Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ

เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ

Description: เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ

Search

Read the Text Version

เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ บทบาทและเทคนคิ การเป็นวิทยากร การเป็นวทิ ยากรนั้นใคร ๆ กเ็ ปน็ ได้ แต่การเปน็ วทิ ยากรท่ดี ีคงไมง่ า่ ยอยา่ งทีค่ ดิ กัน เพราะการทา หน้าท่วี ทิ ยากรมคี วามจาเปน็ ตอ้ งอาศัยการพูดหรอื การส่อื สารเปน็ อย่างมาก ถา้ ไมไ่ ด้รับการฝกึ ฝนอบรมเป็น อย่างดกี ็คงจะทาหน้าทว่ี ทิ ยากรไดไ้ มส่ าเรจ็ หรอื สาเรจ็ ได้ก็ไมด่ ีเปรียบไปแล้วการพดู กเ็ หมือนการวา่ ยน้า ถ้ามัว แต่อ่านหรอื ท่องตาราโดยไม่ลงนา้ หรอื กระโดดลงน้าเสียบา้ งกไ็ ม่อาจจะว่ายน้าเปน็ ไดเ้ ลย ผทู้ ศ่ี ึกษา หลกั การ ทฤษฎี วิชา วา่ ยน้าเพยี งแตอ่ า่ นตาราก็คงจะจมนา้ ตาย เม่อื ต้องลงสระเสมอื นผู้ท่ีศรัทธาวิชาการ พูด เพียงแตศ่ กึ ษาทฤษฎีกอ็ าจตกมา้ ตายเมือ่ ขึ้นเวที ดังน้ัน การเปน็ วทิ ยากรท่ีดแี ละมปี ระสทิ ธภิ าพนั้น จะตอ้ งเป็นผมู้ คี วามรู้ความสามารถ ทกั ษะ เทคนคิ ต่าง ๆ ในหลาย ๆ ดา้ น เช่น การพดู การสื่อสาร การจดั กิจกรรม ฯลฯ วทิ ยากร คือ ผู้ทที่ าหน้าที่เป็นตัวการสาคัญ ทจ่ี ะทาใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรม เกิดความรู้ความเขา้ ใจ เกดิ ทกั ษะ เกิดทัศนคตทิ ดี่ เี ก่ียวกบั เร่ืองที่อบรม จนกระทงั่ ผเู้ ข้ารบั การอบรมเกดิ การเรียนร้แู ละสามารถจดุ ประกาย ความคดิ เกดิ การเปล่ยี นแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรมไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องเร่อื งหรอื วิชานั้น ๆ เทคนคิ การเตรยี มตัวเปน็ วทิ ยากรทีด่ ี บางคนเชื่อว่าการเป็นวทิ ยากรทดี่ ีเกิดจากพรสวรรค์ แตบ่ างท่านกเ็ ชอ่ื ว่าเกดิ จากพร แสวง จะโดยพรประเภทใด ก็ตามวิทยากรทีด่ กี ็ควรจะรจู้ กั เทคนิควธิ ีการเตรยี มตัว ซ่ึงอาจกระทาได้หลายวธิ ี ด้วยกัน กลา่ วคอื ๑. การหาขอ้ มลู โดยวิธตี า่ ง ๆ เชน่ ๑.๑ อา่ นตาราหลาย ๆ ประเภท ๑.๒ ฟังจากคนอื่นเลา่ หรอื ฟงั จากเทปวิทยุ ๑.๓ ศึกษาจาก วิดี ทศั น์ รายการโทรทศั น์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๒. สะสมขอ้ มลู ตา่ ง ๆ โดยจัดเกบ็ เปน็ ระบบหรอื แบง่ เป็นประเภท เชน่ ๒.๑ ประเภทเพลง ๒.๒ ประเภทคาขวญั คากลอน สุภาษิต คาคม คาพังเพย และคาประพันธ์ตา่ ง ๆ ๒.๓ ประเภทคาผวน ๒.๔ ภาษาหกั มุม (คดิ สวนทางเพอ่ื ใหผ้ ฟู้ งั ฮา) ๒.๕ ลกู เล่นเป็นชุด หรือประเภทนิทานส้นั ๆ ๒.๖ ประเภทเชาว์ เช่น คาถามอะไรเอ่ย ฯลฯ ๒.๗ ประเภทเกมหรอื กจิ กรรม ๓. ศกึ ษาขอ้ มลู แต่ละประเภท พยายามจบั ประเด็นและหกั มมุ นาเขา้ ในเรอ่ื งที่จะเสนอให้ได้ ๔. หัดเลา่ ใหเ้ พอื่ นหรือคนอ่ืนฟงั ในวงเลก็ ๆ ก่อนโดยคานงึ ถงึ ๔.๑ การเรมิ่ เลา่ ใหเ้ ด็กฟงั และขยายวงถึงผ้ใู หญ่ ๔.๒ ตอ้ งพยายามหกั มุมตอนท้ายใหไ้ ด้ ๔.๓ ใช้น้าเสยี งทเี่ หมาะสมในการเล่า

๔.๔ ใช้ลลี าหรือกริ ยิ าทา่ ทางประกอบการเลา่ อยา่ งไรกด็ มี ีผเู้ ปรียบเทยี บวา่ การเปน็ นกั พูดหรอื วิทยากรท่ดี กี เ็ หมอื นกบั เดก็ หัดขี่จกั รยานน่ันเอง โดยยกตัวอย่างแสดงไว้ใหเ้ ห็นชดั เจนดงั น้ี ๑. เดก็ อยากไดจ้ กั รยาน : อยากเป็นวิทยากรมอื อาชีพ ๒. หัดขี่แล้วมักจะล้ม : ฝึกพูดอาจจะไมส่ าเรจ็ ในบางครงั้ ๓. หดั ข่ีใหเ้ ป็น : ฝกึ พดู ใหเ้ ป็นวธิ ีการ / หลักการ ๔. ขีท่ ุกวันกจ็ ะเกิดความชานาญ : ฝึกหรือแสดงบอ่ ย ๆ จะชานาญ คณุ สมบัตขิ องวิทยากรท่ีดีและมีประสิทธิภาพมดี งั น้ี ๑ คณุ ลกั ษณะทวั่ ไป ๑. มั่นใจในตนเอง เตรียมพรอ้ ม ซ้อมดี มสี อื่ และวธิ ีการ ทเ่ี หมาะสม ๒. เปน็ คนชา่ งสงั เกต คอยสงั เกตพฤติกรรมทางกาย วาจา ตลอดจนกระบวนการกลุ่มของผเู้ ข้ารบั การ อบรม ๓. มคี วามคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ ๔. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าเกง่ ๕. มกี ารวางแผนทีด่ ี ท้ังเนอ้ื หาและลาดบั ขั้นตอนการนาเสนอรวมท้งั สื่อและเคร่อื งมอื การสือ่ สาร ๖. มมี นุษย์สัมพันธท์ ีด่ ีและประสานงานเก่ง ๗. มบี ุคลิกภาพที่ดี ๘. มีความเปน็ กลั ยาณมิตร ย้มิ แยม้ แจ่มใส เป็นกันเอง คอยชว่ ยเหลือด้วยนา้ ใจ มคี วามเมตตา ยอมรบั ในความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและมีความเหน็ ใจของผู้เข้ารบั การอบรม ๙. เปน็ นกั ประชาธปิ ไตย มีความยืดหย่นุ รบั ฟังความคดิ เห็นของผอู้ ื่น ไมส่ รปุ ตดั บทง่าย ๆ เมื่อมผี ู้ เสนอความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกต่างออกไป ๑๐.มคี วามจริงใจในการถ่ายทอดความรู้ ๑๑.ปฏิบัตติ นต่อผูเ้ ขา้ รบั การอบรมอยา่ งเสมอภาค ทัดเทียม วางตนเหมาะสมกบั ทุกคน ๑๒.มีแบบฉบับลลี าที่เปน็ ของตนเองยอมรบั จุดเดน่ และจดุ ดอ้ ยของตนและ มคี วามภมู ิใจและเขา้ ใจ ใน บุคลิกภาพของตนเอง และใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ต่อ การเปน็ วทิ ยากร ๒. ต้องรจู้ ริง ๑. ตอ้ งเปน็ คนรอบรู้ ศึกษาหาความรู้อยูเ่ สมอ ๒. ตอ้ งรรู้ ายละเอยี ดในเรอื่ งนน้ั อยา่ งเพยี งพอ ๓. ตอ้ งเข้าใจเหตผุ ลของรายละเอยี ดนนั้ ๔. ตอ้ งรู้สมมติฐานหรอื ความเป็นมาของสง่ิ นนั้ ๕. ต้องสามารถประยกุ ต์สงิ่ นนั้ ใหเ้ ห็นเป็นจรงิ ได้ ๓. ถ่ายทอดเปน็ ๑. มีเทคนคิ ต่าง ๆ เชน่ การบรรยาย การนาอภปิ ราย การสัมมนา กรณีศกึ ษา การจดั กจิ กรรม ฯลฯ เพื่อทาให้เกิดความรู้ เข้าใจง่าย ไดส้ าระ

๒. พูดเปน็ คอื พดู แลว้ ทาใหผ้ ้ฟู ังเขา้ ใจตามทพี่ ูดไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ สามารถพูดเร่อื งยาก ซับซ้อนให้ เขา้ ใจงา่ ย ๓. ฟงั เปน็ คอื ตงั้ ใจฟงั ฟังให้ตลอด ขณะท่ีฟงั ตอ้ งควบคุมอารมณ์ ขณะทีฟ่ งั อยา่ คดิ คาตอบทนั ที และเทอ่ ฟงั จงฟัง เอาความหมายมากกว่าถ้อยคา ๔. นาเสนอเปน็ ประเดน็ ปละสรปุ ประเดน็ ใหช้ ดั เจน ๕. มอี ารมณข์ นั สร้างบรรยากาศในการอบรมได้อยา่ งเหมาะสม ๖. มปี ระสทิ ธิภาพในการอบรม สามารถเชอื่ มโยงทฤษฎเี ข้ากบั การปฏบิ ตั ไิ ด้ดี มองเหน็ เปน็ รปู ธรรม ๗. ใชภ้ าษาพดู ได้ดี ใชภ้ าษางา่ ย ๆ รู้จักเลอื กภาษาให้ตรงกบั เน้ือหาและตรงกับความตอ้ งการและ พนื้ ฐานความรู้ของผู้ฟงั ๔. มหี ลกั จิตวิทยาในการสอนผใู้ หญ่ ๑. ความสนใจในการรบั ฟงั จะเกิดขนึ้ จากการรบั รถู้ งึ เร่ืองทว่ี ิทยากรจะพดู หรือบรรยาย ๒. มงุ่ ประโยชน์ในการรบั ฟงั เปน็ สาคัญ ๓. จะต้งั ใจแลเรยี นรู้ได้ดี ถา้ วิทยากรแยกเรือ่ งท่สี อนออกเปน็ ประเด็น / ขัน้ ตอน ๔. จะเรยี นรู้ได้ดถี ้าไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิไปดว้ ยพรอ้ ม ๆ กบั การรบั ฟงั ๕. จะเรียนรู้ได้ดีย่งิ ขึ้น ถา้ ฝกึ แล้วไดท้ ราบผลของการปฏิบัตอิ ยา่ งรวดเร็ว ๖. จะ เรียนรูไ้ ด้ดเี มอื่ มกี ารฝกึ หัดอยเู่ สมอ ๗. จะเรียนรไู้ ด้ดเี ม่ือเปิดโอกาสให้ใช้เวลาในการทาความเข้าใจ อยา่ เรง่ รัด เพราะแตล่ ะคนมี ความสามารถในการเรียนร้ตู า่ งกัน ๕. มีจรรยาบรรณของวิทยากร ๑. เม่อื จะสอนตอ้ งมน่ั ใจว่ามีความรจู้ ริงในเร่ืองท่ีจะสอน ๒. ตอ้ งมุ่งประโยชนข์ องผู้ฟงั เปน็ ท่ตี ั้ง ๓. ไมค่ วรฉกฉวยโอกาสในการเปน็ วิทยากรเพอื่ แสวงหาผลประโยชนส์ ว่ นตัว ๔. ความประพฤติและการปฏบิ ัตติ นของวิทยากร ควรจะสอดคลอ้ งกบั เรอ่ื งท่สี อน นอกจากนย้ี งั มขี อ้ เสนอแนะทสี่ าคญั ในการเป็นวิทยากรทค่ี วรเสนอไวเ้ พมิ่ เตมิ อีกด้วยว่าวทิ ยากรท่ีดีจะ ๑. ตอ้ งมีกิจกรรมมากกวา่ การบรรยาย ๒. ตอ้ งมีการเตรียมตัวท่ดี ี ๓. ตอ้ งมีส่อื ช่วยให้เกดิ การเรียนรไู้ ด้ดี ๔. ต้องมกี ิจกรรมทส่ี อดคลอ้ งกบั เนือ้ หา เวลา และตรงเวลา ๕. ต้องใหค้ นตดิ ใจในการเรยี นรู้ มิใช่ติดใจในลลี าการแสดงเพราะวทิ ยากรไมใ่ ชน่ กั แสดง ๖. ต้องคานึงอยตู่ ลอดเวลาว่าวิทยากรมหี นา้ ทไ่ี ปทาใหเ้ ขาร้อู ยา่ ไปอวดความรแู้ กเ่ ขา และ วิทยากรไม่มหี น้าที่พูดให้คนอื่นงง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook