Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาพรวมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม

ภาพรวมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม

Published by สวพร จันทรสกุล, 2019-09-10 00:07:44

Description: ภาพรวมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม

Search

Read the Text Version

๓๕ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบ วงเงนิ เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัด ๒ ๓๔ ๑๒ ๓ ๔ ลา้ น แหลง่ บาท เงิน หน่วยงาน หลัก ได้แก่ ผูส้ ูงอายเุ ป็น กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง รง./พม./พณ./ พลเมืองที่มี ไดร้ บั การแก้ไขให้มี อก. ความตน่ื ตัว การจา้ งงานผสู้ ูงอายุ (active citizen) เปน็ ชนิ้ งานได้ และมงี านทาที่ เหมาะสมตาม ศกั ยภาพ

๓ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม เรอ่ื งและประเดน็ ปฏิรูปที่ ๒ : กลุม่ ผู้เสยี เปรียบในสังคม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ ไปทาทบี่ า้ น พ.ศ. ๒๕๕๓ เพือ่ ให้ สามารถจา้ งงานผสู้ ูงอายเุ ปน็ ชน้ิ งานได้ และเกิดการทางานรว่ มกันตามศักยภาพ และสภาพแวดลอ้ ม ๔. ปฏิรูประบบการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค กจิ กรรมที่ ๑ พฒั นาโครงสร้างและ ศกั ยภาพของ สคบ. โดยเพิม่ อานาจ ทางปกครองให้กบั สคบ. เพอ่ื ให้ สามารถบังคบั ใช้และให้ความเปน็ ธรรมกบั ผู้บรโิ ภคไดจ้ ากเดิมท่ีเปน็ เพียง หน่วยเชงิ นโยบายและให้ความความรู้ ไปใชส้ ทิ ธิทางปกครองตาม กระบวนการยุติธรรมอยา่ งเดยี ว วิธีการ ๑. แกไ้ ขพระราชบญั ญตั ิการคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภคให้มอี านาจทางปกครองแก่ เจา้ พนักงานในการแกไ้ ขปญั หาผู้บรโิ ภค ท่ไี มไ่ ด้รับความเปน็ ธรรมหรือตรวจสอบ

๓๖ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบ วงเงิน เปา้ หมาย ตัวชี้วดั ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ลา้ น แหลง่ บาท เงิน หนว่ ยงาน งบประมาณ สคบ. เปน็ ๑. สคบ. มีการ หลกั ไดแ้ ก่ แผ่นดิน องค์กรทม่ี ี ปฏริ ูปองค์กรทัง้ กพ./กพร./ สคบ./สธ./ยธ./ ประสทิ ธภิ าพ ระบบ มท. ผดบู้้านรกิโภาครคุ้มครองใ๒น.ทสาคงบป.กมคีอราอนงาจ ๓. พ.ร.บ. คุ้มครอง ผบู้ ริโภคไดร้ บั การ แกไ้ ข

๓ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสงั คม เรื่องและประเด็นปฏริ ปู ที่ ๒ : กล่มุ ผเู้ สียเปรียบในสงั คม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ ขอ้ ร้องเรยี นต่างๆ เพื่อให้สามารถบังคับ ใช้กฎหมายฯ ตามกิจกรรม โดยให้ สคบ. ไปสงั กดั หนว่ ยงานกระทรวงทบ่ี งั คบั ใช้ กฎหมาย เช่น กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยตุ ิธรรม แทนสังกดั เดมิ ซง่ึ เปน็ หนว่ ยงานเชงิ นโยบาย ๒. สนบั สนนุ ให้ สคบ. ดาเนินการยกรา่ ง บทบัญญตั ติ ามมาตรา ๔๖ ของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ กิจกรรมท่ี ๒ การเสริมสร้างพลังให้แก่ ผ้บู ริโภคและการพฒั นาผูบ้ ริโภคโดย อาศัยเทคโนโลยี วธิ ีการ ๑. สนบั สนนุ และส่งเสรมิ ให้องค์กรภาค ประชาชนท่มี บี ทบาทและเปน็ ตวั แทนใน การคุ้มครองผบู้ รโิ ภคโดยใช้เทคโนโลยเี พอื่ เป็นชอ่ งทางสือ่ สารให้ผบู้ ริโภคในการรกั ษา สทิ ธิตา่ งๆ

๓๗ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผูร้ ับผิดชอบ วงเงนิ เป้าหมาย ตวั ชีว้ ดั ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ล้าน แหล่ง บาท เงิน หน่วยงาน เกดิ แนวทางใน ๑. ระดับความรู้ หลัก ได้แก่ การเสรมิ สร้าง ความเข้าใจของ สคบ. พลงั ให้แก่ ผู้บรโิ ภค ผบู้ รโิ ภคเกย่ี วกบั หนว่ ยงาน การคุ้มครอง รว่ ม ไดแ้ ก่ ดศ./ศธ. ผู้บริโภค ๒. ระดบั การรบั รสู้ ื่อ ดา้ นการค้มุ ครอง ผบู้ รโิ ภคของ ผูบ้ รโิ ภค

๓ แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสังคม เรือ่ งและประเดน็ ปฏริ ูปท่ี ๒ : กลมุ่ ผู้เสยี เปรยี บในสงั คม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ ๒. บรรจเุ น้ือหาเกี่ยวกบั สทิ ธิผบู้ รโิ ภคใน หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๕. ปฏิรูปการขน้ึ ทะเบยี นกบั ผู้ไร้สถานะทางทะเบียนราษฎร กิจกรรมที่ ๑ ตดิ ตามกฎหมายทะเบียน ราษฎรแก้ไขใหม่เพ่ือสามารถบงั คับใชไ้ ด้ วิธีการ ๑. ร่วมมือกบั สว่ นราชการตา่ งๆ ในการ ดาเนนิ การ เพื่อกาหนดแนวทางการข้นึ ทะเบยี น ๒. กาหนดแผนการข้นึ ทะเบยี นให้แลว้ เสร็จภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยเฉพาะ กลุ่มคนพกิ าร คนยากจน กลุม่ บคุ คล บนพืน้ ทีส่ ูง กลุ่มชาตพิ ันธุ์ ๖. การเปลี่ยนแปลงนโยบายประชากรเพือ่ เสรมิ สรา้ งดลุ ประชากรในอนาคต กจิ กรรมท่ี ๑ แก้ปัญหาอตั ราการเกิดที่ ลดลงอย่างมนี ัยสาคญั ที่ทาให้ประเทศ ไทยมีประชากรในแตล่ ะกล่มุ อายุท่ไี มส่ มดลุ

๓๘ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผูร้ ับผิดชอบ วงเงนิ เปา้ หมาย ตวั ชี้วัด ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ลา้ น แหลง่ บาท เงนิ หน่วยงาน ผู้ไรส้ ถานะทาง สดั ส่วนของผู้ไร้ หลัก ไดแ้ ก่ ทะเบียนราษฎร สถานะทางทะเบียน มท./พม. ได้รับสถานะ ทางทะเบียน ราษฎรลดลงร้อยละ หนว่ ยงาน ราษฎรและได้ ๑๐ ต่อปี ร่วม ได้แก่ กต. สทิ ธปิ ระโยชน์ บริการข้นั หน่วยงาน พืน้ ฐานจากรฐั หลกั ได้แก่ พม./สธ. ประเทศไทยมี อตั ราการเกิดต่อ เปโหครรมะงาชสะารสก้ามรงกทอบัาี่ ยกุารตป่อระปชเี าพกิม่ รข๑นึ้ ,๐๐๐ คน

๓ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม เรือ่ งและประเด็นปฏริ ูปท่ี ๒ : กลุ่มผู้เสียเปรยี บในสังคม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ วิธีการ ๑. ใหส้ ิทธิในการลดหย่อนค่าใชจ้ ่าย นอกเหนือจากสวสั ดิการพนื้ ฐานสาหรับ การพัฒนาเทคโนโลยชี ว่ ยอนามยั เจริญพันธใ์ุ หผ้ มู้ ีบุตรยากสามารถเข้าถึง ไดโ้ ดยสะดวก ๒. ดาเนินการให้ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก มกี ารพัฒนาให้ไดม้ าตรฐานและ ครอบคลมุ ทุกพืน้ ที่ เพอ่ื ลดภาระ พอ่ แม่ในการเล้ยี งดบู ุตร โดยเฉพาะ การดูแลเด็กอายุ ๐ – ๓ ปี ๗. การเสริมพลงั สตรี กิจกรรมที่ ๑ เพิ่มสดั ส่วนของสตรีใน ตาแหนง่ บรหิ ารขององค์กร วธิ ีการ ๑. แกไ้ ขกฎหมายและกฎระเบยี บทเี่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การพัฒนาและการเข้าสู่

๓๙ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผรู้ ับผิดชอบ วงเงนิ เปา้ หมาย ตัวช้วี ัด ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ลา้ น แหล่ง บาท เงนิ หนว่ ยงาน รว่ ม ไดแ้ ก่ พัฒนาประเทศ มท./อปท. หนว่ ยงาน สตรมี ีบทบาท ๑. กฎหมายและ หลกั ได้แก่ และมสี ่วนร่วม ระเบยี บทีเ่ ปน็ พม. ในทางสังคม การเมือง และ อุปสรรคต่อการ กระบวนการ พัฒนาและการเข้า ตดั สนิ ใจ ทงั้ ใน สตู่ าแหน่งทาง

๔ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสังคม เรื่องและประเดน็ ปฏริ ปู ท่ี ๒ : กลุ่มผเู้ สยี เปรียบในสงั คม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ ตาแหน่งทางการเมือง และการบริหาร ของสตรี อาทิ องค์ประกอบของ คณะกรรมการระดบั ชาติ คณะกรรมาธิการ ของฝุายนิติบัญญตั ิ โดยใหค้ านงึ สดั ส่วนของผ้แู ทนสตรีหรือ ผูแ้ ทนองค์กรทที่ างาน ด้านสตรที ่เี ข้ารว่ มเป็นคณะกรรมการ หารือกรรมาธกิ ารทกี่ าหนดในรัฐธรรมนญู ๒. กาหนดมาตรการพิเศษเพื่อส่งเสริม การมสี ่วนร่วมของสตรีในการเมือง การปกครอง และการบริหาร เช่น การเพิม่ จานวนสตรีในคณะกรรมการ ระดับนโยบายของชาติและการเขา้ ดารง ตาแหน่งทางการเมือง การบริหาร ของสตรีในสดั สว่ นทีเ่ ท่าเทียมกบั บุรุษ

๔๐ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบ วงเงนิ เป้าหมาย ตัวช้ีวัด ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ล้าน แหลง่ บาท เงิน หนว่ ยงาน ร่วม ได้แก่ / ระดบั ชาติและ การเมอื ง และการ รง./มท./นร./ ระดบั ท้องถิ่น อปท./พรรค มากขนึ้ บรหิ ารของสตรี การเมือง ได้รับการแก้ไข ๒. สตรีไดร้ ับการ แต่งตง้ั ให้ดารง ตาแหน่งในระดบั ตดั สนิ ใจทั้งใน ภาครฐั และ ภาคเอกชนเพิ่มข้นึ

๔๑ ๒.๒.๖ ขอ้ เสนอในการมีหรือแก้ไขปรบั ปรุงกฎหมายเพื่อรองรบั การดาเนนิ การ -

๔๒ ๒.๓ เร่อื งและประเด็นการปฏิรูปที่ ๓ : การจดั การขอ้ มลู และองคค์ วามร้ดู ้านสงั คม การสร้างโอกาสท่ีเป็นธรรมโดยไม่แบ่งแยก (Social Inclusion) นอกจากการให้ความสาคัญกับ การช่วยเหลือและเพ่ิมขีดความสามารถให้กับกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคมแล้ว การจัดการข้อมูลและองค์ ความรู้ด้านสังคมเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมให้สังคมมีความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า โดยการจดั การขอ้ มูลใหม้ ีความเหมาะสม ถกู ต้อง และครอบคลมุ นนั้ จะชว่ ยใหห้ นว่ ยงานภาครัฐสามารถ ทราบความต้องการของประชาชนได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น และสามารถนาไปจัดทานโยบายที่ สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน รวมท้ังประชาชนสามารถทราบถึงข้อมูลข่าวสารจาก หน่วยงานภาครัฐได้สะดวกย่ิงข้ึน อย่างไรก็ตาม อุปสรรคทางข้อมูลด้านสังคมในปัจจุบันคือการขาด ประสิทธิภาพในการจัดเก็บข้อมูล ขาดการบูรณาการกันระหว่างข้อมูลทางด้านสังคมจากแต่ละ หน่วยงาน นอกจากนี้ ข้อมูลที่มีการจัดเก็บในปัจจุบัน เป็นข้อมูลที่อ้างอิงมาจากความต้องการของ ภาครัฐเป็นหลัก ไมไ่ ด้อ้างองิ จากความตอ้ งการในการใชข้ ้อมลู ของประชาชน ดังน้ัน ประเด็นการปฏิรูปเรื่องการจัดการข้อมูลและองค์ความรู้ด้านสังคม จึงให้ความสาคัญกับ การจัดเก็บข้อมูลทางด้านสังคมซึ่งจะต้องเป็นข้อมูลที่ประชาชนต้องการทราบอย่างแท้จริงโดยให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ เปดิ เผยและเช่อื มโยงฐานข้อมลู ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครัฐให้ เป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ รวมทั้งสร้างช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลท่ีสะดวกต่อประชาชนทุกกลุ่ม ตลอดจนการสร้างฐานข้อมูลจากการจ่ายภาษี เพื่อเป็นข้อมูลหลักในการอ้างอิง เพื่อการตัดสิน เชิงนโยบายภาษีและการช่วยเหลอื กลมุ่ เปาู หมายอย่างมปี ระสิทธิภาพ

๔๓ ๒.๓.๑ เปา้ หมายหรอื ผลอนั พงึ ประสงคแ์ ละผลสัมฤทธิ์ ๑) ใหอ้ งคก์ รปกครองท้องถ่นิ มหี นา้ ท่ีในการเกบ็ รักษาและพฒั นาขอ้ มลู และสารสนเทศ ดา้ นสังคม ๒) มีการปรับปรุงข้อมูลอยา่ งต่อเนือ่ ง เพื่อสร้างประสทิ ธภิ าพในการจดั สรรทรัพยากร ๓) พัฒนาข้อมูลสารสนเทศ โดยมีระบบฐานข้อมูลด้านภาษีเพื่อเป็นเคร่ืองมือ ประกอบการตัดสินใจของรฐั บาล ในการดาเนนิ นโยบายด้านภาษี และการช่วยเหลือกลมุ่ เปูาหมาย ๒.๓.๒ กรอบระยะเวลาในการดาเนินการ : ๑ – ๕ ป ๒.๓.๓ ตวั ช้ีวดั ๑) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ (อปท.) ท่ัวประเทศมขี ้อมูลสารสนเทศพ้นื ฐานที่สามารถ นาไปจัดสรรทรพั ยากร ภายใน ๕ ปี ๒) รฐั บาลมขี ้อมูลที่เชอ่ื มโยงและเปดิ เผย ประชาชนสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยสะดวก ๓) มฐี านข้อมลู ดา้ นภาษที มี่ ปี ระสิทธิภาพ ๒.๓.๔ วงเงนิ และแหลง่ เงนิ งบประมาณแผ่นดนิ

๔ ๒.๓.๕ ขัน้ ตอนการดาเนินการ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสงั คม เร่อื งและประเด็นปฏริ ูปที่ ๓ : การจดั การขอ้ มูลและองคค์ วามรูด้ า้ นสังคม กจิ กรรม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ กิจกรรมท่ี ๑ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (อปท.) เป็นผู้เกบ็ และบริหารข้อมูลและสารสนเทศในระดับ วธิ กี าร ๑. ให้ อปท.เปน็ ผ้เู ก็บและพฒั นา รวมทง้ั เผยแพรแ่ ละใหป้ ระชาชนได้ใชป้ ระโยชน์ ข้อมูลและสารสนเทศดังกลา่ วอยา่ ง โปรง่ ใสโดยการมอบอานาจหนา้ ทที่ าง กฎหมายใหก้ บั อปท. ๒. การดาเนินการใหเ้ น้นขอ้ มูลส่วนบุคคล เท่าท่ีจาเปน็ และไมข่ ัดหรือแย้งกบั กฎหมายเกย่ี วกบั ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ๓. ออกแบบระบบเชื่อมโยงกับขอ้ มลู ประเภทอื่นๆ และรวมอยใู่ น Big Data ของรฐั บาล ๔. ออกแบบระบบความปลอดภัยควบคไู่ ป กบั ระบบฐานข้อมลู สารสนเทศ MIS, GIS ขน้ั ตอน ๑. แก้ไขภารกจิ ของ อปท. ใหส้ อดคลอ้ งและ ชัดเจนเก่ยี วกับหน้าที่และอานาจในการ จดั เก็บขอ้ มลู ของ อปท. ๒. ออกแบบ Template ข้อมลู พนื้ ฐาน และฝึกอบรมเจ้าหน้าทใี่ นการจดั เก็บ ข้อมูล การบรหิ ารขอ้ มูล และ Computer Literacy

๔๔ ๒๕๖๕ ผ้รู ับผิดชอบ วงเงิน เปา้ หมาย ตวั ชี้วัด ลา้ นบาท แหลง่ เงนิ มฐี านข้อมลู ทาง ๔๑๒๓๔ สังคมในระดบั พืน้ ที่ ๑. อปท.ทวั่ ๑. คา่ สารวจ งบประมาณ ทม่ี ีการบริหาร ประเทศ บชุมชนและตาบล ขอ้ มลู ของ แผน่ ดนิ จัดการโดย อปท. มขี อ้ มลู หน่วยงาน อปท. สารสนเทศ หลกั ไดแ้ ก่ ประมาณ พนื้ ฐาน ดศ./อปท. ๓,๐๐๐ ภายใน ๓ ปี ล้านบาท หนว่ ยงาน ภายใน ๒. อปท.เร่ิม รว่ ม ไดแ้ ก่ ๕ ปี บริหาร มท./สรอ./ ระบบได้ GISTDA ๒. ค่าออกแบบ ภายใน ๕ ปี ระบบ ๑๐๐ ลา้ นบาท

๔ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสังคม เร่อื งและประเดน็ ปฏิรูปที่ ๓ : การจดั การขอ้ มลู และองคค์ วามรู้ด้านสังคม กจิ กรรม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ กลไกและการปรบั ปรงุ กลไก ๑. มท. และจงั หวดั เป็นผูร้ บั ผดิ ชอบในดา้ นการ บรหิ ารจัดการรว่ มกับ อปท. ทว่ั ประเทศ ๒. ดศ. ร่วมกบั สรอ. และ GISTDA รว่ มกนั ออกแบบระบบและจัดการฝึกอบรม ๓. อปท. เปน็ ผู้จดั เกบ็ และบรหิ ารขอ้ มลู สารสนเทศ กิจกรรมที่ ๒ จดั ลาดับความสาคญั การเปิดเผยข้อมลู ทป่ี ระชาชนต้องการทราบ และสร้างการรับรู้ วิธกี าร ๑. สารวจความต้องการข้อมลู ทีป่ ระชาชน ต้องการรับรู้และปรับปรุงการบริการ ภาครฐั (ไมใ่ ช่เฉพาะฝาุ ยรัฐต้องการรบั รู้) แล้วจดั ลาดับความสาคัญ เพ่ือตอบสนอง ความต้องการของประชาชน ๒. ปรับปรุงระบบการร้องทุกข์ให้สะดวกตอ่ การตดิ ตามมากย่ิงขน้ึ ข้ันตอน ๑. ศึกษาว่าประชาชนตอ้ งการทราบข้อมูล ประเภทใด ๒. จัดลาดบั ความสาคญั ในการจัดการ ฐานข้อมลู การเปดิ เผยขอ้ มูล สารสนเทศ ระบบชน้ั ความลับ และการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ตามลาดับความสาคัญ ๓. สร้างเนอ้ื หา (Content) ทง่ี ่ายตอ่ ความ เข้าใจ และระบบสบื คน้ (Search Engine) ใหง้ ่าย กลไกและการปรบั ปรงุ กลไก ๑. สรอ. GISTDA ดศ. และ มท. ร่วมกนั ดาเนนิ การ

๔๕ ๒๕๖๕ ผ้รู บั ผดิ ชอบ วงเงนิ เป้าหมาย ตัวชีว้ ัด ล้านบาท แหลง่ เงนิ ๔๑๒๓๔ หน่วยงาน งบ ประชาชนสามารถ มบี ริการข้อมลู หลกั ไดแ้ ก่ ประมาณ เข้าถึงบรกิ ารข้อมูล และการให้ สรอ./ดศ. ของสว่ น ของภาครัฐทีต่ รง บริการของ หน่วยงาน ราชการที่ กบั ความตอ้ งการ ภาครฐั แบบ รว่ ม ไดแ้ ก่ เกยี่ วข้อง มท./อปท./ เปดิ เผยและ นร./ เช่อื มโยงกัน GISTDA (Open and Connected Government) ปลี ะ ๕ เร่ือง เรม่ิ ต้ังแต่ปี ๒๕๖๒

๔ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสงั คม เร่ืองและประเด็นปฏิรูปที่ ๓ : การจดั การขอ้ มูลและองคค์ วามรดู้ ้านสังคม กิจกรรม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ ๒. อาจจาเป็นต้องพจิ ารณาปรับปรงุ พ.ร.บ. ขอ้ มูลขา่ วสาร และกฎหมายเร่ือง ข้อมูลส่วนบคุ คล โดยผูใ้ ช้บรกิ ารของรฐั ตอ้ ง เปิดเผยขอ้ มูลเทา่ ท่ีเก่ยี วข้องและจาเปน็ ๓. พจิ ารณาขอบเขตหนา้ ท่ขี อง สรอ. ให้ กว้างขวางมากย่ิงข้นึ กิจกรรมท่ี ๓ พฒั นาขอ้ มูลด้านภาษเี พ่ือสร้างความเปน็ ธรรมในการช่วยเหลือของรฐั วิธกี าร ๑. เรง่ รดั การนาผมู้ รี ายไดเ้ ขา้ ระบบการแจง้ รายได้ทุกคน เพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ ในการตัดสินใจเปน็ นโยบายและการให้ ความชว่ ยเหลือกลมุ่ เปูาหมายอย่าง ถกู ต้องและเปน็ ธรรม ข้นั ตอน ๑. ปรับปรงุ ระบบการแจง้ ข้อมลู การ เสยี ภาษแี ละรายไดผ้ า่ นระบบ ๒. ถ้ามคี วามจาเปน็ อาจตอ้ งให้บุคคล ธรรมดาตอ้ งแจ้งรายได้ ไมว่ า่ จะอยใู่ น เกณฑท์ ต่ี อ้ งเสยี ภาษีหรอื ไมก่ ็ตาม ตามแบบทีก่ าหนดทกุ คน เพ่อื เป็น ฐานข้อมลู ท่เี คลอื่ นไหวตามเปน็ จริง กลไกและการปรบั ปรงุ กลไก ๑. สรา้ งกลไกพเิ ศษในการจัดทาฐานข้อมลู ด้านภาษใี น กค. เพ่ือใหม้ หี น้าทเ่ี ก็บ ขอ้ มลู และแลกเปล่ียนขอ้ มลู ดา้ นรายรับ และรายจา่ ยผเู้ สยี ภาษี

๔๖ ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบ วงเงิน เปา้ หมาย ตัวชี้วัด ลา้ นบาท แหล่งเงิน ๔๑๒๓๔ หน่วยงาน งบ ประชาชน จานวน หลัก ไดแ้ ก่ ประมาณ ทกุ คนเข้าส่รู ะบบ ประชาชน กค. ของ ภาษี เขา้ สู่ระบบ หน่วยงาน ข้อมลู ภาษี ที่เกี่ยวข้อง หนว่ ยงานท่ี เพ่มิ ข้ึน ได้แก่ มท. เกย่ี วข้อง เริ่มต้ังแต่ปี อปท. ๒๕๖๒

๔๗ ๒.๓.๖ ขอ้ เสนอในการมีหรือแก้ไขปรบั ปรงุ กฎหมายเพอ่ื รองรบั การดาเนินการ -

๔๘ ๒.๔ เรื่องและประเด็นการปฏิรูปท่ี ๔ : ระบบสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง ชุมชนถือเป็นรากฐานสาคัญท่ีจะนาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาประเทศ ทั้งในเร่ืองความมั่นคง ทางเศรษฐกจิ และสังคม ระบบการเมอื งท่เี ขม้ แขง็ ระดบั ศีลธรรมในสังคม รวมถึงระบบสวัสดิการสาหรับคน ทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง ดังน้ัน หากชุมชนมีความเข้มแข็ง จะเป็นเครื่องมือสาคัญ ท่ีนาพาประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าชุมชนจะถูกให้ความสาคัญมาอย่าง ตอ่ เน่ือง โดยเฉพาะภายหลังปี ๒๕๔๐ เป็นต้นมา แต่ชุมชนยังต้องเผชิญกับอุปสรรคในเชิงโครงสร้างหลาย ประการ อาทิ ขอ้ จากัดในการบริหารจดั การทรัพยากรในชุมชน การขาดความต่อเน่ืองในเร่ืองการจัดระบบ สวัสดิการชุมชน การขาดบูรณาการในการทางานของภาครัฐและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในงานพัฒนาชุมชน ส่งผลให้มชี มุ ชนจานวนไมม่ ากนกั ทสี่ ามารถพัฒนาเปน็ ชมุ ชนทเี่ ข้มแขง็ บนฐานของการจดั การกันเองได้อยา่ ง มีคณุ ภาพ ดังน้ัน จึงจาเป็นต้องมีการปฏิรูปเพ่ือจะนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน ท้ังการปรับกระบวนทัศน์ วิธีคิด และรูปแบบการทางานให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสม ภายใต้ ๓ เงื่อนไขสาคัญ ได้แก่ ๑) การเพิ่มสิทธิ หน้าท่ี อานาจ ทรัพยากร ๒) การขจัดอุปสรรค ปกปูอง คุ้มครอง และ ๓) การเพ่ิมพลังความสามารถ โดยพัฒนาเครื่องมือสาคัญในเรื่องการจัดกลไกการจัดการแบบมีส่วนร่วมและมาตรก ารทางกฎหมาย ซ่ึงมีเรื่องสาคัญท่ีต้องดาเนินการ ๒ ส่วน ได้แก่ การปฏิรูปเชิงระบบและกลไก และการปฏิรูปเชิงพื้นที่ โดยการปฏิรูปเชิงระบบและกลไกน้ันแบ่งออกเป็น ๔ หมวดหลัก ได้แก่ ๑) สิทธิและบทบาทของชุมชน ๒) ทรัพยากรและทุนชุมชน ๓) สวัสดิการชุมชน และ ๔) เศรษฐกิจชุมชน และในส่วนของการปฏิรูปเชิงพื้นท่ี ประกอบดว้ ย การทางานแบบรวมตวั ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ ร่วมรับประโยชน์เพ่ือการพัฒนาในพ้ืนที่ โดยคนในชมุ ชนร่วมกบั เครือขา่ ยตา่ ง ๆ เพอื่ นาไปสู่การสร้างชมุ ชนเขม้ แข็งทวั่ ทง้ั ประเทศ

๔๙ ๒.๔.๑ เปา้ หมายหรือผลอนั พงึ ประสงคแ์ ละผลสัมฤทธ์ิ ๑) ชุมชนสามารถจัดการกันเองได้อย่างมีคุณภาพ (ชุมชนร่วมกับภาคส่วนต่างๆ จัดการ ข้อมูล แผน บริหารจัดการ กลไกขบั เคลอ่ื น และทุนทางสังคม) ๒) ชุมชนมีเศรษฐกิจดี มนั่ คง ย่งั ยนื ๓) ชมุ ชนมีภมู ติ า้ นทานต่อปจั จยั กระทบตา่ งๆ ๒.๔.๒ กรอบระยะเวลาในการดาเนนิ การ : ๑ – ๕ ป ๒.๔.๓ ตวั ชีว้ ดั ๑) ตาบลและจังหวดั มีกลไก/พนื้ ท่ีกลางในการพฒั นาเพอื่ เสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั ชุมชนอยา่ งทว่ั ถงึ ๒) ชมุ ชนไดร้ บั การรบั รองสทิ ธิชมุ ชนตามรฐั ธรรมนูญปี ๒๕๖๐ ๓) มกี ลไกใหช้ มุ ชนสามารถจัดการทรพั ยากรและทนุ ชมุ ชนโดยชุมชน ๔) ระบบสวัสดิการชุมชนได้รับการรองรบั สถานะทางกฎหมาย ๕) มกี ลไกในการเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของชมุ ชน ๒.๔.๔ วงเงินและแหลง่ เงนิ วงเงินรวม ๕ ปี เท่ากับ ๔,๘๖๖ ลา้ นบาท โดยใช้เงนิ งบประมาณแผน่ ดิน

๕๐ ๒.๔.๕ ขนั้ ตอนการดาเนินการ แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสงั คม เรอ่ื งและประเดน็ ปฏิรปู ที่ ๔ : ระบบสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ กจิ กรรมที่ ๑ การปฏริ ปู ระบบการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แขง็ เชงิ พ้นื ที่ วธิ กี าร ๑. กาหนดใหต้ าบลเปน็ พน้ื ทกี่ ารพฒั นา อย่างบรู ณาการ (“ตาบลเขม้ แขง็ ประเทศมัน่ คง”) โดย ๑.๑ จดั ใหม้ ีกลไกประชารฐั ตาบล เข้มแข็งทีป่ ระกอบด้วย ๔ ภาค ส่วนหลัก ได้แก่ (๑) ทอ้ งที่ ไดแ้ ก่ กานนั ผใู้ หญ่บา้ น (๒) ทอ้ งถิ่น ได้แก่ อบต. เทศบาล (๓) องค์กร ชุมชน/เอกชน ได้แก่ สภาองคก์ ร ชุมชนตาบล บา้ น วัด โรงเรยี น กลมุ่ ตา่ งๆ (๔) หนว่ ยงานอ่ืน ได้แก่ พัฒนาชุมชน เกษตรตาบล ตารวจ รพสต. (อา้ งองิ : ไพบลู ย์ วัฒนศริ ิธรรม) ทาหน้าที่ประสาน พลงั ทกุ ภาคส่วน เพ่ือรวมตวั รว่ ม คิด รว่ มทา ร่วมรบั ผิดชอบ รว่ มรับ ประโยชน์ โดยมีเปาู หมายให้ตาบล เขม้ แข็ง ครอบครวั เขม้ แขง็ และ

วงเงนิ ๒๕๖๕ ผรู้ ับผิดชอบ ล้าน แหลง่ เงิน เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั บาท ๑๒๓๔ หนว่ ยงาน ๔,๐๐๐ งบประมาณ มีกลไกบรู ณาการ ๑. มีระเบยี บสานัก หลัก ไดแ้ ก่ ลบ. แผน่ ดนิ ในพ้นื ที่ เกิดการ นายกรัฐมนตรวี า่ สช. / (ปีละ ร่วมคดิ รว่ มทา ดว้ ยการสร้างเสรมิ สศช./ ๘๐๐ ร่วมรบั ผดิ ชอบ ชมุ ชนเข้มแขง็ แลว้ พอช. ลบ. รว่ มรบั ประโยชน์ เสรจ็ ภายใน ๑ ปี ฐานคดิ เพ่อื การพฒั นาใน ๒. เกิดกลไกประชารัฐ หนว่ ยงาน เฉลีย่ พ้นื ที่ ระดบั จังหวดั ที่ ร่วม ได้แก่ จงั หวัด มท. / นร. ละ ๑๐ เข้มแข็งภายใน ๒ ปี /กสทช. / ลบ.) ๓. กลไกประชารฐั ระดบั สปสช. / ตาบลมคี วามเขม้ แข็ง ครอบคลมุ ทกุ ตาบล สสส. / ภายใน ๓ ปี มลู นิธิ ๔. มีแผนแม่บทชุมชน พัฒนาไท หรือธรรมนญู ชมุ ชน ครอบคลมุ ทุกตาบล ภายใน ๔ ปี ๕. มีระบบ GIS ครอบคลมุ ทกุ ตาบล ภายใน ๕ ปี

๕๑ แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เรื่องและประเด็นปฏริ ูปที่ ๔ : ระบบสร้างเสริมชุมชนเขม้ แขง็ กิจกรรม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ สร้างเสริมจติ สานกึ สาธารณะและ การทางานรว่ มกนั อย่างเป็น กลั ยาณมติ ร ๑.๒ จดั ทาระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศ เชงิ ภมู ิศาสตร์ (Geographic Information Systems : GIS) แสดงให้เห็นองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของชุมชนและทนุ ทางสงั คม ๑.๓ จดั ทาแผนแมบ่ ทชุมชนหรอื ธรรมนูญชุมชนแบบบูรณาการและ มีสว่ นร่วม เพ่อื ใช้เปน็ แผนรว่ มของ ทุกกลไกในพื้นท่ี และขับเคล่อื นสู่ การปฏบิ ัติ รวมท้งั การติดตาม ประเมินผลอยา่ งตอ่ เน่อื ง ๑.๔ ส่งเสริมสนบั สนนุ การจดั การความรู้ การจัดกระบวนการแลกเปลยี่ น เรยี นรู้และพัฒนาศกั ยภาพของ ประชาชน ครอบครัว และภาคส่วน ตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง ***สาหรบั ชมุ ชนในรูปแบบอน่ื ที่ไมไ่ ด้เปน็ ตาบล เช่น ชุมชนเขตเมืองสามารถปรับให้ สอดคล้องกบั บริบท

วงเงนิ ๒๕๖๕ ผูร้ บั ผิดชอบ ล้าน แหลง่ เงนิ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั บาท ๑๒๓๔

๕๒ แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เรือ่ งและประเดน็ ปฏิรูปที่ ๔ : ระบบสร้างเสริมชุมชนเขม้ แขง็ กิจกรรม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ๒. กาหนดใหม้ คี ณะกรรมการประชารัฐ สนับสนนุ ตาบลเข้มแขง็ ระดบั จงั หวดั ทาหนา้ ท่สี ่งเสริมสนบั สนนุ ยุทธศาสตร์ ตาบลเข้มแขง็ ประกอบด้วย หนว่ ยงาน ภาครัฐ ภาคประชาสงั คม ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่นๆ อยา่ งสมดุล ๒.๑ ประสานงาน ประสานแผน ประสานการสนบั สนนุ ๒.๒ จัดกระบวนการนโยบายสาธารณะ แบบมสี ่วนร่วมและสอ่ื สารทาง สังคม สนบั สนนุ การขบั เคลือ่ น ตาบลเขม้ แขง็ ๒.๓ สนับสนนุ การพฒั นาศักยภาพ นักจัดการชมุ ชน (Community Organizer) ระดบั ตาบล ให้ ครอบคลมุ ทกุ พน้ื ท่ี อยา่ งนอ้ ย ตาบลละ ๕ คน ๒.๔ ส่งเสริมสนบั สนุนการจัดการความรู้ การจดั กระบวนการแลกเปลย่ี น เรยี นรู้และพฒั นาศกั ยภาพของ ประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ท่ี เก่ียวข้อง

วงเงนิ ๒๕๖๕ ผูร้ บั ผิดชอบ ล้าน แหลง่ เงนิ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั บาท ๑๒๓๔

๕๓ แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เรื่องและประเด็นปฏิรูปที่ ๔ : ระบบสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ กจิ กรรม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ๓. จัดให้มีคณะกรรมการประชารฐั ส่งเสรมิ สนับสนนุ ตาบลเข้มแข็งระดบั ประเทศ ทาหนา้ ที่สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตร์ ตาบลเขม้ แขง็ ประกอบดว้ ย หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคประชาสงั คม ภาคเอกชน และภาคสว่ นอน่ื ๆ อย่างสมดุล ๓.๑ ประสานทุกภาคสว่ นเพ่อื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การขับเคล่ือน ยทุ ธศาสตรต์ าบลเขม้ แขง็ ๓.๒ จดั และสนับสนุนกระบวนการ นโยบายสาธารณะแบบมสี ว่ นร่วม การส่ือสารทางสงั คมเพ่ือการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตรต์ าบลเขม้ แขง็ ๓.๓ สนับสนนุ ให้เกดิ กลไกสนบั สนนุ การพฒั นาชมุ ชนท้องถนิ่ แบบ มีสว่ นร่วมที่ยงั่ ยืน เชน่ มลู นธิ ิเพือ่ การพัฒนาจงั หวัด ๓.๔ ส่งเสริมสนับสนนุ การจัดการความรู้ การจดั กระบวนการแลกเปลยี่ น เรยี นรู้และพัฒนาศกั ยภาพของ ประชาชนและภาคส่วนตา่ งๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง

วงเงนิ ๒๕๖๕ ผูร้ บั ผิดชอบ ล้าน แหลง่ เงนิ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั บาท ๑๒๓๔

๕๔ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสงั คม เรอ่ื งและประเด็นปฏิรปู ท่ี ๔ : ระบบสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็ กิจกรรม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ขนั้ ตอน ออกระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี ่าด้วย การสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ และกาหนด องค์กรทีม่ ีความคล่องตวั ภายใตห้ น่วยงาน ของรฐั ทีม่ อี ย่แู ล้วเป็นกลไกขับเคล่ือนตาม ข้อ ๑.๑ ข้อ ๑.๒ และ ๑.๓ ข้างตน้ ซ่งึ มี ระยะทางานเบอื้ งต้น ๕ ปี และให้มี การประเมนิ ผลเพ่ือพิจารณาการดาเนนิ งาน ตอ่ ขององคก์ รดงั กล่าว หรือพจิ ารณาจัดต้ัง กลไกในรปู แบบอน่ื ตอ่ ไป

วงเงนิ ๒๕๖๕ ผูร้ บั ผิดชอบ ล้าน แหลง่ เงนิ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั บาท ๑๒๓๔

๕๕ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสังคม เรอื่ งและประเด็นปฏิรปู ท่ี ๔ : ระบบสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ กิจกรรมท่ี ๒ การปฏริ ูประบบการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แขง็ เชิงประเด็นและกลไก : สิทธิและบทบาทชมุ วิธกี าร ๑. จัดทา พ.ร.บ.รองรับสทิ ธชิ ุมชนและ บุคคลตามมาตรา ๔๓ (๒) ใน รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ๒๕๖๐ ขั้นตอน จดั ทาร่าง พ.ร.บ. สทิ ธชิ ุมชนและบุคคลตาม มาตรา ๔๓ (๒) ในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ๒๕๖๐

วงเงิน ๒๕๖๕ ผูร้ บั ผิดชอบ ลา้ นบาท แหลง่ เงิน เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ัด ๔๑๒๓ ๔ มชน หน่วยงาน ๑๐ ลบ. งบประมาณ ชมุ ชนไดร้ ับการ มีกฎหมายรองรับ หลัก ได้แก่ แผ่นดนิ รบั รองสถานภาพ สิทธชิ มุ ชนภายใน คณะอนุ และสทิ ธชิ ุมชน ๓ ปี กรรมการ ขั้นพนื้ ฐานตาม พิจารณา เจตนารมณข์ อง เสนอ รฐั ธรรมนูญแห่ง กฎหมายที่ ราชอาณาจักร ต้องจดั ทา ไทย ๒๕๖๐ ใหม่เพือ่ สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตร์ ชาตแิ ละ การปฏิรูป ประเทศ / สานกั งาน คณะกรรม การปฏริ ูป กฎหมาย

๕๖ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม เร่ืองและประเดน็ ปฏิรูปท่ี ๔ : ระบบสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๒. แกไ้ ข พ.ร.บ. สภาองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ หรือกฎระเบยี บที่เกี่ยวข้อง ใหส้ ภาองคก์ รชุมชนมีบทบาทรว่ มท่ี สาคัญในกระบวนการพฒั นาและ ขบั เคล่ือนนโยบายสาธารณะในระดับ ชมุ ชนท้องถนิ่ และระดับชาติ ขั้นตอน ๑. จัดทาร่าง พ.ร.บ. สภาองคก์ รชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๕๑ ฉบับแก้ไขเพม่ิ เตมิ ๒. พฒั นาระบบและโครงสรา้ ง การสนับสนนุ ท่ีมีประสิทธิภาพ ๓. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการความรู้ การจดั กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพฒั นาศักยภาพของประชาชน และภาคส่วนตา่ งๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง ๓. ยกระดับ พอช. จากองคก์ ารมหาชนให้ มี พ.ร.บ. รองรบั เพ่ือปฏิบตั ภิ ารกจิ สง่ เสริมความเขม้ แข็งขององคก์ รชมุ ชน ได้อยา่ งคลอ่ งตวั และมปี ระสทิ ธภิ าพ ขน้ั ตอน ๑. จัดทา พ.ร.บ. สถาบันพัฒนาองคก์ รชุมชน ๒. พัฒนาระบบและโครงสร้างการสนับสนุน ทมี่ ีประสิทธิภาพ ๓. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การความรู้

วงเงิน ๒๕๖๕ ผ้รู บั ผดิ ชอบ ลา้ นบาท แหล่งเงิน เป้าหมาย ตวั ชี้วดั ๔๑๒๓ ๔ หนว่ ยงาน ๑๐ ลบ. งบประมาณ สภาองค์กรชมุ ชน มีกฎหมายและ หลกั ไดแ้ ก่ แผน่ ดนิ มบี ทบาทร่วมที่ แผนพฒั นาระบบ พอช. สาคัญใน และโครงสรา้ งการ กระบวนการ สนบั สนนุ สภา หน่วยงาน พัฒนาและ องคก์ รชมุ ชน รว่ ม ได้แก่ ขับเคลื่อน ภายใน ๒ ปี มท. นโยบาย สาธารณะใน ระดบั ชุมชน ทอ้ งถนิ่ และ ระดับชาติ หน่วยงาน ๑๐ ลบ. งบประมาณ สง่ เสรมิ ความ ๑. มีกฎหมายวา่ หลัก ได้แก่ แผ่นดิน เข้มแข็งของ ดว้ ยสถาบนั พอช. องคก์ รชมุ ชนใหม้ ี พัฒนาองคก์ ร คล่องตัวและมี ชมุ ชนแลว้ ประสทิ ธภิ าพ เสรจ็ ภายใน ยง่ิ ขึ้น ๒ ปี ๒. มีแผนพัฒนา ระบบและ โครงสรา้ งการ

๕๗ แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เร่ืองและประเด็นปฏริ ูปท่ี ๔ : ระบบสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ การจัดกระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของประชาชนและ ภาคสว่ นตา่ งๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ๔. ส่งเสริมและให้ความคุ้มครองชาวไทย กลุ่มชาตพิ ันธ์ุต่างๆ ตามรฐั ธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ๒๕๖๐ มาตรา ๗๐ และดาเนนิ การใหเ้ ปน็ รปู ธรรม ขั้นตอน ๑. จัดทายุทธศาสตร์การส่งเสริมการอยู่ รว่ มกนั ภายใตพ้ หวุ ัฒนธรรม ๒. จัดทา พ.ร.บ. ส่งเสริมและอนุรักษ์วิถี ชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. .... ตาม รฐั ธรรมนูญฯ มาตรา ๗๐ ๕. จัดทา พ.ร.บ.ยุตธิ รรมชุมชนเพ่ือสร้าง เสริมระบบไกล่เกลยี่ และสรา้ งความ ยตุ ิธรรมในระดบั พื้นท่ตี ามนยั ยะ แนวนโยบายแห่งรฐั มาตรา ๖๘ ตาม รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๖๐

๒๕๖๕ ผู้รบั ผดิ ชอบ วงเงนิ เปา้ หมาย ตวั ชีว้ ดั ลา้ นบาท แหล่งเงิน ๔๑๒๓ ๔ หน่วยงาน ชาวไทยกลุม่ ชาติ สนบั สนนุ สภา หลัก ไดแ้ ก่ งบประมาณ พันธุต์ า่ งๆ ไดร้ บั องค์กรชุมชน สมช. แผ่นดนิ การคุม้ ครองและ ภายใน ๒ ปี หนว่ ยงาน ๕ ลบ. มสี ทิ ธิดารงชีวติ ๑. มแี ผนแมบ่ ทวา่ หลัก ไดแ้ ก่ ๑๐ ลบ. ในสงั คมตาม ดว้ ยการ วธ. (ศูนย์ วฒั นธรรม สง่ เสรมิ และให้ มานษุ ยวทิ ยา ๑๐ ลบ. งบประมาณ ประเพณี และวถิ ี ความคุ้มครอง สิรนิ ธร) แผ่นดิน ชวี ิตด่งั เดมิ ตาม ชาวไทยกลมุ่ หน่วยงาน ความสมคั รใจ ชาตพิ นั ธุ์ตา่ งๆ หลกั ได้แก่ ภายใน ๑ ปี กระทรวง เสรมิ สร้างความ ๒. มีกฎหมายวา่ ยุตธิ รรม สมานฉนั ท์ใน ด้วยสง่ เสรมิ และ ชมุ ชนบนฐาน ใหค้ วาม ของการมสี ว่ น ค้มุ ครองชาวไทย รว่ มของ กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ ประชาชนในดา้ น ภายใน ๓ ปี งานยุตธิ รรม มีกฎหมายว่าด้วย ร ะ บ บ ยุ ติ ธ ร ร ม ชมุ ชนภายใน ๒ ปี

๕๘ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสงั คม เรอ่ื งและประเดน็ ปฏริ ปู ที่ ๔ : ระบบสร้างเสริมชุมชนเข้มแขง็ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ข้ันตอน จัดทาร่าง พ.ร.บ.ยตุ ิธรรมชุมชนรองรับระบบ ยุตธิ รรมในระดบั พ้นื ทต่ี ามนัยรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ๒๕๖๐ กิจกรรมที่ ๓ การปฏริ ปู ระบบการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ เชงิ ประเดน็ และกลไก: ทรัพยากรและทนุ ช วธิ กี าร ๑. ผลกั ดนั พ.ร.บ.ธนาคารท่ีดนิ ข้ันตอน จัดทารา่ ง พ.ร.บ. ธนาคารทีด่ ินและนาเข้าสู่ กระบวนการนติ บิ ัญญัติแหง่ ชาติ ขับเคลอ่ื นผ่านคณะกรรมการปฏริ ูป ประเทศดา้ นเศรษฐกจิ ๒. พัฒนาการดาเนินงานนโยบาย การจัดการทีด่ นิ แปลงรวมทีเ่ นน้ บทบาท ของชมุ ชน/ท่เี น้นกระบวนการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็ ไปพร้อมๆ กัน (Collective activities)

วงเงนิ เปา้ หมาย ตวั ช้วี ดั ๒๕๖๕ ผู้รับผดิ ชอบ ล้านบาท แหล่งเงิน ๔๑๒๓ ๔ ชมุ ชน ช่วยเหลือคน มีกฎหมายว่าด้วย หน่วยงาน ยากจนท่ีท่ดี นิ จะ ธนาคารทดี่ ินแล้ว หลกั ได้แก่ หลุดมือ และชว่ ย เสร็จภายใน ๒ ปี กค. พัฒนาการใช้ ประโยชนท์ ่ีดนิ หนว่ ยงาน ของเอกชนเพื่อให้ หลัก ได้แก่ เกิดประโยชน์ตอ่ คณะกรรม ประเทศ รวมทัง้ การ ลดการบกุ รุก นโยบาย ทาลายปาุ ทด่ี ิน การใช้ทดี่ นิ มีกลไกการมสี ่วน สาธารณะเปน็ รว่ มของชุมชนใน ประโยชน์ร่วม การจดั การท่ีดนิ อย่างแท้จรงิ โดย แปลงรวมภายใน ท่ีดนิ ยงั เปน็ ของ ๑ ปี รฐั อย่างย่งั ยนื ไม่

๕๙ แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสงั คม เร่อื งและประเด็นปฏิรปู ท่ี ๔ : ระบบสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กจิ กรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ขน้ั ตอน พฒั นาระบบกลไก และกระบวนการดาเนนิ โครงการทดี่ ินแปลงรวม ๓. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการแหล่งนา้ ขนาดเล็กบนฐานการมีบทบาทการเปน็ เจ้าของ และการมีสว่ นร่วมโดยตรงของ ชุมชนอยา่ งเปน็ รูปธรรม เช่ือมโยงกับ แผนพฒั นาแหล่งนา้ ขนาดใหญ่ ข้นั ตอน พฒั นาระบบกลไก และกระบวนการบริหาร จดั การแหลง่ นา้ ขนาดเล็กของชมุ ชน โดยการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน

วงเงนิ ๒๕๖๕ ผ้รู ับผดิ ชอบ ลา้ นบาท แหลง่ เงิน เปา้ หมาย ตัวช้วี ัด ๔๑๒๓ ๔ แห่งชาติ / ถูกเปลย่ี นมือ ทส. เปลี่ยน วัตถปุ ระสงค์ หนว่ ยงาน ๕ ลบ. งบประมาณ ๑. บรรเทาภาวะ มีกลไกการมีสว่ น แผน่ ดิน ภัยแลง้ ภาวะ ร่วมของชุมชนใน หลกั ได้แก่ น้าทว่ ม ให้กบั การบริหารจดั การ คณะ ชมุ ชนทวั่ แหลง่ นา้ ขนาดเลก็ กรรมการ ประเทศ ของชมุ ชน โดย ทรัพยากร ลดความ นา้ แห่งชาติ เหล่อื มลา้ ของ หนว่ ยงานรัฐให้ การดารงชวี ติ การสนบั สนนุ ข้ันพนื้ ฐาน ระหวา่ งคนใน งบประมาณและ ชนบทและ การบริหารภายใน ๑ ปี คนในเมอื งให้ ใกลเ้ คียงกนั ๒. ชุมชนได้รบั การสง่ เสริม ความเขม้ แข็ง ตาม กระบวนการ ประชารัฐ

๖๐ แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เรอ่ื งและประเดน็ ปฏิรปู ท่ี ๔ : ระบบสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๔. แก้ไข พ.ร.บ. ปาุ ไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔ และ พ.ร.บ.อ่ืนๆ และกฎระเบียบท่ีเกย่ี วข้อง ขน้ั ตอน จัดทาร่าง พ.ร.บ.ปุาไม้ฉบับแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ร่าง พ.ร.บ.สวนปาุ ฉบบั แก้ไขเพม่ิ เตมิ และ แกไ้ ขกฎระเบียบต่างๆ ที่เกย่ี วข้องเพือ่ ขจัด อปุ สรรค และจงู ใจให้ชมุ ชนปลกู ต้นไม้ยนื ต้น มูลค่าสงู ในที่ดนิ กรรมสทิ ธ์ิ ๕. จดั ทากฎกระทรวงเร่อื งหลักประกนั ทรัพยส์ นิ อน่ื ตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง ตาม พ.ร.บ.หลกั ประกัน ทางธุรกิจ พ.ศ.๒๕๕๘ มาตรา ๘(๖) และ จดั ทา พ.ร.บ. ธนาคารตน้ ไม้ ขัน้ ตอน ๑. ออกเปน็ กฎกระทรวงตามมาตรา ๘(๖) ตาม พ.ร.บ. หลกั ประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อกาหนดให้ตน้ ไมเ้ ปน็ ทรัพย์สินที่นามา เป็นหลกั ประกนั ทางธรุ กจิ ๒. จัดทาร่าง พ.ร.บ. ธนาคารต้นไม้รองรับ การสง่ เสริมการปลูกไม้ยืนตน้ มลู คา่ สงู

วงเงนิ ๒๕๖๕ ผูร้ ับผดิ ชอบ ล้านบาท แหลง่ เงิน เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด ๔๑๒๓ ๔ หน่วยงาน ๑๐ ลบ. งบประมาณ ส่งเสริม มกี ฎหมายที่ หลัก ไดแ้ ก่ แผน่ ดนิ สนบั สนนุ และจงู ส่งเสริมสนบั สนนุ ทส. ใจใหป้ ระชาชน จูงใจการปลกู ตน้ ไม้ และชุมชนปลูก ยืนตน้ มลู คา่ สูง ตน้ ไม้ยนื ต้น อยา่ งเปน็ รปู ธรรม มูลคา่ สงู ในทดี่ ิน ภายใน ๒ ปี กรรมสิทธเิ์ พือ่ การออม และ สรา้ งมูลคา่ ทาง เศรษฐกิจ หน่วยงาน ๑๐ ลบ. งบประมาณ มีกลไกให้ตน้ ไม้ ๑. มกี ฎหมาย หลกั ได้แก่ แผ่นดิน เป็นหลกั ประกัน รองรับใหต้ ้นไม้ พณ. / กค. ทางธรุ กิจและ เปน็ หลักทรัพย์ / ธกส. สง่ เสริมการปลกู ประกนั ทางธุรกิจ ไม้ยืนตน้ ที่มี ภายใน ๑ ปี มูลค่าสงู ทาง ๒. มีกฎหมายวา่ เศรษฐกิจ เกิด ด้วยธนาคาร การออมทรพั ย์ ตน้ ไม้ ภายใน บนดนิ เพ่ือความ ๒ ปี มง่ั คง่ั ของ ประเทศ

๖๑ แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสังคม เร่ืองและประเด็นปฏิรปู ที่ ๔ : ระบบสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ เพ่ือเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ การออม รองรับสังคมสูงวัย และการเพิ่มคุณค่า ทางส่งิ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ และนาเข้าสูก่ ระบวนการสภานติ ิ บัญญตั แิ ห่งชาติ ๖. ส่งเสริมเครือข่ายวชิ าการ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี เพ่อื สนบั สนนุ การพฒั นา วิชาการ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ และนวตั กรรม ชุมชน ให้เข้มแขง็ และเปน็ ระบบ ขัน้ ตอน ๑. จดั ทาแผนแมบ่ ทวา่ ด้วยการสนบั สนนุ การพฒั นาวชิ าการ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน และ นวัตกรรมชุมชน ๒. ขับเคล่อื นแผนแมบ่ ทสู่การปฏบิ ตั ิ ๓. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจัดการความรู้ การจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และพัฒนาศักยภาพของประชาชนและ ภาคสว่ นตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง

วงเงนิ เปา้ หมาย ตัวชีว้ ดั ๒๕๖๕ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ล้านบาท แหลง่ เงิน ๔๑๒๓ ๔ หน่วยงาน ๒๕๐ ลบ. งบประมาณ มีกลไกสนบั สนุน ๑. มีแผนแมบ่ ทวา่ แผ่นดิน การสร้างและ ด้วยการ หลัก ได้แก่ (ปลี ะ ๕๐ สนบั สนนุ การ เครอื ข่าย ลบ.) แลกเปลย่ี นองค์ พัฒนาวชิ าการ ม.ราชภฏั / ความรู้เพื่อชมุ ชน วทิ ยาศาสตร์ โดยชมุ ชน เครอื ข่าย และเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญา ม.ราชมงคล/ ทอ้ งถิ่น และ นวัตกรรม ทปอ. /สกอ. ชมุ ชน แลว้ เสรจ็ ภายใน /สวนช. / ๒ ปี ๒. เกดิ เครอื ข่าย วธ. วชิ าการ วิทยาศาสตร์ หนว่ ยงาน และ ร่วม ได้แก่ เทคโนโลยี สถาบนั วิชาการ/ วทิ ยาลยั ชมุ ชน/ ศธ. (วทิ ยาลยั

๖๒ แผนการปฏิรูปประเทศด้านสงั คม เรอื่ งและประเดน็ ปฏิรปู ที่ ๔ : ระบบสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔

๒๕๖๕ ผรู้ ับผิดชอบ วงเงนิ เปา้ หมาย ตัวชว้ี ัด ลา้ นบาท แหลง่ เงิน ๔๑๒๓ ๔ อาชวี ศึกษา หนุนเสริม / การ ชมุ ชนเข้มแข็ง อาชีพ)/ ครอบคลุม ภาคเอกชน ทั่วประเทศ /ภาค ภายใน ๕ ปี ประชา สังคม

๖๓ แผนการปฏิรูปประเทศด้านสงั คม เร่อื งและประเดน็ ปฏิรูปท่ี ๔ : ระบบสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กจิ กรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒ ๓ ๔๑๒ ๓๔ ๑ ๒ ๓๔ ๑๒ ๓๔ กจิ กรรมที่ ๔ การปฏริ ูประบบการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็ เชิงประเด็นและกลไก: สวสั ดกิ ารชุมชน วิธีการ ๑. แก้ไข พ.ร.บ. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ สังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยเน้นการสร้าง ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างรัฐ อปท. และชุมชน ขั้นตอน ๑. จัดทาร่าง พ.ร.บ. สวัสดิการสงั คมฉบับ แกไ้ ขเสนอ ครม. และ สนช. ๒. ดาเนินการตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการจดั สวัสดกิ ารสงั คม วิธกี าร ๒. จดั ทา พ.ร.บ.สง่ เสรมิ และพัฒนาองคก์ ร ภาคประชาสังคม พ.ศ. .... ขนั้ ตอน ๑. เร่งรดั การนาร่าง พรบ.สง่ เสริมและ พฒั นาองคก์ รภาคประชาสังคม ที่ ดาเนินการโดยคณะกรรมการสง่ เสริม และพัฒนาองค์กรภาคประชาสงั คม (คสป.) ทเ่ี กดิ ขึ้นตามระเบียบสานัก นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการสง่ เสริมและ พฒั นาองคก์ รภาคประชาสงั คม พ.ศ. ๒๕๕๘ เข้าสู่กระบวนการนิติ บัญญตั ิ ๒. จัดทาแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมและ พฒั นาองค์กรภาคประชาสังคม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook