะตกผลึกไดม ากทีอ่ ุณหภูมิ สูง และละลายไดนอ ยท่ีอณุ หภูมิต่ํา ง. การละลายประเภทคายความรอ นเกิดจากพลงั งานที่ใชแยกอนุภาคของสารออกจากกันมีปริมาณมากกวาพลังงานท่ีเกดิ จากการยดึ เหน่ียวระหวา งอนุภาคของสารกบั โมเลกลุ ของตัวทําละลาย คาํ กลาวขอใดถกู ตอ ง 1. ก และ ข 2. ค และ ง 3. ข และ ค 4. ก และ ง วิธที ํา เรารูวาปฏิกิริยาเคมีเกิดข้ึนตองมีสารใหมเกิดข้ึน ไดแก กาซ ตะกอน และสีของสารเปลี่ยนไป เม่ือนํา สาร 2 ชนดิ มาทาํ ปฏิกริ ิยาตอกัน จาก (1) ตะปูเหลก็ เกดิ สนมิ สนมิ เปน สารใหมม ีสูตร Fe2O3 เหลก็ เปน ธาตุ คอื Fe ตะปเู หลก็ เปน สนมิ ไดต องมี เหลก็ นาํ้ อากาศ Fe + H2O + O2 Fe2O3 (ยังไมด ลุ ) การเผาดางทับทิม ไดกาซ Oเผ2าตามสมกาKร2MnO4 + MnO2 + O2(g) 2KMnO4 การระเหยแอลกอฮอล เปนการเปลยี่ นสถานะจากของเหลวเปน ไอ ไมใชป ฏิกริ ยิ าเคมี เปน การเปล่ียนแปลงทาง กายภาพ ตดั ขอ 1 และ 4 ทงิ้ ไป พจิ ารณาขอ ง เพราะวาสารท่ีเปน ของแขง็ จะละลายในตัวทาํ ละลายได มพี ลังงานเก่ยี วของอยู 2 ชนิด คือ 1. พลังงานโครงผลกึ หรือ Lattice Energy (Elatt) เปนพลังงานท่ีใชสลายสารใหเปนอนุภาค หรือ อนุภาคคายพลงั งานออกเพ่ือรวมเปนสาร 2. พลงั งานไฮเดรชัน หรือ Hydration Energy (Ehyd) หมายถึง พลังงานที่อนุภาคหรือไอออนคายออก เม่อื รวมกับน้ําหรือตวั ทําละลาย ตัวอยา ง เกลอื แกง NaCl ทเี่ ปน ของแขง็ ละลายในนํ้า เขยี นเปนปฏิกิรยิ าการละลายของ NaCl(s) ไดดงั น้ี 1. NaCl(s) แตกเปนไอออนโดยใชพ ลังงาน Elatt NaCl(s) + Elatt Na+(g) + Cl-(g) 2. ไอออน (g) Cรวl-(มg)กบั น+้ําจHะ2คOายพลงั งาNนa+E(ahqy)d Na+(g) + + Cl-(aq) + Ehyd ∴ พลงั งานการละลายน้าํ = Eการละลาย = Elatt - Ehyd = + X kJ ถาเปน +X แสดงวา เปน การละลายชนดิ ดูดพลังงาน ถาเปน -X แสดงวา เปน การละลายชนิดคายพลงั งาน หรอื +X ไดจาก Elatt > Ehyd -X ไดจาก Elatt < Ehyd ขอ ง จงึ เปน ขอทผ่ี ดิ ∴ ตอบขอ 3 (ขอ ข และ ค) 2. สารในขอใดที่แยกออกจากกันไดดวยวิธีกรอง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนีเ้ ปนลิขสิทธิ์ของภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลยั หนาท่ี6 เร่อื ง ตารางธาตุ รศ.อินทิรา หาญพงษพนั ธุและ ผศ.ดร. บญั ชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. S + CS2 2. I2 + C2H5OH 3. AgCl + NH3(aq) 4. BaSO4 + H2O วธิ ที าํ ตามขอ 1. S : กํามะถัน ละลายไดด ใี นคารบ อนไดซัลไฟด 2. I2 : ไอโอดนี ละลายไดใน Ethanol = C2H5OH 3. AgCl : Silver chloride ละลายในน้าํ ammonia ∴ ตอบขอ 4 3. ของผสมประกอบดวยเทียนไข นํ้าตาล เกลือ ลูกเหม็น ปนกันอยู วิธีใดเหมาะสมท่ีสุด เพื่อใชลูกเหม็นออกจากของผสมใหได สารบริสทุ ธ์ิ 1. อุนของผสมใหคอยๆ รอ นขึ้น 2. สกัดของผสมดว ยเฮกเซน 3. ละลายของผสมดว ยนํา้ 4. เผาของผสมใหรอน วธิ ีทํา สิ่งท่ีเราตองรู คอื ลูกเหมน็ ระเหดิ ไดงาย ∴ใชว ธิ คี อ ยๆ อุน ใหรอน ลูกเหม็นก็จะระเหดิ เปน ไอไดเรว็ ขน้ึ นาํ ไอลูกเหมน็ ไปควบแนน กจ็ ะไดลูกเหมน็ บริสทุ ธิ์ สารท่เี หลอื ระเหยยาก ถา ใชวธิ อี นุ ไมใ ชเ ผา ∴ ขอ 1 เปน ขอ ถูก 4. สาร A, B, C, X, Y และ Z เปนสารที่มีสี ในการทําโครมาโทกราฟชนิดกระดาษของสาร A, B และ C ใชตัวทําละลายชนิดที่ 1 สว นของสาร X, Y และ Z ใชต วั ทําละลายชนดิ ที่ 2 ไดผลการ ทดลองดงั นี้ สาร คา Rf A 0.40 B 0.30 0.50 0.70 C 0.60 0.80 X 0.30 0.70 0.80 Y 0.55 Z 0.60 0.80 พจิ ารณาขอสรุปตอ ไปนี้ ก. สาร A และ Y เปน สารบริสทุ ธ์ิ ข. สาร C และ Z เปน ของผสมชนดิ เดยี วกัน ค. สาร B, C, X และ Z เปนของผสม ง. สาร B และ X มสี วนผสมบางตวั เหมอื นกนั ขอใดถูกตอง 1. ค เทานัน้ 2. ก, ข และ ค 3. ก, ค และ ง 4. ข, ค และ ง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเ้ี ปน ลขิ สิทธ์ิของภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวิทยาลัย หนา ท7่ี เรื่อง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพนั ธุและ ผศ.ดร. บญั ชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วิธที าํ การแยกสารโดยวธิ ีโครมาโทกราฟ โดยใชว ธิ วี ัดคา Rf ถาวัดคา Rf ไดเพยี งคา เดียว จะบอกไดวา สารนน้ั นา จะเปนสารบริสุทธ์ิ หรืออาจมีสารอื่นที่ไมมีสีเจือปนก็ได แต ถาวดั คา Rf ไดหลายคา แสดงวา สารนน้ั ไมบรสิ ทุ ธ์ิ ดังนั้น คา Rf ของขอ ค เปน ขอถกู ตอ ง เพราะวาคา Rf ของสาร B, C, X และ Y มหี ลายคา ตามขอ ง บอกไมได เพราะวาใชต วั ทาํ ละลายคนละชนดิ 5. สมบตั ิของสาร A, B, C และ D ในตาราง สมบัติ การละลายในตวั ทาํ ละลาย การดดู ซับบนตัวดดู ซับ สาร X Y A ++++ + B ++ ++ C ++ +++ D + ++++ (เคร่ืองหมาย + หมายถงึ ความสามารถในการละลาย) ถานําของผสมท่ีประกอบดวยสาร A สาร B สาร C และ สาร D อยางละเทาๆ กันมาแยกโดยวิธีโครมา-โทกราฟ คอลัมนที่ ใชส าร Y เปนตวั ดูดซบั และชะดวยตัวทําละลาย X ขอ ใดผิด 1. สาร A จะถกู ชะออกมากอ น 2. สาร D จะถกู ชะออกเปนลาํ ดับสุดทาย 3. สาร B และสาร C จะแยกจากกนั ไมไ ด 4. สามารถแยกสาร A และสาร D ไดอยางบริสุทธิ์ วธิ ที าํ จากเคร่อื งหมาย + ท่ีกาํ หนดให แสดงวา ขอ 1 ขอ 2 ถกู ตอง จากขอ 4 พิจารณาจากการละลายในตัวทําละลาย และการดูดซับ แสดงวาสามารถแยก A และ D ออกจากกันได จึงเปน ขอ ถูก ∴ ขอ 3 เปนขอผดิ แสดงวา B และ C แยกจากกัน โดยดูการดูดซับ Y ไดตางกัน ถึงแมไมมากนัก อาจใชคอลัมนยาวๆ ก็จะแยกจาก กันได พลังงานกบั การเปลีย่ นแปลง พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทํางาน มีทั้งพลังงานศักยและพลังงานจลน นอกจากน้ียังมีพลังงานไฟฟา พลงั งานความรอ น พลงั งานแสง และพลังงานทไี่ ดจ ากปฏกิ ริ ิยาเคมี เปนตน กฎของพลังงาน กลาววา พลังงานเปนสิ่งที่ไมมีการสูญหาย และไมมีการสรางขึ้นมาใหม แตสามารถเปลี่ยนรูปไดจากรูป หน่งึ ไปยังรูปหน่ึง เชน การเปลี่ยนพลงั งานเคมใี นแบตเตอรรี ถยนตไ ปเปนพลงั งานไฟฟา (จากกฎทรงมวลแหงสสารและพลงั งาน) สูตรสมั พนั ธระหวา งมวลของสารและพลงั งาน ตามกฎของไอนสไตน (Einstein) เสนอสูตร E = mc2 E = พลงั งาน, m = มวลของสาร, c = ความเรว็ ของแสง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเี้ ปนลขิ สทิ ธิข์ องภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนา ท8่ี เรอื่ ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระบบและสงิ่ แวดลอ ม ระบบ หมายถึง สิ่งทีก่ ําลังศึกษาอยู มีขอบเขตแนนอน สิ่งแวดลอ ม หมายถึง ส่ิงตา งๆ ท่อี ยแู วดลอมระบบ อาจมีผลตอระบบหรอื ไมก ็ได ระบบ แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื 1. ระบบปด มวลสารคงท่ี ถายเทพลงั งานใหก ับสงิ่ แวดลอ ม เชน ปลอยนํ้ารอนในภาชนะทีป่ ดฝาไวในอากาศ 2. ระบบเปด มวลสารและพลังงานถา ยเทใหกบั ส่งิ แวดลอม เชน ตมนาํ้ ในกาน้าํ 3. ระบบอิสระ มวลสารและพลงั งานของระบบคงท่ี ไมมกี ารถายเทใหก ับสิ่งแวดลอ ม เชน นาํ้ รอ นในกระตกิ นาํ้ รอน การเปล่ียนแปลงพลงั งานของระบบมี 2 ประเภท คือ 1. การเปล่ยี นแปลงประเภทคายความรอ น เชน การเผาไหม 2. การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความรอน เชน การละลายน้าํ แข็ง NH4NO3 ละลายนา้ํ เปนตน การเปลีย่ นแปลงสถานะกับพลังงาน ของแข็ง + พลงั งาน ของเหลว + พลงั งาน กา ซ − พลังงาน − พลังงาน การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร มีพลังงานเกยี่ วขอ ง 2 ประเภท 1. ความรอนแฝงของการหลอมเหลว เปน พลงั งานทีใ่ ชใ นการเปล่ยี นของแข็งใหเปนของเหลวที่อุณหภูมิคงท่ี เชน ความ รอนแฝงของการหลอมเหลวนํ้าแข็งเทากับ 334.8 kJ/kg หมายความวา ถา ตองการทําใหน้ําแข็ง 1 kg ท่ี 0oC กลายเปน นํ้า 1 kg ตอ งใชความรอน 334.8 kJ 2. ความรอนแฝงของการกลายเปนไอ ใชในการเปลี่ยนของเหลวใหเปนไอที่อุณหภูมิคงที่ เชน ความรอนแฝงของการ กลายเปน ไอนํ้าเทากับ 2,256 kJ/kg หมายความวา ตองใชความรอน 2,256 kJ ผานนํ้า 1 kg ท่ี 100oC จึงจะไดไอนํ้า 1 kg ที่ 100oC พลงั งานการละลาย การละลายไดของสารจะตองใชหรือคายพลังงานก็ได ท้ังนี้จะเกี่ยวขอ งกับพลังงาน 2ประเภท คือ พลังงานโครงรางผลึก (Lattice Energy : Elatt) และพลังงานไฮเดรชัน (Hydration Energy : Ehyd) จะคํานวณหาคา พลังงานไดจากสตู ร H = ms T H = พลังงานการละลาย m = มวลของตวั ทําละลาย s = ความรอ นจาํ เพาะของสารละลาย T = อณุ หภูมทิ เ่ี ปลี่ยนแปลง ตวั อยา งขอ สอบ 1. กราฟตามขา งลา งนี้ เปน ผลการทดลองขอ ใด ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเี้ ปน ลขิ สทิ ธิ์ของภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลยั หนาท9ี่ เรื่อง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. การใหความรอนแกเ กลด็ ไอโอดีน อุณหภมู ิ 2. การลดอุณหภมู ิของน้ํารอน 3. การลดอุณหภมู ิของนํา้ แขง็ 4. การลดอุณหภูมิของนาํ้ เกลอื เวลา วธิ ที าํ ตามขอ 1 การใหความรอ นแกไอโอดนี ตอ งจากอณุ หภมู ิต่าํ ไปสงู ขอนี้จึงเปนขอ ผดิ 2 น้ํารอนมีอุณหภูมิสูง เม่ือลดอุณหภูมิจะไดกราฟท่ีมีลักษณะอุณหภูมิลดลงจากสูงไปต่ํา ณ อุณหภูมิ คงทจ่ี ะทาํ ใหน า้ํ รอ นเปลย่ี นสถานะ ขอ นี้จงึ เปนขอถกู 3 อุณหภูมขิ องน้าํ แขง็ 0oC คงจะไมทดลองลดอุณหภูมขิ องน้าํ แข็งท่ีอุณหภูมิหอง 2. กราฟตอ ไปน้แี สดงความสามารถในการละลายของสาร X และสาร Y ในนา้ํ ความสามารถ ในการละลาย (1 g/นํา้ 100 g) 40 60 oC นําสาร X และสาร Y ไปละลายน้าํ ในภาชนะเดียวกนั จนสาร X และ Y อิ่มตัวท่อี ุณหภูมิ 60 oC แลว คอยๆ ลดอณุ หภมู ิจน เปน 40oC พบวา มีตะกอนอยูท ่กี นภาชนะ ตะกอนนี้คือสารใด 1. สาร X อยางเดยี ว 2. สาร Y อยางเดียว 3. สาร X ปนสาร Y แตม สี าร X มากกวา 4. สาร X ปนสาร Y แตมีสารY มากกวา วธิ ีทํา พจิ ารณาจากกราฟ ที่ 60oC สาร X ละลายไดมากกวา สาร Y ท่ี 40oC สาร X กย็ ังละลายไดม ากกวา สาร Y ชว งที่สาร Y ละลายไดที่ 60oC ตา งกับท่ี 40oC มาก ชว งท่สี าร Y ละลายท่ี 60oC มากกวาท่ี 40oC เลก็ นอ ย ∴ ที่ 40oC จงึ มี X ตกผลกึ มากกวา Y จึงตอบขอ 3 3. พจิ ารณากราฟแสดงความสัมพันธระหวา งอุณหภูมกิ ับพลงั งานท่ีใหกบั สาร A 1 โมล ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยYายนีเ้ ปน ลิขสทิ ธขิ์ องภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนา ท1ี่ 0 เรือ่ ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บัญชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- อุณหภมู ิ กาซ ของเหลว ขอสรุปใดถกู 1. ความรอ นแฝงของการหลอมเหลวของ A มคี า เทากับ E1 – E2 kJ 2. ของเหลว A ทอี่ ณุ หภูมิ YoC เปลีย่ นเปน ของเหลว A ท่อี ุณหภมู ิ XoC ตองคายพลงั งานออกมาเทา E2 – E3 kJ 3. ของเหลว A ทอ่ี ณุ หภมู ิ YoC ใชพลังงาน E4 – E3 เพ่อื เปล่ยี นสถานะกลายเปนไอที่ YoC 4. ไอของสาร A เปล่ยี นสถานะกลายเปน ของแขง็ A ตอ งคายพลงั งาน E4 – E2 kJ วิธีทาํ พิจารณาจากกราฟ ที่ E1 คือ พลังงานท่อี ณุ หภูมหิ นึ่ง สาร A ของแขง็ จะเปล่ยี นเปนของเหลว เรยี กวา จดุ หลอมเหลว ที่ E1 ท่ี E2 เปนพลังงานที่สาร A ใชเปลี่ยนสถานะเพื่อเปนของเหลว เรียกวา พลังงานหรือความรอนแฝง ของการหลอมที่อุณหภูมคิ งที่ XoC = (E2 – E1) kJ ที่ E3 คอื พลังงานท่ีของเหลว A เปลี่ยนสถานะเปน ไอ ณ อณุ หภูมหิ นึ่ง เรยี กวา จุดเดือด ท่ี E3 ท่ี E4 คือ พลังงานที่ของเหลวใชเปล่ียนสถานะไปเปนไอ เรียกวา ความรอนแฝงของการหลอมเหลว ณ อุณหภมู คิ งที่ YoC = (E4 – E3) kJ ∴ ขอ 3 เปน ขอถูก 4. กราฟแสดงความสัมพันธข องความสามารถในการละลายน้ําของเกลือ A, B, C และ D มดี งั น้ี 100 A B สภาพ 80 การละลาย 60 C g/100g 40 ของนํ้า 20 D อุณหภมู ิ 10 30 50 70 90 ขอสรุปใดผดิ 1. อณุ หภูมทิ ่มี ีผลตอ การละลายของเกลอื A มากกวาการละลายของเกลอื C 2. เกลือ B ละลายน้าํ ไดดีกวา เกลอื C ทกุ ๆ อณุ หภมู ิ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้ีเปนลขิ สทิ ธข์ิ องภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนา ท่ี11 เร่อื ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพนั ธุและ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. เมื่ออณุ หภูมสิ ูงขึ้น เกลอื B ละลายนาํ้ ไดมากขึ้น 4. การละลายของเกลอื D เปน กระบวนการดูดความรอน วธิ ีทาํ พิจารณาจากขอ สรปุ จากขอ 4 เกลือ D ละลายนา้ํ ไดน อ ยลงเม่ืออุณหภมู ิเพิ่ม แสดงวา เปนการละลายชนดิ คายพลังงาน เกลือ D + นํา้ สารละลายเกลอื + พลังงาน ∴ ขอ 4 เปนขอ ผดิ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้ีเปนลิขสทิ ธ์ิของภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวิทยาลัย หนาท1่ี 2 เร่อื ง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตารางธาตุ และสมบัติของธาตุ โครงสรางอะตอม พนั ธะเคมี โดย รศ. อินทิรา หาญพงษพ นั ธ และ ผศ. ดร. บัญชา พลู โภคา 1. การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ BOLING NAUTMOMBEICR WAETIOGMHTIC( 2 ) 2. การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนของอะตอม POINT , K OXIDATION MPOELINTTIN, GK (BoldSTmAoTsEt Sstable ) 3. เลขอะตอม KEY 4. ขนาดอะตอม Zn301761.918240.7365.38 2 5. คา IE EN EA และการเปนอโลหะ [Ar ]Z3idn1c04s2 SYMBOL (1) 6. จดุ เดือด จุดหลอมเหลว DENSITY camt 330)0 K ( 3 ) (g / 7. โครงสรางอะตอม พันธะเคมี NAMECOENLFEIGCUTRROANTION o 8. คา และเลขออกซเิ ดชัน Σ 9. การเกิดสารประกอบออกไซด ซัลไฟด คลอไรด 10. โลหะแทรนซิชัน และสารประกอบเชงิ ซอน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลขิ สทิ ธขิ์ องภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลัย หนา ท่ี13 เรือ่ ง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพนั ธุแ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วชิ า เคมีท่ัวไป รศ. อินทิรา หาญพงษพ นั ธ เรื่อง พนั ธะเคมี ผศ. ดร. บญั ชา พูลโภคา C พนั ธะเคมี หมายถงึ แรงยึดเหนี่ยวระหวา งอนุภาค เพอื่ ความคงตวั หรอื เสถียรภาพของสารนน้ั ๆ เกิดจาก 1. การใหและการรบั อิเลก็ ตรอนระหวางอนุภาค 2. การใชอเิ ลก็ ตรอนรวมกนั ระหวางอนภุ าค แบงออกเปน 4 ประเภท 1. พันธะไอออนกิ 2. พนั ธะโควาเลนต 3. พนั ธะโลหะ 4. พันธะไฮโดรเจน พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหน่ยี วระหวางไอออนของสารประกอบไอออนกิ เขา ไวด วยกนั ตามกฎคูลอมบ พลังงานที่เกดิ จากแรงยดึ เหน่ียวไอออนบวกและไอออนลบของสารประกอบไอออนิก เรียกวา แรงขั้ว หรือกลาว วาสารประกอบไอออนิกยึดเหน่ียวกันดวยแรงไฟฟา หรือพันธะไอออนิกเกิดจากการรวมตัวทางเคมีหรือปฏิกิริยาเคมี ระหวา งโลหะกับอโลหะ โลหะให e- ไปเปลย่ี นเปน ไอออนบวก อโลหะรบั e- เปล่ียนเปน ไอออนลบ กําหนดให M = Metal แทน โลหะ A หรือ X แทน อโลหะ M M+ + e- (ให e- ) A + e- A- (รบั e- ) M+A M+ A- เชน NaF 11Na + 9F 11Na+ + F- 2, 8, 1 2, 7 2, 8 2, 8 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้เี ปนลขิ สทิ ธิ์ของภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลัย หนา ที่14 เรื่อง ตารางธาตุ รศ.อินทิรา หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การเกิดสารประกอบไอออนิก จะมพี ลังงานเก่ยี วของ 5 ชนดิ คอื 1. พลงั งานการระเหิด Hsub 2. พลังงานการสลายพันธะ Hdis หรือ D(A-A) 3. พลงั งานไอออไนเซชนั IE 4. พลังงานอเิ ลก็ ตรอนแอฟนิตี้ EA 5. พลังงานโครงสรางผลึก Hlatt = U การละลายน้ํา สารประกอบไอออนิกที่ละลายนา้ํ ไดดี คือ สารประกอบของโลหะหมู I (เชน Na, K) สารประกอบของหมู NH4+ สารประกอบของหมู NO3-, CH3COO- การละลายน้ําของสารประกอบมีพลงั งานเกย่ี วของ 2 ชนิด คือ 1. พลังงานโครงรางผลึกใชสลายโครงผลกึ H =โครงสรา งผลึก Hlatt 2. พลงั งานไฮเดรชนั หมายถงึ พลังงานคายออกมาเมื่อไอออนรวมกบั นาํ้ = Hhyd = Hไฮเดรชนั สตู รท่ีใชคํานวณพลังงานการละลาย 1. H ของการละลาย = Hlatt - Hhyd H การละลายมคี าเปน ลบ แสดงวา ละลายไดชนิดคายพลังงาน H การละลายมีคาเปนบวก แสดงวา ละลายไดช นดิ ดดู พลงั งาน 2. H การละลาย = MS T M = มวลของตวั ทําละลาย S = ความรอนจําเพาะของนํ้า T = อณุ หภูมทิ ี่เปล่ียนแปลง สารประกอบไอออนิก - ไมม สี ตู รโมเลกุล - เปน ของแข็งไมนาํ ไฟฟา - การนําไฟฟาจะลดลงถา อุณหภูมเิ พม่ิ - นําไฟฟาได ถาหลอมเหลวเปนสารอิเล็กโตรไลต โมเลกุลโคเวเลนต สารประกอบโคเวเลนตม ี 2 ประเภท 1. มสี ตู รโมเลกลุ เรยี กวา โมเลกุลโคเวเลนต มกั เปนโมเลกลุ เดี่ยว ขนาดเลก็ มจี ดุ เดือด จุด หลอมเหลวทแี่ นน อนแตค อ นขางต่ํา เชน น้ํา (H2O), CO2 2. ไมมีสูตรโมเลกุล เรยี กวา โครงผลึกตาขาย มักมีขนาดใหญและมีจํานวนอะตอมไมแนน อน มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสงู เพราะมีจาํ นวนอะตอมยึดเหนยี่ วตอเนอื่ งกนั คลายตาขา ย เชน เพชร, แกรไฟต, SiO2, SiC ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนีเ้ ปน ลขิ สิทธิข์ องภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนา ที่15 เรอ่ื ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพนั ธแุ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สมบตั ิทัว่ ๆ ไปของโมเลกุลโคเวเลนต 1. จุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวตํ่า 2. การละลายนํ้า ละลายไดถา เปนโมเลกลุ มีขวั้ 3. การนําไฟฟา ไมน าํ ไฟฟา 4. รูปรา งโมเลกลุ หรืออัตราสวนจาํ นวนโมลแนนอน โมเลกลุ บางชนิดมีสตู รเหมือนกัน แตมสี ูตรโครงสรางแตกตา งกัน ทาํ ใหส มบัติบางอยา งแตกตางกนั เรียกวา เปนไอโซเมอรกัน เชน C2H6O มีสูตร CH3OCH3(3) (bp. = -23.7oC) CH3CH2OH(1) (bp. = 78.3oC) ทั้งจุดเดือด จุดหลอมเหลว กล่ิน การละลายนํ้า สถานะจะแตกตางกันดวย ดังน้ันโครงสรางของโมเลกุลมี ผลโดยตรงตอ สมบัติของสาร ปจ จัยท่ีสําคญั ในการพจิ ารณา รูปรา งโมเลกลุ 1. ชนิดอะตอมกลาง 2. จํานวนพันธะรอบๆ อะตอมกลาง 3. จาํ นวน e- คูโดดเดย่ี วรอบๆ อะตอมกลาง การศกึ ษาโครงสรางโมเลกุลโคเวเลนต วา ดวย 1. รูปรา งโมเลกุล 2. มุมของอะตอมกลาง 3. ขว้ั พันธะ 4. ขัว้ โมเลกลุ กาํ หนดให A เปนอะตอมกลาง B เปนตัวลอ มอะตอมกลาง สตู รทั่วไปของโมเลกลุ โคเวเลนต A1, A2, AB, AB2, AB3, AB4, AB5, AB6 1. A โมเลกุลธาตุเดยี่ ว (monatonic) ไดแ ก กา ซเดี่ยว He, Ne, Ar, Kr, Xe และ Rn 2. A2 โมเลกลุ เดีย่ ว (diatomic) เชน H2, N2, O2, F2, Cl2, Br2, I2 3. AB = A + B เชน HCl, CO, NO, BrCl 4. AB2 = A + 2B อะตอมกลาง A ไดแ ก หมู II : Be และหมู VI เชน 0, 5 ตัวลอมอะตอมกลาง เชน H ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเ้ี ปนลิขสทิ ธข์ิ องภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวิทยาลยั หนา ท่1ี 6 เร่ือง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพันธุและ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โครงสรางอะตอม หมู II หมู VI มุม H-Be-H O พนั ธะ ตัวลอ มอะตอมกลาง 180o HH โมเลกุล (H-Be) มขี ว้ั 104.5o ตัวอยา ง 2H (H-O) มขี ้ัว ไมมีขว้ั 2H และ e- ควู าง BeH2, CO2 HCN (มขี ้วั ) มขี ้ัว SO2, O3 H2O, H2S, ClO2-, NO2- 5. AB3 = A + 3B อะตอมกลาง A ไดแก หมู III : B และหมู V : N หรอื P ตัวลอ มอะตอมกลาง เชน H หมู III หมู V H N⋅⋅ สูตรโครงสรา ง B HH H HH 107.3o มมุ 120o พนั ธะ (H-B) มีข้วั (H-N) มีขว้ั ตัวลอมอะตอมกลาง 3H 3H และ e- คูวาง โมเลกลุ ไมม ีขั้ว มขี ้ัว ตัวอยาง BH3, SO3 H3O+, SO32- CO32-, NO3-, H2CO3 (มขี ั้ว) ClO3-, NH3, PH3 6. AB4 = A + 4B อะตอมกลาง A ไดแ ก หมู IV : C V : N, P VI : S VII : Cl สูตรโครงสราง รปู เหลีย่ มสี่หนา Y Y XY Y พันธะ (X-Y) เปน ธาตตุ า งกัน พนั ธะมขี ว้ั มุม ณ จดุ ศนู ยก ลาง = 109.5o เชน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเ้ี ปนลขิ สทิ ธขิ์ องภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลัย หนา ท่ี17 เรอื่ ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพันธุแ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- IV V VI VII CH4 NH4+ SO42- ClO4- PO43- เวเลนตอิเลก็ ตรอนของ CH4 = 4+(1x4) = 8 NH4+ = 5+(4x1)-1 = 8 SO42- = 6+(4x6)+2 = 32 ClO4- = 7+(4x6)+1 = 32 PO43- = 5+(4x6)+3 = 32 7. AB5 = A + 5B อะตอมกลาง A ไดแ ก หมู V : 15P 15P = 2, 8, 5 ตวั ลอมอะตอมกลาง เชน Cl สตู รโครงสรา งปรามิดคูฐานสามเหลีย่ ม Cl Cl 90o Cl P Cl 120o Cl พนั ธะ (P-Cl) เปน ธาตตุ า งกัน พันธะมขี ้ัว Cl เปนตัวลอ มรอบเหมือนกนั , โมเลกุลไมม ีข้วั , มมุ 120o และ 90o 8. AB6 = A + 6B อะตอมกลาง A ไดแ ก หมู VI : 16S 16S = 2, 8, 6 B ตัวลอมอะตอมกลาง ไดแ ก F สูตรโครงสรางรูปเหลี่ยมแปดหนา F F F 90o F S F F พันธะ (F-S) เปนธาตตุ างกัน พนั ธะมีขั้ว Fเปนตัวลอ มเหมอื นกัน มุม F-S-F = 90o (มมุ ยอดและฐาน) AB5, AB6 โมเลกุลไมเ ปน ไปตามกฎออกเตด โครงสรา งมี 5, 6 พนั ธะ มี 10e- และ 12e- ตามลาํ ดับ สรปุ เกีย่ วกบั ขัว้ ของพนั ธะ ขวั้ โมเลกลุ และมุม อโลหะ + อโลหะ สารประกอบโคเวเลนต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลขิ สิทธิข์ องภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลัย หนาที่18 เร่อื ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพนั ธุและ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ธาตุ พันธะ คา EN เหมือนกัน ไมมขี ้วั เทากนั ไมเหมือนกนั มีขวั้ แน ไมเ ทา กัน ตวั ลอมอะตอมกลางตา งกัน โมเลกลุ มีขั้ว - สารใดมจี ํานวนอเิ ลก็ ตรอนรวมของอะตอมในสารเทา กัน จะมแี นวโนมท่ีมีสูตรโครงสรางเหมือนกนั - หมมู ากข้นึ มมุ เล็กลง พันธะโลหะ เกิดจากอะตอมของโลหะใชเวเลนตอิเล็กตรอนรวมกัน ทําใหภายในของผลึกโลหะมีอิเลก็ ตรอนเคลื่อนที่ได ตลอด - นาํ ความรอน และนําไฟฟา ไดด ี - ตีแผเ ปน แผนบาง ดงึ เปนเสนได - จดุ เดือด จดุ หลอมเหลวสงู มาก ไดแก หมู I อลั คาไล Li, Na และ K หมู II อลั คาไลนเอริ ธ Mg, Ca, Sr โลหะแทรนซชิ นั Fe, Co, Ni, Cu พันธะไฮโดรเจน เปนแรงยึดเหน่ยี วท่ีเกิดจากสารประกอบท่มี ี H ตอ N เชน NH3 H ตอ O เชน H2O, alcohol, กรดอนิ ทรีย H ตอ F เชน HF ระดบั พลังงาน พันธะไฮโดรเจน > แรงขัว้ > แรงแวนเดอรวาลส สรุปสัน้ ๆ เก่ียวกบั พนั ธะเคมี โจทยถ ามพันธะตามหาโลหะ เพราะ - โลหะ ใหอ ิเลก็ ตรอนไปเกิดบวก เกดิ พนั ธะไอออนิก ขนาดจะเล็กลง - อโลหะ รับหรอื ใชอเิ ล็กตรอนรว มกนั เกดิ ไอออนบวกหรือลบ ขึน้ อยูก บั คา EN จะเกดิ พันธะไอออนกิ หรอื พันธะโคเวเลนตก ไ็ ด โลหะท่ถี ามบอ ยๆ ไดแ ก - โลหะหมู I เชน Li, Na, K - โลหะหมู II เชน Mg, Ca, Sr, Ba - โลหะหมู III เชน Al - โลหะหมู IV เชน Sn, Pb - โลหะแทรนซชิ นั เชน Fe, Cr, Cu, Zn, Ag ส่งิ ทจ่ี ะศึกษาโมเลกลุ โคเวเลนต 1. รปู รา งโมเลกลุ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้เี ปน ลขิ สทิ ธ์ขิ องภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนา ท1ี่ 9 เรื่อง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพนั ธุแ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. มุมพันธะ 3. จํานวนพนั ธะ 4. อะตอมกลาง 5. อิเลก็ ตรอนคสู รางพันธะ และอิเลก็ ตรอนคโู ดดเด่ยี ว e- คูสรางพันธะ *e- ควู า ง รปู รา ง มมุ o (องศา) 2- OOO 180o โซตรง BeCl2, HgCl2 2 1 O O NOO2- 104.5o มุมงอ SO2, O3, 2 H2O,OClO2- 120o 3- OOO สามเหลี่ยม แบนราบ BF3, SO3O, CO3O2-, NO3-, CH2O 1 O 3 107.3o O ปร ามดิ ฐาน NH3, PH3, SO32-, ClO3- สามเหล่ยี ม O 109.5o 4- O OO O รปู เหล่ยี มสี่หนา CH4, SiH4, NH4+, PO43-, SO4-, ClO4- O 5- O O 120o, 90o O O O ปรามดิ คูฐาน PCl5 สามเหลย่ี ม 6- O O O 90o, 90o O O O O รปู เหลย่ี มแปดหนา SF6, [Fe(CN)6]4- * พิจารณาจากอะตอมกลางของสตู รอยา งนอย 1 คู อะตอมกลางไดแก ธาตุในคาบ 2 และ 3 คือ II III IV V VI VII Be B C N O F ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้เี ปน ลขิ สิทธข์ิ องภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวิทยาลัย หนา ท่ี20 เร่อื ง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บัญชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Si P S Cl โครงสรางโมเลกุลโคเวเลนตมีผลโดยตรงตอ สมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสาร เชน จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความ หนาแนน กลไกการเกิด และปฏกิ ิรยิ าเคมี ตาราง 1 สมบัติบางประการของกาซมีตระกูล สัญลักษณ เลข การจดั เรยี งอิเลก็ ตรอน รศั มี พลังงาน จุดหลอมเหลว จุดเดอื ด อะตอม อะตอม ไอออไนเซชัน (oC) (oC) (pm) ลาํ ดับที่ 1 (kJ/mol) He 2 2 93 2397 -270 -269 Ne 10 2, 8 112 2087 -249 -246 Ar 18 2, 8, 8 154 1527 -189 -186 Kr 36 2, 8, 18, 8 169 1357 -157 -152 Xe 54 2, 8, 18, 18, 8 190 1177 -112 -108 Rn 86 2, 8, 18, 32, 18, 8 220 1043 -71 -62 พิจารณาจาก 1. การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งาน(n) = 2n2 จะไดจาํ นวนอเิ ลต็ รอนในระดับพลงั งาน = 2 8 18 32 … ≤ 8 2. จํานวนธาตใุ นคาบจะสมั พนั ธกบั จํานวนe/n = 2 8 18 18 32 … ตาราง 2 สมบัตบิ างประการของธาตุหมู 1 ธาตุ เลข การจัดเรยี ง รศั มี พลงั งาน จดุ หลอม ความ Eo (V) อะตอม อเิ ล็กตรอน อะตอม ไอออไนเซชัน เหลว หนาแนน M+ + e- M ในโลหะ* ลําดับท่ี 1 (oC) (g/cm3) (pm) (kJ/mol) Li 3 2, 1 152 526 180 0.53 -3.05 Na 11 2, 8, 1 186 502 98 0.97 -2.71 K 19 2, 8, 8,1 227 425 64 0.86 -2.92 Rb 37 2, 8, 18, 8, 1 248 409 39 1.53 -2.92 Cs 55 2, 8, 18, 18, 8, 1 265 382 28 1.89 -2.92 * รัศมีอะตอมในโลหะเทา กับครึ่งหนึ่งของระยะยาวระหวางนวิ เคลียสของอะตอมท่ีอยถู ัดกันในผลกึ ของโลหะ 3. เลขอะตอมของธาตุหมู VIII สมั พันธกับ e/n และ ธาต/ุ คาบ ดงั น้ี e/n = 2n2 ธาต/ุ คาบ เลขอะตอมของหมู VIII ธาตุ เรียง e/ คาบ 22 2 He 2 88 10 Ne 2 8 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้เี ปน ลขิ สิทธิ์ของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลัย หนาที2่ 1 เรือ่ ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพันธุแ ละ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 18 8 18 Ar 2 8 8 32 18 32 Kr 2 8 18 18 8 < 8 18 54 Xe 2 8 18 18 8 32 86 Rn 2 8 18 32 18 8 ตาราง 3 สมบัตบิ างประการของธาตุในคาบที่ 2 ธาตุ Li Be B C N O F Ne สมบัติของธาตุ เลขอะตอม 34 5 6 7 8 9 10 การจัดอิเลก็ ตรอน 2,1 2, 2 2, 3 2, 4 2, 5 2, 6 2, 7 2, 8 พลังงานไออไนเซชัน 526 906 807 1093 1407 1320 1687 2087 ลาํ ดับที่ 1 (kJ/mol) อิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 - รัศมอี ะตอม (pm) 123* 89* 80* 77* 74* 74* 72* 160** จดุ หลอมเหลว (oC) 180 1280 2030 3500 -210 -218 -220 -249 ชนิดของธาตุ โลหะ โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ อโลหะ อโลหะ อโลหะ อโลหะ * รศั มีโคเวเลนต ** รศั มวี นั เดอรวาลส 4. IE ของธาตุตามคาบเพ่มิ ตามหมูลด คา IE ของธาตุต่ําสุดตามเลขหมู 5B เรียง e = 2 3 IE1 < IE2 < IE3 << IE4 < IE5 800, 2500, 3600, 25,000, 32,000 ตาราง 4 สมบตั บิ างประการของธาตุในคาบท่ี 3 ธาตุ Na Mg Al Si P S Cl Ar สมบตั ิของธาตุ 14 2, 8, 4 เลขอะตอม 11 12 13 793 15 16 17 18 2, 8, 5 2, 8, 6 2, 8, 7 2, 8 ,8 การจัดอิเล็กตรอน 2, 8, 1 2, 8, 2 2, 8, 3 1.8 1018 1006 1257 1527 117* พลังงานไออไนเซชัน 502 744 548 1410 กึ่งโลหะ ลําดับที่ 1 (kJ/mol) อิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี 0.9 1.2 1.5 2.1 2.5 3.0 - 110* 104* 99* 192** รัศมีอะตอม (pm) 157* 136* 125* 44 113 -101 -189 อโลหะ อโลหะ อโลหะ อโลหะ จุดหลอมเหลว (oC) 98 649 660 ชนดิ ของธาตุ โลหะ โลหะ โลหะ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้เี ปนลขิ สิทธขิ์ องภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลยั หนา ท่2ี 2 เร่ือง ตารางธาตุ รศ.อินทิรา หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- * รศั มีโคเวเลนต ** รศั มีวนั เดอรวาลส 1. ธาตุ K, L และ M มเี ลขอะตอม 10, 14 และ 20 ตามลําดบั ธาตุทั้งสามควรอยใู นหมแู ละคาบใดตามลําดบั หมู คาบ หมู คาบ 1. 2, 4 ,8 และ 2, 3, 4 2. 4 ,8, 2 และ 3, 2, 4 3. 4, 2 ,8 และ 4, 3, 2 4. 8, 4 ,2 และ 2, 3, 4 2. ถาธาตุ A, B, C, D มีเลขอะตอมเปน 10, 20, 24 และ 36 ตามลาํ ดบั ธาตุใดจัดเปนธาตแุ ทรนซชิ ัน 1. A 2. B 3. C 4. D 3. ธาตุ 117 (สัญลกั ษณ A) ซ่งึ เปน ธาตุทีค่ นพบใหม นาจะมีสมบตั ิอยางไร (ก) เปน ของแข็งสีดํา มสี ูตรโมเลกุล A2 (ข) เกดิ สารประกอบธาตุคูไดห ลายชนิด เชน NaA, MgA2 เปนตน (ค) มขี นาดอะตอมใหญท่ีสดุ ในหมู (ง) มีจุดเดอื ด จุดหลอมเหลวตา่ํ กวาทุกธาตุในหมูเดยี วกนั 1. (ข) และ (ค) 2. (ข) และ (ง) 3. (ก), (ข) และ (ค) 4. (ก), (ข) และ (ง) 4. ธาตุ J และ Q มีสัญลกั ษณ 22 J และ 24 Q ตามลาํ ดับ ธาตุทงั้ สองชนิดมจี าํ นวนโปรตรอนและนิวตรอนตาง 10 16 กันเทาใด จํานวนโปรตรอนทีต่ างกนั จํานวนนิวตรอนทตี่ างกนั 1. 12 18 2. 12 12 3. 6 12 4. 6 6 5. ถาไอโซโทน คอื อะตอมจาํ นวนนิวตรอนเทากนั และ ไอโซบาร คือ อะตอมทมี่ เี ลขมวลเทา กัน จากสญั ลักษณน วิ เคลียรต อ ไป A A B B C C D D18 19 19 20 20 21 21 23 9 9 10 10 11 11 12 12 ขอใดไมถ กู ตอง 1. 18 A กบั B19 เปนไอโซโทน แตไมเปน ไอโซบาร 9 19 10 9 A D23 2. กับ ไมเปน ไอโซโทน และไมเปนไอโซบาร 12 C C20 21 11 11 -----------------21-00--B----------12-11-C----------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลิขสิทธิ์ของภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลยั หนาท่ี23 เร่ือง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพนั ธุและ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. กับ ไมเปนไอโซโทน แตเปนไอโซโทป 4. กบั เปนไอโซบาร แตไมเ ปนไอโซโทน 6. ถา ยงิ 10 B ดว ยรงั สีแอลฟาไดน วิ ตรอนกบั ไอโซโทป X ซึ่งสลายตวั ใหร งั สโี พซติ รอนกับไอโซโทป Y 5 X และ Y ควรมสี ัญลักษณอ ะไรตามลาํ ดับ 13 13 14 13 14 1. 7 N, 6 C 2. 7 N , 6 C 3. 7 N , 12 C 4. 13 N , 12 C 6 7 6 7. จากสมการนิวเคลียรต อไปน้ี ในขอ ใดแผร ังสีเบตา 1. 66 Cu 65 Zn + …….. 29 30 U238 U234 2. + …….. 92 90 16 15 3. 6 C 6 C + …….. 4. 222 Rn 222 Rn + …….. 86 86 8. ขอ ความเปรียบเทยี บสมบตั ิของธาตุหมู 1 และหมู 2 ในคาบเดยี วกนั ตอไปนี้ ขอใดไมถ กู ตอ ง 1. ธาตหุ มู 2 มีรศั มอี ะตอมใหญธ าตุหมู 1 2. อะตอมของธาตหุ มทู ี่ 2 มมี วลมากกวา อะตอมของธาตุหมทู ี่ 1 3. ธาตุหมู 2 มคี วามหนาแนนมากกวาธาตหุ มู 1 4. ธาตุหมู 2 มีคาอเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ติ สี งู กวา ธาตุหมู 1 9. A เปนธาตุหมู V คาบที่ 3 B มีเลขอะตอมสูงกวา A อยู 5 และมีเลขมวล 40 C เปนธาตุที่อยูถัด B ไปทางขวาและมีนิวตรอน มากกวา B อยู 5 ขอ สรปุ ใดผดิ C45 1. สัญลักษณน วิ เคลียรข อง C คือ 21 2. คา IE1 เปรยี บเทียบกนั ไดด ังน้ี B < C < A 3. C จัดเปน อิเล็กตรอนดงั นี้ 2, 8 ,9 ,2 4. B เปนโลหะแทรนซิชนั 10. ธาตุ X Y และ Z มีเลขอะตอม 19 20 และ 37 ตามลาํ ดับ การเปรียบเทยี บสมบตั ิของ X Y และ Z ขอใดตอ ไปนไ้ี มถ กู ตอ ง 1. อิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี Y > X > Z 2. ขนาดอะตอม Z > X > Y 3. พลงั งานไอออไนเซชนั ลาํ ดบั ท่ี 1 X > Y > Z 4. จดุ เดอื ดและจุดหลอมเหลว Y > X > Z 11. ธาตุ A และ B มีรัศมีอะตอม 180 และ 92 pm ตามลําดับ รัศมีไอออนของธาตุ A และ B เทากับ 90 และ 180 pm ตามลําดับ เลข อะตอมของ A และ B ตามลาํ ดับในขอ ใดเปนไปไดมากทีส่ ุด 1. 19, 35 2. 20, 25 3. 34, 37 4. 30, 31 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้ีเปนลิขสิทธิข์ องภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนาท่2ี 4 เรอื่ ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 12. กําหนดเลขอะตอมของ O, F, Na, Mg และ Al เทากับ 8,9, 11, 12 และ 13 ตามลาํ ดับ การเรียงลําดับขนาดของไอออน O2-, F-, Na+, Mg2+ และ Al3+ ในขอใดถูก 1. O2- > F- > Na+ > Mg2+ > Al3+ 2. Al3+ > Mg2+ > Na+ > F- > O2- 3. Na+ > Mg2+ > Al3+ > O2- > F- 4. O2- > F- > Al3+> Mg2+ > Na+ 13. กราฟตอ ไปนใี้ ชแ สดงความสมั พนั ธในขอใดไมไ ด แกนต้งั แกนนอน เลขอะตอมของ He, Ne, Ar, Kr, Xe 1. IE1 เลขอะตอมของ Na, Mg, Al, Si, P, S, Cl 2. รศั มีอะตอม เลขอะตอมของ Li, Na, K, Rb, Cs เลขอะตอมของ Li, Na, K, Rb, Cs 3. จดุ หลอมเหลว 4. Eo (M+ + e- M) 14. กําหนดสมบตั ขิ องธาตุ A B C และ D ดังน้ี ธาตุ สมบตั ิ A เปน ของแข็ง คลอไรดของ A เปนของเหลวไมละลายนํา้ ออกไซดข อง A เปนกาซที่เมื่อผาน สารละลาย Ca(OH)2 เกดิ ตะกอนขนุ ขาว B เปน ของแข็ง วองไวตอ ปฏกิ ิรยิ ามาก มคี า IE1 = 495 kJ/mol และ IE2 = 4562 kJ/mol C เปน กา ซ โมเลกุลเปนอะตอมเดีย่ ว ไมว อ งไวตอ ปฏิกริ ิยา D เปนกา ซ โมเลกุลเปนอะตอมคู ทาํ ปฏกิ ริ ิยากับธาตุ B ไดสาร B2D การเรยี งลาํ ดบั ธาตทุ มี่ เี วเลนตอเิ ล็กตรอนจากมากไปนอ ย ขอ ใดถูกตอ ง 1. A > B > C > D 2. B > C > D > A 3. C > D > A > B 4. D > A > B > C 15. ธาตุ A, B, C และ D อยูใ นคาบเดียวกนั มสี มบตั ิดนั ้ี ธาตุ A ท่ีอุณหภมู หิ อ งเปน กา ซ โมเลกุลเปนอะตอมคู เมอื่ ทําปฏิกริ ิยากับธาตุ D ไดสารทมี่ สี ตู รอยา งงาย DA ซ่งึ DA เปน ของแขง็ ไมน าํ ไฟฟา แตใ นสารละลายนํ้านาํ ไฟฟา ธาตุ B ทาํ ปฏิกิรยิ ากับธาตุ A ไดสารประกอบ BA2 ซึง่ สารละลายนลี้ ะลายน้าํ แลวนาํ ไฟฟาไดดี ธาตุ B มีจดุ หลอมเหลวสูงกวา D ธาตุ C มอี ณุ หภมู หิ องเปน กา ซอะตอมเดยี ว ไมวองไวตอปฏกิ ิรยิ า ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนีเ้ ปนลิขสทิ ธ์ขิ องภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลัย หนา ที่25 เร่ือง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพนั ธุแ ละ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ธาตุ D ทาํ ปฏกิ ริ ิยากบั นา้ํ อยางรวดเร็ว ไดกา ซทีจ่ ุดตดิ ไฟได ธาตุ D มคี า IE1 = 495.8 kJ/mol, IE2 = 4,562 kJ/mol การเรยี งลําดับของธาตตุ ามการเพ่มิ ขน้ึ ของเลขหมขู อ ใดถกู ตอ ง 1. D, B, A, C 2. A, B, C, D 3. D, A, C, D 4. B, A, D, C 16. สมบัตขิ องธาตตุ างๆ ขอ ใดถูก ธาตุ สมบตั ิ 1. Mg มีรศั มอี ะตอมเล็กทสี่ ุดในบรรดา 4 ธาตุในขอนี้ 2. Al เปน ตวั รีดิวซทีด่ ีท่สี ดุ ในบรรดา 4 ธาตุในขอน้ี 3. P สารประกอบชนดิ หนง่ึ ควบคุมความเปน กรด-เบสในเลือดและในอุตสาหกรรมใชท าํ ปยุ 4. S การจดั เรยี ง e ในอะตอม อยูในรูป 2, 8, 8, 2 17. สมบตั ิของธาตุหมตู า งๆ ขอ ใดถูก สมบตั ิ หมธู าตุ มีธาตุทมี่ ี EN สงู กวาธาตอุ นื่ ธาตุในหมนู ้ีมีวาเลนตอ ิเลก็ ตรอน = 2 1. แฮโลเจน มีธาตุที่มีขนาดใหญก วา ธาตอุ ่ืน 2. โลหะอลั คาไล ธาตใุ นหมเู กดิ สารประกอบโคเวเลนตไ ดนอ ย สวนใหญเ กิด 3. โลหะอัลคาไลนเ อริ ท ไอออนเวเลนต = 1 4. กาซมตี ระกลู 18. พิจารณาหมแู ละคาบของธาตุ A, B, C, D และ E ตอไปน้ี ธาตุ หมู คาบ A1 2 B2 3 C2 4 D5 3 E6 2 ขนาดของอะตอมเรียงจากใหญไ ปเล็ก เปนไปตามขอใด 1. A > B > C > D > E 2. B > D > A > C > E 3. C > B > D > A > E 4. D > A > E > C > B 19. ธาตุในหมู VII ซ่ึงเรียงจากบนลงลางมี F, Cl, Br และ I ตามลําดับ เมื่อธาตุเหลานี้ทําปฏิกิริยากัน จะไดสารประกอบเปน โมเลกุลท่มี ขี วั้ โมเลกุลทีเ่ กดิ ข้นึ ตามขอ ใดตอ ไปนเ้ี ปน ขอถูกตอง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปน ลขิ สิทธ์ิของภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลัย หนา ท2่ี 6 เร่อื ง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพนั ธุและ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. F+ Cl- 2. Cl+ Br- 3. Br+ I- 4. I+ Cl- 20. ในแตละธาตุที่มีพลังงานไอออไนเซชนั ตํ่าสุด ไดแก ธาตทุ ่มี อี ิเลก็ ตรอนวงนอกสดุ เทา กับ 1. 1 2. 3 3. 5 4. 7 21. แคลเซียมไอออนมีอเิ ล็กตรอนไมเ ทา กับไอออนใด 1. คลอไรด 2. โปตัสเซยี มไอออน 3. ซัลไฟด 4. แมกนีเซยี มไอออน 22. การเรยี งขนาด หรือรัศมจี ากนอ ยไปมากของ Al, B, C, K และ Na ขอใดถูกตอ ง 1. B, C, Na, Al, K 2. B, C, Al, K, Na 3. C, B, Al, Na, K 4. C, B, Na, K, Al 23. เม่ือใชพลังงานทําใหอิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกจากอะตอมกลายเปนไอออนท่ีมีประจุหนึ่งบวก อิเล็กตรอนท่ีเหลือในไอออน นจี้ ะมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา งไรเมือ่ เทยี บกบั อะตอมปกติ โดยเฉลีย่ 1. อเิ ลก็ ตรอนจะเคลี่อนเขาใกลนิวเคลยี สมากขน้ึ 2. อเิ ลก็ ตรอนจะเคล่อี นทไี่ กลออกไปจากนวิ เคลยี ส 3. อิเล็กตรอนจะยังคงทีไ่ กลออกไปจากนิวเคลยี ส 4. อิเล็กตรอนจะยงั คงอยใู นตาํ แหนงเดิม หรอื อาจจะเคลอื่ นทเี่ ขาใกลนวิ เคลยี สมากขึ้น 24. ธาตุ X มีพลังงานไอออไนเซชัน (IE) ลําดับตางๆ จาก IE1, IE2, IE3,….. เปนดังน้ี 0.79, 1.58, 3.24, 4.36, 16.09, 19.79, 23.79,…..kJ/mol ตามลําดับ ถาธาตุ X อยูในคาบท่ี 3 และมีจํานวนนิวตรอนเทากับ 16 สัญลักษณนิวเคลียรของ X นาจะเปน อยา งไร 1. X28 2. X30 3. X31 4. X32 12 14 15 16 25. จากขอ มูลพลังงานไอออไนเซชนั (kJ/mol) 5 อันดบั แรกของธาตุท่ีกําหนด IE4 IE5 ธาตุ IE1 IE2 IE3 9.550 13.356 A 0.502 4.569 6.919 6.480 8.150 B 0.596 1.152 4.918 4.963 6.280 C 1.018 1.190 2.918 6.229 37.838 D 1.093 2.359 4.624 ออกไซดของธาตุคูใดท่ีเม่ือละลายนา้ํ แลวมี pH มากกวา 7 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเี้ ปนลขิ สิทธ์ิของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลยั หนาท่ี27 เรือ่ ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพนั ธแุ ละ ผศ.ดร. บัญชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. A และ B 2. B และ C 3. C และ D 4. D และ A 26. ไอออน A2+ มีจํานวนอิเล็กตรอน = 11 อะตอม B มีจํานวนอเิ ล็กตรอน = 17 สารประกอบระหวาง A และ B มีสตู รอยางไร และ สารละลายของสารประกอบนม้ี ีสมบตั ิอยางไร 1. AB, เปน กลาง 2. AB2, เปนกลาง 3. A2B3, เปนกรด 4. AB3, เปนกรด 27. จากตารางขอใดผิด C X E FY B DZ A 1. ธาตุ A นําไฟฟา ไดดี และเปน ตวั ออกซไิ ดสท่ีแรงมาก 2. ธาตุ B มเี วเลนตอ เิ ลก็ ตรอนเทากบั 2 และวอ งไวนอ ยกวาธาตุ A 3. ธาตุ C มีจดุ หลอมเหลวและจดุ เดือดสูงมาก 4. ธาตุ D มสี มบตั เิ ปน โลหะมากกวาธาตุ E คาํ ชี้แจง ขอ มูลตอ ไปน้ใี ชต อบคําถามขอ 28-32 GJ A HI K C BD EF 28. ธาตุใดทส่ี ามารถเกดิ สารประกอบแลวมีเลขออกซิเดชนั ไดห ลายคา 1. A 2. C 3. D 4. K 29. สารใดจดั เปน สารประกอบไอออนิกทถี่ กู ตอ ง 1. AB2 2. AG3 3. CJ2 4. H2J 30. สารประกอบคลอไรดของธาตุใดมรี ปู รางเปน สามเหลย่ี มแบนราบ 1. D 2. G 3. I 4. J 31. สารประกอบออกไซดของธาตใุ ดทล่ี ะลายนํา้ แลว สามารถเปลี่ยนสีของกระดาษจากสแี ดงเปนสีนํ้าเงิน 1. A 2. D 3. H 4. I 32. ธาตุใดมจี ดุ เดือดตํ่าสดุ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปน ลิขสทิ ธิข์ องภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวิทยาลยั หนาท2ี่ 8 เร่ือง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพนั ธุและ ผศ.ดร. บญั ชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. C 2. D 3. J 4. K 33. A B C และ D เปนธาตุอยูในคาบท่ี 3 หมู IVA VIA VIIA และ VIIIA ตามลําดับ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวเรียงลําดับจาก นอยไปมากควรเปนอยา งไร 1. D < B < C < A 2. D < C < B < A 3. A < C < B < D 4. A < B < C < D 34. ตารางนแี้ สดงสมบัติของธาตุหมูเ ดียวกัน แตขอมลู ยงั ไมค รบ คาบ ธาตุ มวลอะตอม จดุ หลอมเหลว (oC) 181 2A 7 98 3B 23 39 4C 5D 85 6E ขอใดเปนการคาดคะเนทผ่ี ดิ 1. จุดหลอมเหลวของ C อยรู ะหวาง 40-90oC 2. มวลอะตอมของ C อยรู ะหวา ง 70-80 3. จดุ หลอมเหลวของ E นอ ยกวา 30 oC 4. มวลอะตอมของ E อยูร ะหวาง 70-80 35. ตารางแสดงสมบัติท่ีไมค รบบางอยา งของธาตหุ มเู ดยี วกัน ธาตุ มวลอะตอม จุดเดอื ด (oC) การนําไฟฟา A -196 ไมน ําไฟฟา B 209 C นาํ ไฟฟา D 75 575 ก่งึ ไฟฟา E 31 280 ขอใดเปน การทํานายแนวโนม ตามหมูผดิ 1. มวลอะตอมของ A ควรอยูระหวา ง 10-28 2. การนําไฟฟา ของ E ควรจะดกี วา D แตแยก วา C 3. จุดเดือดของ C ควรอยใู นชว งทีม่ ากกวา E แตนอยกวา B 4. ลําดับตามคาบจากนอ ยไปมากเปนดังน้ี A < E < D < C < B ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเี้ ปน ลขิ สิทธิข์ องภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลัย หนา ท2่ี 9 เรือ่ ง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพันธุและ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาํ ช้ีแจง ขอมลู ตอไปน้ีใชต อบคําถามขอ 36-39 คาบ หมู IV V I II III VI VII VIII hi 1 cd jkl 2ab pqr 3efg wx 4mn o 5 st 6u v 36. ธาตใุ นคาบที่ 3 เกดิ ออกไซดทม่ี ีความเปน เบสสูงสุด 1. f 2. g 3. j 4. k 37. ธาตใุ ดมีพลังงานไอออไนเซชันตํา่ ทสี่ ดุ 1. a 2. u 3. d 4. x 38. ธาตุคูใดทจี่ ะรวมกันไดสารประกอบท่มี ีความเปนโคเวเลนตสงู สดุ 1. c และ h 2. c และ n 3. c และ j 4. c และ u 39. ธาตุใดเปน โลหะ ซ่ึงทําปฏกิ ิริยากับอโลหะไดส ารประกอบท่มี ีอัตราสวนโมลของโลหะตออโลหะเปน 3:2 1. m และ q 2. f และ i 3. h และ i 4. o และ q 40. สารประกอบคลอไรดของธาตุ A ไมมีสี ละลายนํ้ามีสมบัติเปนเบส นํามาทําปฏิกิริยากับสารละลาย Na2CO3 ไดตะกอนขาว เมื่อนําตะกอนนี้มาเผาไดเปลวไฟสีแดง และผงสีขาว ผงสีขาวนี้ละลายนํ้าไดสารละลายมี pH > 7 ธาตุ A ควรมีการจัด อิเลก็ ตรอนแบบใด 1. 2, 8, 18, 1 2. 2, 8, 18, 8, 2 3. 2, 8, 15, 2 4. 2, 8, 18, 18, 1 41. ปฏิกริ ยิ าระหวางธาตสุ องชนดิ เกิดเปน สารประกอบธาตุคู ขอ มลู ใดถกู ตอง จาํ นวนอะตอม อตั ราสวน ชนิดของพันธะ สมบัติเมื่อละลายน้ํา กรด (ก) คลอรีนกบั โบรมนี 1:1 โคเวเลนต กรด กลาง (ข) คารบอนกับกาํ มะถนั 1:2 ไอออนิก เบส (ค) คลอรนี กบั เหลก็ 2 : 1 โคเวเลนต (ง) โซเดียมกบั ออกซเิ จน 2:1 ไอออนิก 1. (ก) และ (ข) 2. (ก) และ (ง) 3. (ก), (ข) และ (ง) 4. (ก), (ค) และ (ง) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลขิ สทิ ธขิ์ องภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวทิ ยาลัย หนาที3่ 0 เรอื่ ง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพันธุและ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 42. ขวดบรรจุสารเคมีเกาใบหน่ึงไมมีฉลากกํากับไว สารในขวดดูดความชื้นจากอากาศจนละลายหมดเปนของเหลวสีเหลืองเขม นําสารละลายนม้ี าเจือจางดว ยนํ้า และทดสอบดวยวิธีตางๆ กลาวคือ ทดสอบความเปนกรด-เบส พบวาเปนกรด ทดสอบการนํา ไฟฟา พบวานําไฟฟา ได ทดสอบกับสารละลาย AgNO3 ไดต ะกอนสีขาว ทดสอบกับสารละลาย NH4SCN ไดสารละลายสีแดง สารในขวดนี้นา จะเปน สารใด 1. (NH4)2Fe(SO4)2 2. FeCl3 3. PCl5 4. CrCl3 43. ไอออนในขอใดมรี ูปรา งเหมอื นกัน 2. NO3- , ClO3- 4. NO3- , SO32- 1. CO32- , SO32- 3. CO32- , NO3- 44. ขอ ใดแสดงสมบตั ขิ อง AxBy ทีเ่ กดิ จากสาร 2 ชนดิ (A และ B) รวมตวั กนั ไดถ ูกตอง รูปรา งโมเลกุล ขอ ธาตุ A ธาตุ B สูตร ชนิดพันธะ สภาพขั้วของโมเลกลุ สามเหลีย่ มแบนราบ 1C H C2H2 โควาเลนต มี เสนตรง 2 Na Cl NaCl ไอออนิก ไมม ี ทรงสี่หนา 3 Xe F XeF4 ไอออนิก ไมมี มมุ งอ 4N O NO2 โคเวเลนต มี 45. ธาตุ X และ Y มเี ลขอะตอม 12 และ 34 ตามลําดบั ออกไซดข อง X และ Y ในขอ ใดถูกตอง ขอ สูตร สมบัตกิ รด-เบส (ตามลาํ ดบั ) 1 XO2 , YO2 กรด, กรด 2 XO2 ,Y2O เบส, กรด 3 XO , YO2 เบส, กรด 4 XO , YO3 เบส, เบส 46. นําสารละลาย A B C D ท่ีมีความเขมขนเทากัน ทดสอบความสามารถในการนําไฟฟาจากความสวางของหลอดไฟ และสมบัติ กรด-เบสของสารจากสีของกระดาษลิตมัส ไดผ ลการทดลองดังนี้ สารละลาย การเปลย่ี นสีกระดาษลิตมัส ความสวา งของหลอดไฟ A นํ้าเงนิ แดง สวา ง B ไมเปลย่ี นสี สวา งมาก C แดง น้ําเงิน สวางเล็กนอย D ไมเ ปลย่ี นสี ไมสวา ง สารละลาย A, B, C, D อาจเปนสารละลายใดตามลาํ ดับ 1. CH3COOH NaCl NaOH CH3COCH3 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลิขสทิ ธข์ิ องภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลัย หนาที่31 เรือ่ ง ตารางธาตุ รศ.อินทริ า หาญพงษพนั ธแุ ละ ผศ.ดร. บัญชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. HCl KMnO4 CH3COONa I2 Na2SO4 NH4OH C12H22O11 3. NH4Cl KNO3 NH4Cl NH2CONH2 4. H2SO4 47. ธาตสุ มมุติ P, Q, R และ S อยูในคาบเดียวกัน เม่ือธาตุเหลาน้ีทําปฏิกิริยากับคลอรีนจะใหสารประกอบ PCl2, QCl4, RCl3, และ SCl2 สาร QCl4 และ SCl2 เปน สารที่ไมม ีขัว้ สาร RCl3 และ QCl4 ไมละลายน้ํา สวน PCl2 ละลายน้ํามีสมบัติเปน กรด ลําดับเลข อะตอมของธาตุเหลา นเี้ รยี งจากนอยไปมากควรเปน อยา งไร 1. S, Q, R, P 2. P, Q, R, S 3. P, S, Q, R 4. R, S, P,Q 48. ชุด สารละลาย A สารละลาย B 1 NaCl Pb(NO3)2 2 Na2S ZnSO4 3 Al(NO3)3 KOH 4 KI Mg(OH)2 เมอ่ื นาํ สารละลายใสไมม สี ี A และ B ในแตล ะชุดรวมกันเขา การทดลองชุดใดใหผลแบบเดียวกัน 1. ชดุ 1, 2 และ 3 2. ชุด 1, 2 และ 4 2. ชุด 1, 3 และ 4 3. ชุด 2, 3 และ 4 49. ถาการเกิดสขี องสารในช้นั ของ เปน ดงั นี้ X2 เกดิ สเี ขียว Y2 เกดิ สชี มพู Z2 เกิดสีเหลือง ตารางขางลา งแสดงการเกดิ สใี นชั้น CCl4 เม่ือผสมสารละลายชนิดตางๆ สารละลาย การเปลย่ี นแปลงที่เกดิ ขึน้ เมื่อเติมสารละลาย ท่ีมีไอออน (X2 + CCl4) (Y2 + CCl4) (Z2 + CCl4) X- เขียว เขยี ว เหลือง Y- เขยี ว ชมพู เหลือง Z- เหลือง เหลือง เหลือง ลาํ ดับความแรงของตวั รดี วิ ซเปน ดงั ขอใด 1. Z2 > X2 > Y2 2. X2 > Y2 > Z2 3. Z- > X- > Y- 4. X- > Y- > Z- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนีเ้ ปน ลขิ สิทธ์ิของภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปด ประตูสูมหาวิทยาลยั หนาที่32 เรื่อง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทิรา หาญพงษพนั ธแุ ละ ผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 50. ออกไซดในขอ ใดประกอบดวย เบสกิ ออกไซด แอซดิ กิ ออกไซด และแอมโฟเทอริกออกไซด ตามลําดับ 1. Al2O3 SiO2 P4O10 2. MgO P4O10 Al2O3 3. MgO P4O10 SO3 4. Na2O MgO Al2O3 51. เม่อื ผา นกาซคลอรีนหรอื กาซไฮโดรเจนคลอไรดไ ปบนโลหะ M ท่ีเผารอน ปรากฎวาไดสารประกอบคลอไรดของโลหะ M เกดิ ข้ึน เมอ่ื นาํ สารประกอบดังกลา วนมี้ าละลายนาํ้ พบวา สารละลายไมม ีสี และมสี มบตั ิเปนกรด M นา จะเปน โลหะใด 1. อลมู เิ นยี ม 2. เหล็ก 3. แบเรยี ม 4. คอปเปอร 52. ธาตุ X นําไฟฟาได ไมละลายนํ้า แตละลายไดในกรด HCl เกิดกาซและสารละลายไมมีสี เมื่อเติมสารละลาย NaOH ลงใน สารละลายทีละนอย พบวาเกิดตะกอนวุนซ่ึงจะหายไดเม่ือเติม NaOH เกินพอ เตรียมตะกอนวุนใหม พบวาละลายในกรดดวย ขอสรุปใดมีความเปน ไปไดมากที่สุด 1. กา ซทเ่ี กดิ ขึน้ คอื Cl2 2. ตะกอนวนุ คือ สารประกอบไฮดรอกไซดของ X ซึง่ มสี มบัตเิ ปน ท้งั กรด และเบส 3. X เปน โลหะแทรนซิชนั 4. เมือ่ นําสารละลายไมม ีสีดงั กลา ว ไประเหยจนแหงจะไดส ารประกอบไฮดรอกไซดของ X 53. ปฏิกริ ยิ าในขอใดไมเกดิ ข้ึนตามทแ่ี สดง 1. เติมสารละลาย Na2SO4 ในสารละลาย BaCl2 ไมเ ห็นการเปล่ียนแปลง 2. ใสช ิ้นโซเดยี มลงในน้ําเย็น เกิดกา ซทนั ที 3. เติมเกล็ดไอโอดีนลงในสารละลาย NaCl ไอโอดีนละลายชา ๆ แตถ าเติม CCl4 ลงไปดวย และเขยาจะเห็นช้ัน CCl4 เปน สีมว ง 4. เม่อื เตมิ สารละลายแอมโมเนยี มลงในสารละลาย CuSO4 จะเกิดตะกอนวุนสฟี า ซ่งึ ละลายไดเ มือ่ มแี อมโมเนยี เกนิ พอ 54. กลมุ สารประกอบในขอใดทีม่ ีธาตุชนิดเดยี วกัน แสดงเลขออกซเิ ดชนั ตา งกนั 1. SOCl2 , Na2SO3 2. CoCl2 , K2[CoCl4] 4. H2S , LiH ⋅2. K4[Fe(CN)6] , FeSO4 7H2O 55. กําหนดคา อิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ขี องพอลลงิ ดงั น้ี อะตอม คา อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ติ ี H 2.2 B 2.0 C 2.5 N 3.0 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายน้เี ปนลิขสทิ ธิข์ องภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลยั หนา ท่3ี 3 เร่ือง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพันธแุ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พูลโภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- F 4.0 S 2.6 ขอใดตอ ไปนม้ี คี วามเปน พันธะไอออนิก ลําดบั 1. H-F // H-N // H-B // H-C // H-S 2. H-N // H-F // H-B // H-C // H-S 3. H-F // H-N // H-S // H-C // H-B 4. H-S // H-N // H-F // H-C // H-B 56. ธาตุ A เปนกา ซทอี่ ุณหภูมหิ อ ง อยูค าบที่ 5 การทาํ นายเก่ียวกบั สารประกอบฟลูออไรด AF2 ตอไปนขี้ อใดนาจะเปนไปได 1. เปนสารประกอบไอออนิก 2. เปน สารประกอบโคเวเลนตแ บบโครงรางตาขาย 3. โมเลกลุ มรี ูปรางเปน เสนตรง 4. การสรา งพันธะเปน ไปตามกฎออกเตต 57. ธาตุ Q และ R มีเลขอะตอม 5 และ 35 ตามลําดับ สารประกอบคลอไรดและสารประกอบระหวาง Q กับ R ควรเปนไปตามขอ ใด ขอ คลอไรดของ Q คลอไรดของ R สารประกอบระหวา ง Q-R 1 QCl3 เปนกรด RCl โมเลกลุ มขี วั้ QR3 Q มีเลขออกซิเดชนั +3 2 QCl เปนกรด QR3 โมเลกลุ ไมม ีข้ัว RCl เปน กรด Q3R Q มีเลขออกซเิ ดชัน +1 3 QCl เปนกลาง Q3R โมเลกุลมขี ั้ว 4 QCl3 ไมล ะลายนาํ้ RCl3 โมเลกุลไมมีข้วั RCl3 ไมล ะลายน้ํา 58. มุมพนั ธะของโมเลกลุ ใดมีคาแคบทส่ี ดุ 1. BeH2 2. BF3 3. H2S 4. CH4 59. โมเลกุลตอไปนีจ้ ัดเปน โมเลกลุ มขี ั้ว 1. CO2 2. BeH2 3. BCl3 4. NCl3 60. โมเลกลุ และไอออนในขอใด มีจาํ นวนอิเล็กตรอนทง้ั หมดเทากนั 1. CO O2 CN- NO+ 2. O2 CN- NO+ N2 3. CN- NO+ N2 CO 4. NO+ N2 CO O2 61. สารละลายคใู ด เมอื่ ผสมกันแลวมีตะกอนเกดิ ขน้ึ 2. Ca(OH)2 + HCl 4. LiOH + MnCl 1. NaOH + HNO3 3. NiCl2 + Na2SO3 62. ธาตุท่ีขีดเสน ใตในขอ ใดมเี ลขออกซเิ ดชนั เรยี งตามลําดับ ดังน้ี +5, +3, +1, -2 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเ้ี ปน ลขิ สทิ ธข์ิ องภาควชิ าเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย

เอกสารประกอบการสอนโครงการเปดประตูสูมหาวทิ ยาลัย หนาท่3ี 4 เรื่อง ตารางธาตุ รศ.อนิ ทริ า หาญพงษพนั ธุแ ละ ผศ.ดร. บญั ชา พลู โภคา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. K4P2O7 NaAuCl4 ICl K2S 2. K4P2O7 Ca(ClO2)2 ICl OF2 3. MnO42- NaAuCl4 OF2 K2S 4. MnO42- Ca(ClO2)2 ICl K2S 63. เลขออกซิเดชนั ของ Cr ใน Cr2O72-(aq) , CrO42-(aq) และ K3Cr(CN)6(s) ตามลาํ ดับ ตรงกบั ขอ ใด 1. +7, +4 และ +3 2. +6, +5 และ +2 3. +6, +6 และ +3 4. +6, +6 และ +2 เฉลยคาํ ตอบ 1. 4 16. 3 31. 1 46. 3 61. 4 2. 3 17. 1 32. 4 47. 1 62. 1 3. 3 18. 3 33. 2 48. 1 63. 3 4. 4 19. 4 34. 4 49. 3 5. 4 20. 1 35. 2 50. 2 6. 2 21. 4 36. 1 51. 1 7. 1 22. 3 37. 2 52. 2 8. 1 23. 1 38. 3 53. 1 9. 4 24. 2 39. 2 54. 4 10. 3 25. 1 40. 2 55. 3 11. 1 26. 4 41. 2 56. 3 12. 1 27. 1 42. 2 57. 1 13. 4 28. 3 43. 3 58. 3 14. 3 29. 3 44. 4 59. 4 15. 1 30. 2 45. 3 60. 2 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการบรรยายนเี้ ปน ลิขสทิ ธ์ขิ องภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook