Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติวปี 4 ปี กศ. 60 อ.จีระวรรณ

ติวปี 4 ปี กศ. 60 อ.จีระวรรณ

Published by jeerawan, 2018-03-28 01:11:41

Description: ติวปี 4 ปี กศ. 60 อ.จีระวรรณ

Search

Read the Text Version

เราจะสง่ เสริมพัฒนาการ อย่างไรดีหลักการ 1. ทิศทางเดียวกันประเมนิ 2. ลาดบั แนน่ อนพัฒนาการ 3. ไวตอ่ การกระตนุ้ 4. ทักษะใหม่จะเดน่ กว่า 5. อตั ราเรว็ การเตบิ โต 6. ความแตกต่างในแต่ละคน 7. แตล่ ะด้านสมั พันธก์ นั

ชว่ งเวลาทอง…ของสมองทารกเริ่มตง้ั แตร่ ะยะที่ 2 คือ ต้ังแตอ่ ายุครรภ์18 สปั ดาหจ์ นทารกมอี ายุ 2 ขวบเพราะอายุ 2 ขวบไปแลว้ การพัฒนาของเส้นใยประสาทของสมองจะไม่คอ่ ยมีการเพมิ่ อีก หรือเพ่มิ นอ้ ย พัฒนาการ…ชาย/หญิง จะตา่ งกัน

1.การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการทางร่างกาย 1.รปู ร่างและสดั ส่วนกาย ในครรภ์สว่ นศรี ษะจะโตเรว็ เม่อื คลอด ลาตวั ของทารกจะ เป็นสดั ส่วนทีเ่ ติบโตเรว็ ทีส่ ุด ด้านชวี ภาพ พฒั นาเร็วมาก 2.อวัยวะและรูปร่างตา่ งๆ สมองและเซลล์ประสาท เตบิ โตเร็วสุดจนถงึ 4 ปี

3.น้าหนกั และสว่ นสงู สูตรคานวณน้าหนกั และความสงู ของเดก็แรกเกิด - 3 เดือน นา้ หนกั จะเพิ่ม 30 gm /วัน 3 เดอื น - 6 เดอื น เพ่มิ 20 gm /วนั อายุ 3 - 12 เดือน นา้ หนัก (กก.)=อายุ (เดือน) + 9 …….* 2 อายุ 1 – 6 ปี นา้ หนัก (กก.) = 2 x อายุ (ปี) + 8 …..** อายุ 7 – 12 ปี น้าหนัก (กก.) =7 x อายุ (ปี) – 5 ….*** 2 ความสูง อายุ 2 – 14 ปี ความสูง (ซม.)=6 x อายุ (ปี) + 77 ….**** อายุ 4 ปี – วัยรนุ่ ความสงู (ซม.)=100 + (อายเุ ป็นปี –4) X6 เซนตเิ มตร

อายุ นา้ หนกั ของทารก นา้ หนกัแรกเกดิ อัตราเพม่ิ จานวนเท่า 3 ของแรกเกิด 6 9 -- 110-4 เดือน 800กรมั /เดอื น 25-12 ด. 400กรัม/เดือน 31-2 ปี 2.5 กก . / ปี -

อายุ อัตราเพิ่ม จานวนเท่า ส่วนสงู 50 ซม.แรกเกิด - - 65 ซม.0-6 ด. 2.5 ซม./เดอื น -7-12 ด. 1.5 ซม./เดือน 0.5 (1ป)ี 75 ซม.1-2 ปี 10 ชม./เดือน 0.75 (2ป)ี 85 ซม.

วธิ ีการประเมินการเจรญิ เติบโตทดี่ ีทสี่ ดุ คอื การใช้ growth chartซ่ึงการจัดอันดบั ความรุนแรงของการขาดอาหารตามแบบโกเมซในเดก็อายแุ รกเกิดถงึ 6 ปีระดบั ความรนุ แรงของการ Weigh for age Height for age Weight for height ขาดสารอาหาร > 95 > 90 ปกติ > 90 90 - 95 81 - 90เลก็ นอ้ ย 75 - 90 85 - 89ปานกลาง 60 – 74 < 85 70 รุนแรง < 60 < 70

4. กระหม่อม (fobtanel) เปน็ รอยตอ่ ระหวา่ งกระดกู 3 – 4 ชนั้ ที่สาคญั คอืกระหม่อมหน้า (anterior fontanel) จะปดิ เม่อือายุ 11–18 เดือน ส่วนกระหมอ่ มหลัง (posteriorfontanel) จะปดิ เมือ่ อายุ 2 – 3 เดือน

5. เสน้ รอบศรี ษะ วัดจากขอบบนกระดกู เบ้าตา ไปส่วนนูนสุดของท้ายทอยคอื Frontal – occipital circumferenceแรกเกดิ 35+2 cm 6 เดอื นแรกจะเพ่มิ 1.25 ซม./เดอื น(42 + 2) 6 เดือนหลัง เพิ่ม 0.5 ซม./เดอื น (45+2)

รอบศรี ษะ และ รอบอกอายุ อัตราเพิ่ม รอบศีรษะ(ซม.) รอบอก(ซม.) แรกเกิด - 33 < 330-6 เดือน7-12 เดอื น 1.5 ซม ./ เดือน 42 ( 6 เดือน ) 42 ( 6 เดือน ) 1-2 ปี 0.5 ซม ./ เดือน 45 ( 1 ปี ) > 45 2-5 ปี 2 ซม . / ปี 47 ( 2 ปี ) > รอบศรี ษะ 5-18 ปี 1ซม . / ปี 50 ( 5 ปี ) > รอบศรี ษะ 0 . 5 ซม . / ปี 56 (18 ปี) > รอบศีรษะ

6. ฟนั ฟันนา้ นมจะเริ่มขนึ้ เม่อื อายุ 5–8 เดือน และจะขน้ึครบ20 ซี่ เมอ่ื อายุ 2-2 ปีครึ่ง โดยฟันหนา้ ซี่ใน 2 ซี่ลา่ งจะขนึ้ ก่อน เม่ืออายุ 6 ขวบ ฟนั นา้ นมจะเรมิ่ หลุดโดยมฟี นั แทข้ ้นึ ซ่งึ จะข้นึ ครบ 32 ซ่ี เมอ่ื อายุ17–35 ปี

พัฒนาการ พฒั นาการ เป็นการเปลย่ี นแปลงทีด่ าเนินไปอย่างมที ศิ ทาง และดาเนนิ ตลอดเวลา สามารถคาดกาลได้ สตปิ ญั ญา เปน็ สิง่ ทไ่ี ดร้ บั การถา่ ยทอดทางพันธกุ รรมและเกิดไดจ้ ากประสบการณ์และสิง่ แวดลอ้ มท่ไี ดร้ ับภายหลัง จึงรวมถึงทักษะความสามารถตลอดจน พฤตกิ รรมต่าง ๆ

ทฤษฎพี ฒั นาการของเปียเจต์เปน็ ความสามารถปรบั ตัวเองใหเ้ ขา้ กับสภาพแวดล้อม แบ่งออกเป็น 4 ระยะคือSensory Pre-operational Concrete Formalmoter Period (2-4 ปี Operational OperationalPeriod สังกัป =รจู้ กั คา(0-2ปี) 4-7 ปสี หสั ญาณ มี Period Period เหตุผลแบบรับร)ู้ (7-11 ปี=เหตผุ ล (11-15 ปี= เชิงรปู ธรรม) เหตผุ ล เชงิ นามธรรม)

ดา้ นอารมณ/์ สังคม 5 ระยะ ดงั นี้ทฤษฎขี องฟรอยด์1. Oral stage…0-2 ปี ส่งผลต่อการพูด 2. Anal stage…2-3 ปี สง่ ผลต่อระเบยี บวินยั 3. Phallic stage…3-6 ปี เลยี นแบบพ่อแม่ 4. Latency stage…6-12 ปี สนใจส่ิงแวดลอ้ ม/เพ่อื น 5. Genital stage…12 ปีขนึ้ ไป มีแรงขบั ทางเพศสงู (Libido)

Reflex พ้ืนฐานของทารก1. ปฏกิ ริ ิยาสะทอ้ นทางปาก (Oral Reflex)1.1. ปฏกิ ริ ยิ าการค้นหา (Rooting Reflex)1.2. ปฏิกิรยิ าการดดู (Sucking Reflex)1.3. ปฏกิ ิริยาการกลืน (Swollowing Reflex) *ปฏกิ ริ ยิ าเหล่านี้ จะเกิดข้นึ ตัง้ แต่แรกเกดิ จนถงึ 2-3 เดอื นแรกแลว้ จะค่อยๆ หายไป

Reflex พ้นื ฐานของทารก 2. ปฏกิ ริ ยิ าทางตา (Eye Reflex) 2.1. ปฏิกิรยิ าการกะพรบิ ตา (Blink Reflex) 2.2. ปฏกิ ิรยิ าของแก้วตา (Pupil Reflex) 2.3. ปฏิกิรยิ าการกลอกตา (the dolls eye response) ตงั้ แต่ 2-3 วันแรก ...ปกติปฏิกิรยิ าเหล่าน้ี เกดิ ข้นึ ต้ังแต่แรกเกิดและจะไม่หายไปไหน จะอย่กู บั เราไปตลอดชีวติ เลย

Reflex พ้นื ฐานของทารก3. ปฏกิ ริ ิยาโมโร (Moro Reflex) ลดลงเม่ืออายุ 3เดือน และหายไปเมื่ออายุ 5-6 เดอื น4. ปฏิกริ ิยาสะท้อนด้วยการกามือ (Palmar graspReflex) แรกเกดิ ถงึ ชว่ ง 3-6 เดือนจะค่อยๆหายไป และจะกลับมาใหม…่ ควบคุมได้5. ปฏิกริ ิยาสะท้อนของคอ (Tonic neck Reflex) พบแรกเกิด จนถงึ 4-6 เดอื น หลังจากที่ ทารกเริม่ คว่า….ฯลฯ

DevMelootpomr ent เดอื น 1 หนนู ้อยสา่ ยตามอง เดอื น 2 ย้ิมย่องผอ่ งใส เดอื น 3 หนั หัวร่าไป เดอื น 4 แม่ ไมต่ อ้ งยก เดอื น 5 คว่าอกนอนเหมอ่ เดอื น 6 Transfer มอื เดียว เดือน 7 นงั่ เดี่ยวเร่ืองย่อย เดอื น 8 หนูนอ้ ยคบื คลาน เดือน 9 ยืนนานต้องเหนย่ี ว เดือน 10 ยนื เยย่ี วยงั ได้ เดอื น 11 เดนิ ไกลต้องเกาะ เดือน 12 ย่างเหยาะอาจหาญ

Language Development• แรกเกิด ส่งเสยี งร้องไห้ ได้• 2-3 เดอื น เปล่งเสียง “อา , ออื , ออ” จากลาคอ• 3-6 เดอื น เปลง่ เสียงโต้ตอบได้• 6-12 เดือน เลียนเสยี งได้ “หม่าๆ จ๊ะเอ๋ บ๊ายบาย”• 1- 1½ ปี พูดเป็นคาๆ ที่มคี วามหมาย (กนิ ,นม)• 1 ½ - 2 ปี พดู เป็นคาทีม่ ีความหมาย 2 คา ตดิ กันได้• 2 ปี พดู เป็นวลี 2-3 คา• 3 ปี พูดเปน็ ประโยค 3- 4 คา• 4 ปี พูดเรียงคาเปน็ ประโยคทีถ่ ูกต้องได้• 5 ปี ใชไ้ วยากรณ์ได้ถูกต้อง

๑ ปคี ร่งึ เดนิ เร็วร่ีครบ ๒ ปี เรยี กส่ิงของ๒ ปีครึ่ง พดู คล้องจอง๓ ปที อง บอกเรื่องตน๔ ปี ถามทาไม บอกเล็กใหญ่ไม่สบั สน๕ ปี ไม่ปะปนบอกสีไว้ ได้จานวน

สูตรท่องจา : อ.วสันต์ แต่งด้านกล้ามเน้อื มัดเล็ก = ๖ เดือน : ซาว* ๙ เดือน : กา ๑๑ เดือน : จบี *ด้านภาษา = หมา* (๗ เดือน) หม่า (๘ เดือน.) แม่ (๑๑ เดอื น.) ฉนั (๓ปี)ด้านการเขยี น = ตรง ( เสน้ ตรง : ๒ป)ี กลม ( ๓ ปี) กา (๔ปี) สามสว่ น * (๕ปี) หกส่วน (๖ป)ีอายุ ๓ ปี = ฉนั ถีบสามลอ้ ไปตัดกระดาษ เปน็ รปู วงกลม ปลดกระดุม jump ๒ ขา* แล้วมาแปรงฟนัอายุ ๔ ปี = รู้ ๓ สี ใส่กระดุม jump ขาเดยี ว เทยี่ ว* แตง่ ตวั * ชีแ้ จง * ซาว : มือคว้าสิ่งของ , / จีบ :ใช้น้ิวช้แี ละหัวแม่มอื หยิบจับของ หมา: เสยี งกระเดาะลิ้น / สามสว่ น : วาดรูปคนสามส่วน jump ๒ ขา:กระโดด ๒ ขา /, เที่ยว : มีจินตนาการ แต่งตัว : แตง่ ตวั โดยไม่ตอ้ งช่วย

สรปุ พฤตกิ รรมของเด็กตามพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย 1.วยั ทารกดูด ร้อง ถ่าย 0-2ปีเคลอื่ นไหว ด้านอารมณ์ โกรธ /พอใจ/กลวั เลยี นแบบ/ทาตาม=เนน้ สัมผสั

2. วยั ก่อนเขา้ เรียน 2-6 ปี1. ด้านร่างกาย=การพูด การกระโดดโลดเต้น 2. ดา้ นอารมณ์=เปลี่ยนแปลงง่าย / กลวั .. จับอวัยวะตนเอง และเล่นสมมตุ ิ 3. ดา้ นสงั คม= ดอ้ื ร้ัน ก้าวรา้ ว รู้ความแตกต่างระหวา่ งเพศ 4. ดา้ นสติปญั ญา= ใช้ภาษา ชอบถาม

3. เดก็ วัยเรยี น 6-12 ปี1. ดา้ นร่างกาย.. ไมอ่ ยู่นิ่ง เลน่ และใชก้ าลงั เริ่มน่ิง 11-12 ปี 2. ด้านอารมณ์.. อ่อนไหวงา่ ย ควบคมุ ไมไ่ ด้ และรุนแรง 3. ด้านสังคม.. การเลน่ กบั เพอ่ื น การเข้ากลุ่ม 4. ด้านสติปัญญา.. ทดลอง เรียนรู้

4.วยั รุ่น 13-15 ปี1.ดา้ นรา่ งกาย เปลย่ี นแปลงทางเพศเร็ว2.ด้านอารมณ์ รุนแรง เปดิ เผย ขัดแย้ง สนใจบุคลกิ ภาพ โกรธ กลัว รกั ตอ้ งการเพอ่ื น รกั อิสรภาพ อยากเรียนรูเ้ ร่ืองเพศ3.ด้านสังคม เด็กต้องการแบบอย่างทด่ี ี ไม่ควบคุมเกนิ ไป4.ด้านสตปิ ัญญา มีเหตผุ ลเชิงนามธรรม รู้จกั ตนเอง เรยี นร้แู ละปรับตัว



1. ข้อใดเปน็ น้าหนกั สว่ นสูง ของเด็กอายุ 8 ปี ทีม่ ีการเจรญิ เตบิ โตปกติ ก. น้าหนัก 25 กโิ ลกรัม สว่ นสงู 120 เซนตเิ มตร ข. นา้ หนกั 25 กิโลกรมั ส่วนสงู 125 เซนตเิ มตร ค. น้าหนกั 35 กิโลกรมั ส่วนสงู 120 เซนตเิ มตร ง. นา้ หนกั 35 กโิ ลกรมั ส่วนสูง 125 เซนตเิ มตรเฉลย : เพราะ ใช้สตู รการคานวณ เด็กอายุ 8 ปีน้าหนักสูตร เด็กอายุ 7 – 12 ปี = (อาย(ุ ปี) x 7) – 5 2เดก็ อายุ 8 ปี = (8x7) – 5 = 25.5 ก.ก. 2สว่ นสูง เดก็ อายุ 2 - 12 ปี = (อายุ (ป)ี x 6) +77 = (8x6) + 77 = 125 ซม.

3. ทารกแรกเกดิ นา้ หนัก 3,200 กรัม ปจั จุบันอายุ 2 ปี ถา้ มี การเจรญิ เติบโตปกติ ควรมีนา้ หนักและส่วนสูงเท่าใด ก. 10 กก. สงู 80 ซม. ข. 12 กก. สงู 89 ซม. ค. 16 กก. สูง 100 ซม. ง. 18 กก. สูง 120 ซม. เฉลย ข. จากสตู รการค้านวณน้าหนกั = อายุ ( ปี ) x 2 + 8 แทนคา่ ( 2 x 2 + 8 = 12 กก.) ค้านวณสว่ นสงู จากสูตร อายุ ( ปี ) x 6 + 77 แทนคา่ ( 2 x 6 + 77 = 89 ซม. )

3. ข้อใดแสดงถึงพฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของเด็กทารก (0 -12 ด.) ก. เริม่ พูดเป็นคา ๆ เมื่ออายุ 5 เดอื น ข. เร่ิมเลียนแบบผ้เู ลีย้ งดูเมื่ออายุ 12 เดือน ค. เร่ิมใชน้ ว้ิ หยบิ จบั ของกินเขา้ ปากเม่อื อายุ 9 เดือน ง. เรียนรสู้ ิ่งตา่ ง ๆ จากประสาทสมั ผสั และการเคลอื่ นไหว ตั้งแตแ่ รกเกิด 4. ขอ้ ใดเปน็ การสง่ เสริมการทรงตวั และการเคลอื่ นไหวร่างกาย ของเดก็ อายุ 2 ปี ก. ให้ลากรถท่มี ลี ้อ ข. ขี่จกั รยานสามลอ้ ค. ให้เดนิ บนสะพานไม้แผ่นเดยี วเตย้ี ๆ ง. ให้ว่ิงเลน่ ปีนปา่ ย โดยมผี ูใ้ หญอ่ ยดู่ ว้ ย

5. เด็ก 9 เดอื น สามารถกาวัตถุได้ แตไ่ ม่สามารถหยิบของเล็กๆ โดยใช้นว้ิ ได้ ควรสง่ เสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการตามวยั อย่างไร ก. ให้เดก็ หยิบของเลน่ ใส่ตะกรา้ ข. ใหจ้ ับดนิ สอสีแลว้ ขดี เขยี นบนกระดาษ ค. ให้เลน่ เกมสห์ ยอดบลอ็ กรปู ทรงเรขาคณติ ง. ฝกึ ให้เด็กถือบลอ็ กไมส้ สี ดใสแล้วนามาเคาะกัน 6. เด็กรายใดมคี วามผิดปกติของศีรษะ ก. ด.ช. เอ แรกเกดิ รอบศีรษะ 35 ซม. รอบอก 33 ซม. ข. ด.ช. บี อายุ 4 เดือน รอบศีรษะ 40 ซม. รอบอก 38 ซม. ค. ด.ช. ซี อายุ 6 เดือน รอบศรี ษะ 42 ซม. รอบอก 42 ซม. ง. ด.ช. ดี อายุ 8 เดือน รอบศีรษะ 42 ซม. รอบอก 38 ซม.

หวั ข้อที่ 2.การสง่ เสริมภาวะโภชนาการในเดก็2.1 ความตอ้ งการสารอาหารในเด็กแต่ละวยั2.2 การสง่ เสริมภาวะโภชนาการในเดก็ /อาหารเสริม ในเดก็ แต่ละวัย2.3 ปัญหาโภชนาการในเด็กและการดแู ล

0 - 6 เดอื น = 108 kcal/กก./วนั 6 - 12 เดือน = 98 kcal/กก./วนั * ต้องการนา้ ตามพลังงาน คอื 100 มล./100 kcal.ความตอ้ งการโปรตนี สงู และจะลดลงเร่อื ยๆ คือ แรกเกิด - 6 เดือน=2.2 กรัม/กก./วัน 6 - 12 เดอื น 1.6 กรมั /กก./วัน

หลักการโดยทว่ั ไป1. ทารกคลอดกอ่ นกาหนด จะตอ้ งการพลังงานมากกวา่ = 12o Kcal/ กก./day หรือตามโจทยร์ ะบุ2. นานมมารดาและนมทว่ั ไปใหพ้ ลังงาน 20 cal/oz3. นมทารกแรกคลอด ให้พลังงาน 24 cal/oz4. สัปดาห์แรก จะให้นมทุก 2 - 3 ชม. หลังจากนนั จะให้ทุก 3 - 4 ชม. ในเวลากลางวัน และทุก 5 - 7 ชม. ในเวลากลางคืน หรือตามความต้องการของทารก

การให้อาหารเสริมอายุ เดอื น0-6 เดอื น นมแมอ่ ยา่ งเดียว6 เดอื น ข้าวบด ไขแ่ ดงครึ่งฟอง สลับตับ/ปลาบด ผลไม้ 1 มื้อ7 เดือน ขา้ วบด ไข่แดงทั้งฟอง สลับเนอื้ สัตว์บด ผัก ผลไม้ 1 ม้ือ8-9 เดือน ข้าวบด ไขแ่ ดงทงั้ ฟอง สลบั เนื้อสตั ว์บด ผัก ผลไม้ 2 มือ้10-12 ด. ข้าวบด ไข่แดงทงั้ ฟอง สลับเนอื้ สตั ว์บด ผกั ผลไม้ 3 ม้อื ชนดิ และประโยชน์ของสารอาหารในทารก ธาตุเหล็ก : สร้างเมด็ เลือดแดง ช่วยในการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการที่ดี วิตามิน A ; ชว่ ยในการมองเหน็ เกยี่ วขอ้ งกบั สายตา ป้องกนั การติดเชอ้ื ไอโอดีน : ชว่ ยในการทางานของตอ่ มไทรอยด์พัฒนาสมองและการเจรญิ เตบิ โต แคลเซยี ม : เป็นโครงสร้างกระดกู และฟนั ช่วยในการแข็งตวั ของเลอื ด

วัยก่อนเรยี น : อัตราการเตบิ โตลดลง ใหค้ วามสนใจกบั สิ่งแวดล้อมมากกวา่ การจดั อาหารให้มีสารอาหารที่ครบถว้ น นา่ รบั ประทานให้เดก็ รว่ มโตะ๊ อาหารกบั ผูใ้ หญ่วยั เรยี น : เป็นระยะที่มอี ตั ราการเจริญเติบโต สม่าเสมอในระดับต่ามกั ให้ความสนใจกับขนมอาหารสาเรจ็ รปู คลอ้ ยตามความนยิ มของสังคม ทาให้ไดร้ ับสารอาหารไมค่ รบ และในวัยน้ีฟนั แทเ้ รม่ิ ข้ึนวัยรุ่น : มคี วามตอ้ งการสารอาหาร สูง ≥ 2,000 cal/วนั ในระยะนีม้ กี ารเติบโตอย่างรวดเรว็ เด็กผชู้ ายต้องการพลังงาน>ผู้หญิง การไดร้ ับสารอาหารไมพ่ อในชว่ ง 2 - 3 ปี แรกของ ชวี ิต จะมีผลกระทบตอ่ ระดับสติปญั ญาได้ เน่ืองจาก เป็นระยะทีม่ ีการเจริญเติบโตของสมองสงู สุด

1. Kwashiorkorบวม อาการแสดง จติ ใจโตชา้ Red body โรคของเดก็ แพ้น้อง ภมู ิ ตา้ นทาน ผวิ หนงั ขาดvit ผม ตบั โต A

2.Marasmus อาการเจรญิ เตบิ ผอมแหง้โตชา้ มาก “หนงั หมุ้ กระดกู ”

3. Marasmic – Kwashiorkorการเจรญิ เตบิ โตหยดุ ชะงกั ภมู ติ า้ นทานโรคตา่ ขาดสมดลุ สารนา้ อาหาร Vit. , E’lyte

การรักษาPhase 1 Phase 2 Phase 3ใหอ้ าหาร รกั ษาแบบ การรกั ษาครบถว้ น ประคบั เฉพาะตามหลกั ประคองโภชนาการ

การเจรญิ เตบิ โตไมส่ มวยั / รา่ งกายออ่ นแอ เนอ่ื งจากขาดสารอาหารทพี่ บบอ่ ย มภี าวะเสยี่ งตอ่ การตดิ เชอื้ ไดง้ า่ ย จากภมู คิ มุ้ กนั ตา่ มภี าวะเสยี่ งตอ่ การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นตา่ งๆ บคุ คลในครอบครวั ขาดความรู้ และความเขา้ ใจ วติ กกงั วลเกย่ี วกบั เด็ก/ผปู้ ่ วย



1. เด็ก 2 เดอื น นา้ หนกั 4,000 กรมั ควรได้รับนมวนั ละกี่ออนซ์ (กาหนด พลงั งาน 100 แคลอร่ี/ กิโลกรัม /วนั ) ก. 12 ออนซ์ ข. 20 ออนซ์ ค. 28 ออนซ์ ง. 36 ออนซ์ 2. มารดาเด็กขอรบั คาแนะนาในการให้อาหารเสรมิ สาหรบั เด็กวยั ๖ เดือน ทา่ นจะแนะนาอาหารเสรมิ ชนดิ ใด ก. โจ๊กหมูบดละเอยี ด ข. ข้าวบดกับนา้ ซปุ ไก่ ค. ขา้ วบดกบั ตบั หมูบด ง. ข้าวบดกับไข่แดงต้มครง่ึ ฟอง

3. การพยาบาลท่ีสาคัญในเด็กทีม่ ีภาวะ Marusmic Kwashiokorขอ้ ใดเหมาะสมทีส่ ดุ ก. บนั ทึกสัญญาณชพี ใกลช้ ิดและบันทึกน้าหนกั ทุกวัน ข. ดูแลจากัดน้าและบนั ทกึ ปรมิ าณสารน้าเขา้ ออกทกุ ชว่ั โมง ค. ให้อาหารโปรตีนสูงและบนั ทกึ อาหารที่ได้รับในแต่ละวนั ง. สังเกตอาการผิดปกตเิ ชน่ ซมึ หายใจเร็ว มือเท้าเย็น การตอบสนองสิง่ เร้าช้า4. เด็กชาย 5 ปี น้าหนัก 23 กิโลกรมั เปน็ บตุ รคนเดียว บิดามารดาทางานนอกบา้ นกลางวนั อยู่กับพเี่ ล้ียงที่บา้ น ควรส่งเสรมิ เดก็ ให้มกี ารเจริญเตบิ โตและพัฒนาการตามวยั ตามขอ้ ใด ก. ใหพ้ าเด็กไปปรกึ ษาแพทย์เร่ืองภาวะโภชนาการ ข. ใหพ้ ่ีเล้ียงพาไปเลน่ นอกบ้านกบั เพ่ือนวัยเดียวกนั ค. แนะนาใหร้ บั ประทานอาหารประเภทผักผลไมใ้ ห้มากขึ้น ง. แนะนาบดิ ามารดาใหร้ ับประทานอาหารมอื้ เยน็ ร่วมกับเด็ก

หวั ข้อท่ี 3 การสร้างเสรมิ ภูมคิ ุ้มกันโรค3.1 แบบแผนการใหภ้ มู ิคุม้ กนั โรค3.2 การให้คาแนะนาในการให้ภมู ิคมุ้ กนั

การสร้างเสริมภมู คิ ุ้มกนั โรค หมายถึง การทาให้ร่างกายมีภมู ิคุ้มกันหรือความต้านทาน เพื่อปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กดิ โรคหรือทาให้โรคมคี วามรุนแรงนอ้ ยลง ซงึ่ มี 2 แบบ คอื 1. Active Immunization ไดแ้ ก่ วัคซีนที่เตรียมจากเชอ้ื ท่ีทาใหเ้ กดิ โรค อาจตายแลว้ หรือมชี วี ิต แต่ฤทธอ์ิ ่อนลง ทาหน้าท่ี เปน็Antigen กระตนุ้ ใหร้ า่ งกายสรา้ ง Antibody ซงึ่ สว่ นใหญจ่ ะอยูไ่ ด้นานหรืออาจอย่ไู ด้ตลอดไป 2. Passive Immunization เป็นการให้ Antibody ที่มผี ลปอ้ งกันได้ทนั ที ท่ีเขา้ สรู่ า่ งกาย ที่ใชบ้ ่อยคอื Gamma globulinในการปอ้ งกนั ผสู้ มั ผสั โรค เช่น หัด ตับอักเสบ และพษิ สุนัขบ้าเปน็ ต้น

หลกั การทว่ั ไปในการใหว้ คั ซนี • 1. วัคซนี หลายชนดิ อาจให้พร้อมกันในวนั เดียวได้ ยกเวน้ วคั ซนี ท่ีทาให้เกิดปฏิกิรยิ าในเวลาเดียวกนั เพราะทาให้มีปฏิกิริยามากขึน้ เชน่ DTP กับวคั ซนี ปอ้ งกนั โรคใขท้ ยั ฟอยด์ เป็นตน้ • 2. การให้วัคซีนเรว็ กว่ากาหนด อาจทาให้ ภูมคิ ุ้มกนั ขนึ้ ได้นอ้ ยลง • 3. เด็กทเี่ จบ็ ปว่ ยเล็กน้อย เชน่ หวดั ไอ หรอื ไข้ต่าๆ ให้วคั ซนี ได้ ส่วนเด็กท่ีมีไขส้ ูงควรเลอ่ื น กาหนดการฉีดวัคซีนออกไปจนไข้หายแลว้3/28/2018

หลักการทัว่ ไปในการใหว้ คั ซนี (ตอ่ ) 4. ถ้าผปู้ ่วยได้รบั เลือด/ผลติ ภัณฑ์ของเลือดมากอ่ น ควร เล่อื นการให้วัคซนี อย่างน้อยไม่ต่ากว่า ๓ เดอื น 5. เดก็ ทไี่ ด้รับ แกมมากลอบุลลิน พลาสมา หรือเลอื ด ไม่ ถงึ 3 เดือน ไมค่ วรให้วคั ซนี ไวรสั ทีม่ ชี ีวิต ควรเลอื่ นไป อย่างนอ้ ย 5 เดือน 6. แตถ่ า้ เดก็ ท่ีได้รับ อิมโู นโกลบูลิน เลือดหรอื ผลติ ภณั ฑ์ ของเลือด ภายใน ๒ สปั ดาห์ หลังได้รับวัคซนี เชื้อมชี วี ิต เช่น MMR ต้องฉีดซา้ อีกใน ๓ เดือนต่อมา 7. เด็กทีไ่ ดร้ บั DTP แลว้ มไี ข้สูง ชกั กรดี ร้อง ครงั้ ตอ่ ไป พจิ ารณาให้วัคซนี DT แทน /แพไ้ ข่ ไมใ่ ห้ MMR

หลกั การท่ัวไปในการให้วัคซนี (ตอ่ )8. ทารกคลอดก่อนกาหนด การใหว้ ัคซีนเช่นเดยี วกับทารกคลอดครบกาหนด ยกเวน้ ทารกนา้ หนักนอ้ ยกวา่ ๒,๐๐๐ กรัม ควรให้ HBV เมอ่ื อายุ 2 เดือน หรอื นา้ หนกั 2 กิโลกรัม9. เด็กทมี่ ีภมู ิคุ้มกันบกพร่อง(HIV) ควรหลีกเลยี่ งวคั ซนี เช้อื เปน็ เช่น BCG, OPV ,MMR ยกเวน้ ทารกที่ HIV ใหผ้ ลบวกแต่ยังไมม่ อี าการของโรค แต่ ไม่ควรให้ MMR แกท่ ารกทม่ี ภี มู ิต้านทานต่ามาก10. เด็กทไ่ี ด้ยากดภูมคิ มุ้ กนั ใหท้ ็อกซอยด์ และวคั ซีนชนิดเชือ้ ไมม่ ีชีวิตได้11. เด็กทไี่ ด้รบั steroid ในขนาดสูงมากกวา่ ๒ mg/kg/day ไม่ควรให้ วคั ซนี เช้ือเปน็ จนกว่าจะหยดุ ยาไปแล้ว ๑ เดือน แตถ่ ้าไดร้ ับยาน้อยกวา่ ขนาดดังกล่าว สามารถให้วคั ซีนได้ 3/28/2018

ตารางท่ี1 การใหว้ ัคซนี แก่เดก็ ตงั้ แต่แรกเกดิ หรอื ภายในอายขุ วบปแี รก อายุ วัคซนี ทใี่ ห้ แรกเกดิ BCG HB1 2 เดือน 4 เดือน DPT1 OPV1 HB2 6 เดือน DPT2 OPV29-12 เดอื น DPT3 OPV3 HB3 MMR1 ( หดั )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook