Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาพรวมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม

ภาพรวมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม

Published by สวพร จันทรสกุล, 2019-09-10 00:07:44

Description: ภาพรวมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม

Search

Read the Text Version

เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๒๔ ก หน้า ๑ (เล่มที่ ๕) ราชกจิ จานุเบกษา ๖ เมษายน ๒๕๖๑ ประกาศสาํ นกั นายกรฐั มนตรี เรื่อง การประกาศแผนการปฏิรปู ประเทศ โดยท่ีรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กาํ หนดให้ดําเนินการ ปฏิรูปประเทศ และให้ดําเนินการปฏริ ูปประเทศอย่างน้อยในดา้ นต่าง ๆ ให้เกดิ ผลตามที่กําหนด โดยให้เป็นไป ตามท่ีกําหนดในกฎหมายว่าด้วยแผนและข้ันตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศ ซึ่งอย่างน้อยต้องมี วิธีการจัดทําแผน การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ข้ันตอนในการดําเนิน การปฏิรูปประเทศ การวัดผลการดําเนินการ และระยะเวลาดําเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน และต่อมา ได้มีการตราพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลใช้บังคับ เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ เป็นต้นมา โดยกําหนดให้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ด้านต่าง ๆ เพ่ือรับผิดชอบในการจัดทําแผนการปฏิรูปประเทศแต่ละด้าน เพื่อกําหนดกลไก วิธีการ และขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ และเมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และรายงานตอ่ รฐั สภาเพอ่ื ทราบแล้ว ใหป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาและใชบ้ ังคับได้ตอ่ ไป เพื่อให้เป็นไปตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ แต่งต้ังคณะกรรมการปฏิรูป ประเทศด้านต่าง ๆ จํานวน ๑๑ คณะ อันประกอบด้วย คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศด้านกฎหมาย คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ด้านสาธารณ สุข คณ ะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน และคณะกรรมการ ปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อรับผิดชอบใน การดําเนินการจัดทําร่างแผนการปฏิรูปประเทศให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกําหนด ตลอดจนได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องอย่างกว้างขวาง เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาจดั ทาํ ร่างแผนการปฏิรูปประเทศด้านตา่ ง ๆ ดว้ ยแลว้ บัดน้ี คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ ได้ดําเนินการจัดทําร่างแผนการปฏิรูปประเทศ เป็นท่ีเรียบร้อย และได้เสนอคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติพิจารณาความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบกับคณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑ เห็นชอบร่างแผนการปฏิรูปประเทศ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติและคณะกรรมการปฏิรูปประเทศเสนอ และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้มีการประชุมเมอื่ วันท่ี ๒๙ มนี าคม ๒๕๖๑ รับทราบแผนการปฏริ ปู ประเทศเป็นที่เรียบร้อยแลว้

เลม่ ๑๓๕ ตอนที่ ๒๔ ก หนา้ ๒ ๖ เมษายน ๒๕๖๑ ราชกจิ จานุเบกษา ในการนี้ เพ่ือให้เป็นไปตามที่กําหนดในมาตรา ๖ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติแผน และขัน้ ตอนการดําเนินการปฏริ ูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ จงึ ให้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเพ่อื ทราบโดยทัว่ กัน ประกาศ ณ วนั ที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี

๑ สว่ นที่ ๑ ภาพรวมการปฏริ ปู ประเทศด้านสงั คม ๑.๑ บทนา การปฏิรูปประเทศด้านสังคม เป็นหน่ึงใน ๑๑ ด้านของการปฏิรูปประเทศที่ต้องดาเนินการตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวดท่ี ๑๖ บัญญัติให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศ เพอื่ ให้บรรลุเปาู หมาย ประเทศชาตมิ ีความสงบเรียบร้อย สามัคคีปรองดอง พัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ สังคม มีความสงบสุข เปน็ ธรรม มีโอกาสทัดเทยี ม ขจดั ความเหล่ือมล้า ประชาชนมคี วามสุข มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ รวมท้ังให้มีกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดาเนินการปฏิรูป ประเทศ ซงึ่ ได้มีการตราพระราชบัญญตั แิ ผนและขนั้ ตอนการดาเนนิ การปฏิรปู ประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ และมีผล บังคับใช้เมื่อวันท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ ต่อมาได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ ข้ึน รวมท้ังคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม จานวน ๑๓ คน ซึ่งมีนายปีติพงศ์ พ่ึงบุญ ณ อยุธยา เปน็ ประธานกรรมการ ตามประกาศสานกั นายกรัฐมนตรี เม่ือวนั ท่ี ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ โดยที่ การจัดทาแผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ต้องมีความชัดเจน กาหนดวิธีการ ขั้นตอน กลไกและเปูาหมาย มกี ารรับฟังความเห็นจากประชาชนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ท่ีสาคัญต้องนาแผน ดังกล่าวน้ีไปปฏิบัติภายใน ๑ ปีและให้เห็นผลสัมฤทธ์ิภายใน ๕ ปี พร้อมท้ังให้มีการติดตามการ ดาเนินงานตามแผน และรายงานผลต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ในการนี้ คณะกรรมการปฏิรูป ประเทศด้านสังคม จึงได้ดาเนินกระบวนการจัดทาแผนปฏิรูปประเทศด้านสังคมอย่างเป็นขั้นตอน โดยทบทวนบริบทตามข้อกาหนดของรัฐธรรมนูญ และข้อกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ประมวลผลการศึกษา และข้อเสนอแนะท่ีเกี่ยวกับการปฏิรูปด้านสังคมที่ได้มีการจัดทามาแล้ว ทั้งของสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) และหน่วยงานอ่ืนๆ รวมทั้งวิเคราะห์สถานการณ์ แนวโน้มภายนอกและภายในที่สาคัญด้านสังคม พิจารณาความสอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ วเิ คราะหส์ งั เคราะห์วางกรอบประเดน็ การปฏริ ูปสังคมท่ีสาคัญ กาหนดเปูาหมายและผลสัมฤทธ์ิท่ีคาดว่า จะเกิดขึน้ โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี ๑.๑.๑ บรบิ ทตามขอ้ กาหนดของรฐั ธรรมนูญ การปฏิรูปประเทศด้านสังคม นอกจากจะเป็นไปตามบทบัญญัติ หมวดที่ ๑๖ ของ รัฐธรรมนูญ แล้ว ยังมีบริบทความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในหมวดต่างๆ และ มาตราต่างๆ ท่ีสาคัญ ดังน้ี ๑) หมวด ๓ สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ทั้งในการได้รับสิทธิ เสรีภาพและ ความคุ้มครองในระดับบุคคลอย่างเท่าเทียมกัน รวมถึงสิทธิของผู้บริโภคท่ีย่อมได้รับการคุ้มครอง ตลอดจนระบุถงึ สิทธิของบุคคลและชุมชนในด้านต่าง ๆ อาทิ การอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู ศิลปะ วัฒนธรรม และ จารีตประเพณี การจัดการและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ การจัดให้มีระบบสวัสดิการของ ชุมชน อาทิ มาตรา ๒๗ มาตรา ๓๒ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๖

๒ ๒) หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ โดยรัฐต้องอนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มและจารีตประเพณอี นั ดงี ามของทอ้ งถน่ิ และของชาติ และจัดให้มพี ื้นท่ี สาธารณะสาหรับกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน และองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สิทธิและมสี ว่ นร่วมในการไดใ้ ชด้ าเนนิ การดว้ ย และหากการดาเนินการของรัฐอาจ มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมหรือชุมชนต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากชุมชนที่เก่ียวข้อง รวมถึง ต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ และจัดให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก ตลอดจนจัดให้มีมาตรการ กลไกท่ีมีประสิทธิภาพในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภคด้านต่างๆ อาทิ มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๐ มาตรา ๖๑ ๓) หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ เพื่อใช้เป็นแนวทางให้รัฐดาเนินการตรากฎหมาย และกาหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินในเรื่องต่างๆ โดยมีส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูป ประเทศด้านสังคม ในเรื่องการส่งเสริมและให้ความคุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ การให้ ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส การส่งเสริมให้มี ความสามารถในการทางานอย่างเหมาะสมกับศักยภาพ คุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความปลอดภัย ไดร้ ับรายไดส้ วสั ดิการ การประกนั สังคม และสิทธิประโยชน์อื่นที่เหมาะสมแก่การดารงชีพ การส่งเสริม การออมเพ่อื การดารงชีพเมื่อพ้นวัยทางาน การส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพให้แก่ ระบบสหกรณ์ประเภทต่างๆ และกิจการวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางของประชาชนและชุมชน การส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ อาทิ มาตรา ๖๘ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๑ มาตรา ๗๔ มาตรา ๗๘ ๔) หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าท่ีและ อานาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในการจัดบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ ตามมาตรา ๒๕๐ และมาตรา ๒๕๓ กาหนดให้การดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องเปิดเผยข้อมูล และมกี ลไกให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมด้วย ๑.๑.๒ ข้อกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง การปฏิรูปประเทศด้านสังคม ดาเนินงานตามพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการ ดาเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ และจากการทบทวนบริบทตามข้อกาหนดของรัฐธรรมนูญ ในส่วนท่เี ก่ียวขอ้ ง จะมีข้อกฎหมายสาคัญเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ซ่ึงสามารถจัดเป็น กลุ่มต่างๆ ได้แก่ การสร้างหลักประกันในการดารงชีวิตของประชาชน การกาหนดสิทธิชุมชนและ การส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน การให้ความช่วยเหลือกลุ่มผู้ด้อยโอกาส การสนับสนุนกิจการ ท่ีให้บริการทางสังคม และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หลายฉบับทั้งในส่วนของพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) กฎกระทรวง ระเบียบ สานกั นายกรฐั มนตรี และประกาศของหน่วยงานต่าง ๆ ดงั นี้ ๑) การสร้างหลักประกันในการดารงชีวิตของประชาชน อาทิ พ.ร.บ.กองทุนการออม แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ร.บ.กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๒

๓ พ.ร.บ.ขายตรงและตลาดแบบตรง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ร.บ.ความรับผดิ ต่อความเสียหายที่เกิดข้ึน จากสนิ ค้าท่ีไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑ และ (ร่าง) พ.ร.บ.กองทนุ บาเนจ็ บานาญแห่งชาติ พ.ศ. .... ๒) การกาหนดสิทธิชุมชนและการส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน อาทิ พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ร.ฎ.จัดต้ังสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ร.บ.กองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๘ พ.ร.บ. สภาองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ร่าง) พ.ร.บ.ธนาคารทดี่ ิน พ.ศ. .... และ (รา่ ง) พ.ร.บ.สิทธิชมุ ชน พ.ศ. .... ๓) การให้ความช่วยเหลือกลุ่มผู้ด้อยโอกาส อาทิ พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕ พ.ร.บ.คนเขา้ เมอื ง พ.ศ. ๒๕๒๒ กฎกระทรวงสิ่งอานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. ๒๕๔๘ กฎกระทรวงกาหนดลักษณะหรือการจัดให้มีอุปกรณ์ ส่ิงอานวยความสะดวก หรือบริการในอาคาร สถานท่ี ยานพาหนะ และบริการขนส่ง เพ่ือให้คนพิการสามารถเข้าถึงและ ใช้ประโยชน์ได้ พ.ศ. ๒๕๕๖ และกฎกระทรวงกาหนดวิธีการและค่าธรรมเนียมคาขอพิสูจน์ความเป็น บดิ าซ่งึ มีความเปน็ สญั ชาติไทยของผเู้ กิดเพอื่ การได้สัญชาตไิ ทยโดยการเกิด พ.ศ. ๒๕๕๓ ๔) การสนับสนุนกิจการที่ให้บริการทางสังคม อาทิ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ร่าง) พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจ เพื่อสังคม พ.ศ. .... และประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเก่ียวกับภาษีเงินได้ (ฉบับท่ี ๒๙๑) เร่ือง กาหนด หลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขเพื่อการยกเว้นภาษีเงินไดข้ องวสิ าหกจิ เพือ่ สงั คม ๕) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม อาทิ พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนา เด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๖๐ พ.ร.บ. ลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ และระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาสาสมัครประจา หม่บู ้าน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑.๑.๓ ผลการศกึ ษาและขอ้ เสนอแนะทเี่ กยี่ วกบั การปฏิรูป จากการศึกษาทบทวน ข้อเสนอการปฏิรูปประเทศของสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) พบว่า สปช. ได้จัดทาข้อเสนอประเด็นการปฏิรูป รวมท้ังสิ้น ๓๗ ด้าน โดยมีข้อเสนอการปฏิรูปท่ีเป็น ภาพรวมเกยี่ วกับด้านสงั คมในหลากหลายด้าน อาทิ การปฏิรูปสวัสดกิ ารสังคมทใี่ ห้ความสาคญั กับระบบ ประกันสังคมถ้วนหน้า ระบบสวัสดิการสังคมท่ีเหมาะสมสาหรับเด็กปฐมวัย ระบบสวัสดิการสังคมกลุ่ม ผ้ดู อ้ ยโอกาส ผ้ยู ากไร้ คนพกิ าร คนชายขอบ สวัสดิการท่ีอยอู่ าศัย การส่งเสรมิ ความเข้มแข็งภาคประชา สังคม และระบบกลไกบริหารจัดการระบบสวัสดิการสังคม การปฏิรูประบบเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย ทั้งดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสภาพแวดล้อม ดา้ นสุขภาพ และดา้ นสงั คม การปฏริ ปู ระบบเพอื่ สร้างเสริมชุมชน เข้มแข็งท่ีมุ่งเน้นการเพ่ิมสิทธิและบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรและทุนชุมชน สวัสดิการชุมชน และสัมมาชีพชุมชน และการปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนของระบบและ กลไกการมีส่วนร่วมในการค้มุ ครองผู้บริโภค ระบบข้อมูลและความปลอดภัยของผู้บริโภค ระบบชดเชย

๔ ความเสียหายของผู้บริโภค กลไกและมาตรการการคุ้มครองผู้บริโภคภาครัฐ และปรับปรุงกฎหมาย ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ขณะเดียวกันได้ทบทวน ข้อเสนอการปฏิรูปประเทศของสภาขับเคล่ือนการปฏิรูป ประเทศ (สปท.) ซึ่งได้คัดเลือกประเด็นและแนวทางปฏิรูปประเทศของ สปช. เพ่ือผลักดันให้เกิดผล ในทางปฏิบัติ จานวน ๑๐๐ เรื่อง ท่ีผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการประสานงานรวม ๓ ฝุาย (ครม. สนช. และ สปท.) พบว่า มีประเด็นข้อเสนอการปฏิรูปประเทศท่ีเก่ียวข้องกับด้านสังคมท่ีเป็น รายละเอียดของการดาเนินการด้านต่างๆ อาทิ การปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อสังคมท่ีมุ่งเน้นพัฒนาระบบ โครงสร้างองค์กรทางสงั คมใหมแ่ ละตลาดการลงทนุ ทางสังคม ขณะทก่ี ลุ่มผู้สูงอายุใหค้ วามสาคัญกับการ สร้างหลกั ประกนั ความมนั่ คงดา้ นรายไดเ้ พ่อื การยงั ชพี ของผู้สูงอายุ โดยเร่งรดั การดาเนินการตาม พ.ร.บ. กองทุนการออมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ การพัฒนากฎระเบียบท่ีเอ้ือให้ อปท. สามารถดาเนินการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยออกเป็นระเบียบกระทรวงมหาดไทย การขับเคล่ือนต้นแบบงานบูรณาการ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่เน้นสนับสนุนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ และการปฏิรูปเศรษฐกิจผู้สูงอายุ ท้ังการสร้างงาน/รายได้/ท่ีอยู่อาศัย/การพัฒนาผลิตภัณฑ์สาหรับ ผู้สูงอายุ ส่วนการสร้างความเข้มเเข็งให้ชุมชน มุ่งเน้นการปฏิรูปสัมมาชีพชุมชน การเงินฐานรากและ ร่าง พ.ร.บ.สถาบันการเงินประชาชน พ.ศ. .... และระบบสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนียน ขณะที่การพัฒนาระบบบริหารจัดการให้บริการทางสังคมมีการปฏิรูปทั้งโครงสร้างองค์กรภาครัฐ และ การสร้างธรรมาภิบาล ประสิทธิภาพ การพัฒนาบุคลากรภาครัฐ โดยเน้นพัฒนาศูนย์ข้อมูลสาหรับ การบรหิ ารงานและบูรณาการขอ้ มูลในระดับต่างๆ ทเี่ ชือ่ มโยงกนั ระหวา่ งหน่วยงาน และกาหนดช่องทาง การให้บริการที่เหมาะสม อีกทั้ง ยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพศูนย์บริการคนพิการ และ การปฏริ ปู ระบบการเรยี นรู้เพ่อื สรา้ งคนไทยให้เปน็ พลเมืองดี วินยั เด่น นอกจากน้ี ยังได้พิจารณาถึงข้อเสนอการปฏิรูปด้านสังคมของหน่วยงานอ่ืน ได้แก่ คณะกรรมการบริหารราชแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้าง ความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.) ในประเด็นปฏิรูปเรื่อง การสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง โดยผลักดันเร่ือง ยุตธิ รรมชมุ ชน พ.ร.บ.สถาบนั การเงนิ ประชาชน พ.ร.บ.ธนาคารท่ีดนิ และกระทรวงการคลัง ในประเด็น การปฏิรูปเรื่องธนาคารท่ีดินและร่าง พ.ร.บ.ธนาคารท่ีดิน พ.ศ. .... ท่ีปรับปรุงเพ่ิมเติมจากข้อเสนอของ สปท. อาทิ ให้ธนาคารมีอานาจดาเนินการผ่านสถาบันการเงินท่ีมีกฎหมายเฉพาะจัดต้ังขึ้นได้ และ การกาหนดทุนเรือนหุ้นของธนาคาร ๑.๒ สถานการณ์และแนวโนม้ การพัฒนาประเทศในช่วงท่ีผ่านมา ช่วยยกระดับท้ังทางเศรษฐกิจและสังคมให้คนหลายกลุ่ม มคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดีข้ึน สะทอ้ นได้จากการเตบิ โตของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมของประเทศ การจา้ งงานที่เพิ่มขึ้น รายได้ต่อหัวทเ่ี พิ่มขึน้ สัดส่วนคนยากจนทล่ี ดลง การเข้าถึงบริการทางสังคมต่างๆ ท่ีดีข้ึน อย่างไรก็ตาม การเติบโตดังกล่าวอยู่ในอัตราท่ีลดลง อีกท้ังยังพบปัญหาและข้อท้าทายต่อการเติบโตอย่างยั่งยืน ในอนาคตหลายด้าน จึงต้องทบทวนวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้มท้ังภายน อกประเทศและ ภายในประเทศ ท่ีเปน็ ประเดน็ สาคญั ตอ่ การปฏิรปู ประเทศดา้ นสังคม ดังนี้

๕ ๑.๒.๑ สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ภายนอก ๑) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีส่งผลต่อความเป็นไปได้ในการบริหารจัดการ ภาครัฐที่มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยโลกได้เข้าสู่ยุคระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลท่ีเทคโนโลยีดิจิทัล จะเป็นทงั้ เครอื่ งมือสนับสนุนการทางาน และเปล่ียนแปลงรปู แบบกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลไปอย่างสิ้นเชิง รวมถึงการใช้เทคโนโลยีเพ่ือยกระดับชีวิตในด้านต่างๆ อาทิ การพัฒนา อุปกรณ์ทางการแพทย์ การพัฒนาการเรียนรู้ นอกจากนี้ เทคโนโลยีจะส่งผลให้การจัดเก็บ วิเคราะห์ และการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลมีประสทิ ธิภาพยิง่ ขึ้น ท้งั ผลิตภณั ฑ์ฮาร์ดแวร์ ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ สื่อสารดิจิทัล อุปกรณ์โทรคมนาคมดิจิทัล และการใช้ดิจิทัลรองรับการให้บริการของภาคธุรกิจการเงิน และธุรกิจบริการอื่นๆ ที่จะส่งผลให้การรวบรวมและกระจายข้อมูลไปยังคนจานวนมากทาได้ง่ายและ รวดเร็วมากขึ้นผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบนฐานของบริการที่มีการแบ่งปันการใช้ทรัพยากร (Shared Services) ท่ีมีต้นทุนต่าลง ประกอบกับการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ด้าน Cloud Computing และ Big Data ท่ีมีความสามารถในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ อันจะ ทาให้การใช้ประโยชน์จากข้อมูลในการวางแผนพัฒนาบริการทางสังคมสามารถทาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพมากขน้ึ ๒) กระแสการเติบโตของหุ้นส่วนการพัฒนาทางสังคม โดยเฉพาะวิสาหกิจ เพ่ือสังคม (Social Enterprise: SE) วิสาหกิจเพ่ือสังคมและกระแสเร่ืองการประกอบการเพ่ือสังคม ได้ถูกกล่าวถึงและดาเนินการอย่างกว้างขวางทั้งจากภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ว่าเป็นหน่ึงใน โมเดลทางเลือกสาคัญที่เป็นคาตอบสาหรับการพัฒนาอย่างย่ังยืนในศตวรรษหน้า ดังจะเห็นได้อย่าง ชัดเจนในการประชุมสุดยอดผู้นาโลก หรือ G๘ ในปี ค.ศ. ๒๐๑๓ ท่ีประเด็นเร่ืองระบบเศรษฐกิจใหม่ (Social Economy) และตลาดการลงทุนเพื่อสังคม (Social Impact Investment Market) เพื่อ สนับสนุนให้เกิดวิสาหกิจเพ่ือสังคมอย่างกว้างขวาง โดยมีการดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศ ตา่ งๆ ทั่วโลก อาทิ องั กฤษมีวสิ าหกจิ เพอื่ สงั คมกว่า ๗ หม่นื แหง่ กอ่ ให้เกดิ การจ้างงานกว่า ๑ ล้านอัตรา โดยที่เกือบคร่ึงเป็นการจ้างงานกลุ่มด้อยโอกาส และมีมูลค่าทางเศรษฐกิจกว่า ๑ ล้านล้านบาท ขณะท่ี เกาหลีใต้มีวิสาหกิจเพื่อสังคมกว่า ๓ พันแห่ง และภาครัฐได้สนับสนุนทางด้านกฎหมาย เงินทุน และ ระบบสนับสนุน๑ แสดงถึงรูปแบบใหม่ของการให้บริการสังคมท่ีดาเนินการโดยภาคส่วนอื่นท่ีจะช่วย สนับสนนุ ภาครฐั ในการจดั บริการทางสงั คมให้มีความครอบคลมุ ทั่วถึงมากยง่ิ ขึ้น ๓) กระแสโลกาภิวัตน์และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การเช่ือมต่อและการเคล่ือนย้าย ระหวา่ งกันท่ีมมี ากขน้ึ ทาให้ประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยมีโอกาสที่จะเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมท่ีมี คนหลากหลายเชื้อชาติ ทัศนคติ ความคิดอยู่ร่วมกันมากข้ึน รวมถึงคนไทยมีโอกาสในการรับรู้ข้อมูล ข่าวสารและวัฒนธรรมจากท่ัวโลก อย่างไรก็ตาม แม้ว่าโลกาภิวัตน์ทาให้รูปแบบการใช้ชีวิตของผู้คนมี ความเหมือนกัน (Homogeneity) มากข้ึน แต่ยังคงมีวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ที่หลากหลายที่คนใน สังคมต้องเปิดกว้างและทาความเข้าใจ รวมถึงอาจส่งผลกระทบต่อคุณค่าทางวัฒนธรรมด้ังเดิมและ มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ หากขาดการสร้างภูมิคุ้มกันในการเลือกรับวัฒนธรรมดังกล่าว นอกจากนี้ ๑ สภาปฏิรูปแห่งชาต.ิ (๒๕๕๘). วาระปฏิรปู พิเศษ ๑ : วสิ าหกิจเพอ่ื สังคม.

๖ โลกาภิวัตน์ยังส่งผลให้เกิดการหลั่งไหลของสินค้าและบริการข้ามเขตพรมแดนทาได้ง่ายข้ึน ก่อให้เกิด ประโยชน์ตอ่ ผบู้ รโิ ภคมที างเลือกบรโิ ภคสนิ คา้ ทง้ั เรอ่ื งคุณภาพและราคาที่เหมาะสมมากขน้ึ ขณะท่อี ีกดา้ นหนงึ่ สินค้าที่หลากหลายจานวนมากจากต่างประเทศมีมาตรฐานท่ีแตกต่างกัน จาเป็นต้องอาศัยการดาเนินงาน ดา้ นการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคทมี่ ีประสทิ ธิภาพมากข้ึน ๑.๒.๒ สถานการณ์และแนวโน้มภายใน ๑) การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากร โครงสรา้ งประชากรของประเทศไทย ป 0 – ไปสสู่ ังคมสงู วยั อยา่ งสมบูรณ์ ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัย ที่มา: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. – , สศช. อย่างสมบูรณ์ในปี ๒๕๖๔ โดยจะมีสัดส่วนของผู้สูงอายุถึง ร้อยละ ๒๐ และสัดส่วนดังกล่าวจะเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง ขณะท่ีวัยเด็กและวัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง โดยวัยเด็กมี สัดส่วนคิดเป็นร้อยละ ๑๖ ขณะที่วัยแรงงานคิดเป็นร้อยละ ๖๔ และในปี ๒๕๗๙ จะมีสัดส่วนผู้สูงอายุมากถึงร้อยละ ๓๐ ขณะที่วัยเด็กและวัยแรงงานมีสัดส่วนลดลงเหลือ ร้อยละ ๑๔ และ ร้อยละ ๕๖ ตามลาดับ๒ ซึ่งการลดลงของวัยแรงงานอาจ ส่งผลต่อรายได้ภาครัฐที่จะนามาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ รวมถึงการจัดสวัสดิการต่างๆ ตลอดจนภาระค่าใช้จ่ายในกลุ่ม ผ้สู ูงอายุจะเพิม่ ขนึ้ ๒) ประชากรไทยโดยเฉลี่ยมรี ายไดไ้ ม่เพียงพอท่จี ะชดเชยค่าใช้จ่ายตลอดช่วงชีวิตและมีการออม อยู่ในระดับต่า ส่งผลต่อความม่ันคงในการดารงชีวิตในวัยสูงอายุ จากข้อมูลบัญชีกระแสการโอน ประชาชาติประเทศไทย ปี ๒๕๕๖ (National Transfer Account : NTA) พบว่า ประชากรวัยแรงงาน เทา่ นน้ั ท่ีเกนิ ดลุ รายได้เฉล่ยี ประมาณ ๒๗,๘๖๐ บาท/คน ขณะทว่ี ัยเดก็ วยั เรยี น และวัยสงู อายุมคี า่ ใช้จา่ ย ท่ีสูงกว่ารายได้ อย่างไรก็ตาม รายได้ท่ีเกินดุลของวัยแรงงานยังไม่สามารถชดเชยหรือปิดส่วนขาดดุล รายได้ของตนเองตลอดช่วงชีวิต๓ นอกจากน้ี ข้อมูล บญั ชกี ระแสการโอนประชาชาติประเทศไทย ปี ๒๕๕๖ การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ของสานักงานสถิติแห่งชาติ๔ พบว่า การออมของ ครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือนลดลงจาก ๕,๗๕๘ บาท ในปี ๒๕๕๘ เป็น ๕,๐๗๖ บาท ในปี ๒๕๖๐ และหน้ีสินเฉลี่ย ต่อครัวเรอื นเพิม่ ข้นึ จาก ๑๕๖,๗๗๐ บาท เป็น ๑๗๗,๑๒๘ บาท ในช่วงเวลาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังพบว่า ผู้สูงอายุ ร้อยละ ๒๔ ไม่มเี งนิ ออม๕ ท่ีมา: คานวณโดย สศช. (๒๕๕๘) ๒ สศช. (๒๕๕๖). การคาดประมาณประชากรไทยของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๘๓ ๓ สศช. (๒๕๕๘). บัญชกี ระแสการโอนประชาชาติประเทศไทย ปี ๒๕๕๖ ๔ ขอ้ มลู การออมของครวั เรือนและหนส้ี นิ เฉลยี่ ต่อครวั เรอื นจากการสารวจภาวะเศรษฐกจิ และสังคมของครัวเรอื นในช่วง ๖ เดอื นแรกของปี ๒๕๖๐ โดยสานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ๕ ข้อมูลการออมผสู้ ูงอายุจากการสารวจประชากรสงู อายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยสานักงานสถติ ิแหง่ ชาติ

๗ ท้ังนี้ หน่วยงานภาครัฐและภาคส่วนต่างๆ มีการดาเนินการในการส่งเสริมและ ขยายความคุม้ ครองเพือ่ สรา้ งหลักประกนั ทางรายได้ให้กบั ประชากรไทยในวัยสูงอายุ ท้ังแบบบังคับและ สมคั รใจในกลุ่มผูท้ ีอ่ ยู่ในระบบและนอกระบบ อาทิ การจัดตั้งกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เพื่อเป็น หลักประกันความม่ันคงทางรายได้สาหรับผู้ท่ีมีอายุ ๑๕-๖๐ ปี ท่ีประกอบอาชีพอิสระ และไม่ได้เป็น สมาชิกกองทุนอื่นที่ได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐ อย่างไรก็ตาม มีแรงงานนอกระบบท่ีสมัครเป็นสมาชิก กองทุนการออมแหง่ ชาติ จานวน ๕๒๙,๖๓๓ คน หรือคิดเป็นเพียงร้อยละ ๒.๕ จากแรงงานนอกระบบ ที่มีจานวนท้ังสิ้น ๒๑.๔ ล้านคน๖ อีกท้ัง สัดส่วนแรงงานไทยที่มีหลักประกันรายได้ทั้งภาคบังคับและ สมัครใจมีเพยี งประมาณร้อยละ ๔๔ ของแรงงานท้ังหมด และแรงงานส่วนใหญ่ยังมีเงินออมไม่เพียงพอ สาหรบั การดารงชีวิตในยามสงู วัย โดยปัจจุบนั อัตราทดแทนรายได้ของระบบบานาญ (Replacement Rate) ของแรงงานในระบบประกนั สังคมอยทู่ ีเ่ พียงร้อยละ ๑๙ เท่าน้ัน๗ ๓) คุณภาพของคนไทยในภาพรวมยังมีปัญหา รวมถึงปัญหาเชิงคุณธรรมที่ยังคง เป็นปัญหาสาคัญและยังไม่มีระบบรองรับเชิงสถาบันอย่างเป็นรูปธรรม โดยเด็กไทยมีปัญหา เชิงคุณภาพท่ีสั่งสมมาจากปัญหาระบบการศึกษาและการเล้ียงดู แรงงานมีผลิตภาพต่า และสังคมไทย ในภาพรวมยังมีปัญหาคุณธรรม จริยธรรม โดยข้อมูลจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ (๒๕๕๘) และผลสารวจ คณุ ธรรมของศูนยค์ ณุ ธรรมและนิด้าโพลในปี ๒๕๕๙ ระบุถึงการขาดจิตสานึกสาธารณะ การขาดความ รับผิดชอบต่อสังคม การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าส่วนรวม การขาดการคิดวิเคราะห์ ซึ่งเป็น รากฐานทน่ี ามาสู่ปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน ปัญหาการขาดความสามัคคีและความขัดแย้งในสังคม ปัญหา การฟุูงเฟูอเกินตัว ถึงแม้ว่าในประเทศไทยได้ริเร่ิมงานอาสาสมัครหรือจิตอาสาในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ที่องค์การสหประชาชาติ (United Nation) ได้ประกาศให้เป็นปีอาสาสมัครสากล และประเทศไทย ได้ออกปฏิญญาอาสาสมัครไทยและนโยบายพัฒนาอาสาสมัครขึ้นและมีอ าสาสมัครในประเทศไทย เกิดขึ้นเรื่อยมาจนในปี ๒๕๔๗ เกิดภัยพิบัติสึนามิในภาคใต้ และเหตุการณ์สาคัญอย่างงานพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่เกิด จิตอาสาเฉพาะกิจข้ึนจานวนมาก เกิดเป็นกระแสอาสาสมัครขนาดใหญ่ (Volunteer Megatrend) ขึ้น อยา่ งไรก็ตาม อาสาสมคั รในประเทศไทยมักเป็นการรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการ ทางานโดยไม่สังกัด องค์กร และส่วนใหญเ่ น้นการตอบสนองตอ่ ปญั หาเฉพาะหน้าหรอื กจิ กรรมเฉพาะกจิ และขาดความต่อเนือ่ ง ๔) ประเดน็ ด้านความเหล่อื มลา้ ดา้ นรายได้ยงั เป็นปญั หามาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง แม้ทผ่ี ่านมา ประเทศไทยสามารถลดสัดส่วนคนจนจากร้อยละ ๖๕.๑๗ สัดสว่ นคนจนและสัมประสทิ ธคิ์ วามไม่เสมอภาค (Gini) ด้านรายได้ ในปี ๒๕๓๑ เหลือเพียงร้อยละ ๗.๒ ในปี ๒๕๕๘ แต่ความ เหลื่อมล้าทางรายไดท้ ว่ี ัดจากคา่ สัมประสทิ ธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) กลับลดลงเพียงเล็กน้อยจาก ๐.๔๘๗ ในปี ๒๕๓๑ เหลือ ๐.๔๔๕ ในปี ๒๕๕๘ ซ่ึงยังคงอยู่ในระดับสูง ท่มี า: ประมวลโดย สศช. ๖ ขอ้ มลู จานวนสมาชกิ กองทุนการออมแหง่ ชาติ (ณ วนั ท่ี ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) จากกองทุนการออมแห่งชาติ และขอ้ มลู จานวนแรงงานนอก ระบบจากการสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยสานกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ ๗ ข้อมลู สัดสว่ นแรงงานไทยท่ีมีหลักประกันรายได้และอัตราทดแทนรายได้ของระบบบานาญ คานวณโดยสานกั งานเศรษฐกจิ การคลัง

๘ เมอ่ื เปรยี บเทียบกบั หลายประเทศในภมู ิภาคอาเซียน๘ และนามาสู่ความไมเ่ ท่ากนั ของทนุ ทม่ี ใี นการพัฒนา ศักยภาพคน โดยที่สงั คมไทยยังมปี ญั หาความเหล่อื มล้าในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มคี ณุ ภาพและสาธารณสุข โดยมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ระหว่างโรงเรียนในเมือง-นอกเมือง และโรงเรียนในสังกัดต่างๆ รวมถึง ยังมีความเหลื่อมล้าด้านสินทรัพย์และการถือครองที่ดินอีกด้วย โดยกลุ่มผู้ที่ถือครองที่ดินร้อยละ ๑๐ ท่ี ถือครองที่ดินมากท่ีสุดมีส่วนแบ่งการถือครองท่ีดินมากกว่าร้อยละ ๖๐ ของพ้ืนท่ีท้ังหมด ส่วนกลุ่มผู้ที่ถือ ครองท่ีดินรอ้ ยละ ๔๐ ทถ่ี อื ครองที่ดินนอ้ ยท่ีสดุ มีส่วนแบง่ การถอื ครองทดี่ นิ เพยี งร้อยละ ๑.๒ เท่าน้ัน๙ ๕) ความเหล่ือมล้าด้านการเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคม สามารถจาแนกได้ตาม กลุ่มเปาู หมายสาคญั ที่มคี วามไมเ่ สมอภาคในการไดร้ ับการคมุ้ ครองทางสงั คม ดงั นี้ ๕.๑) กลุ่มแรงงานนอกระบบ แรงงานกลุ่มน้ีส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึง สวัสดิการท่ีจาเป็น ก่อให้เกิดความแตกต่างด้านความคุ้มครองระหว่างแรงงานในและนอกระบบ ซึ่งแม้ว่าภาครัฐจะเปิดโอกาสให้แรงงานนอกระบบสามารถเข้าสู่ระบบประกันสังคมภาคสมัครใจ เพ่ือเปน็ ความค้มุ ครองทางสังคมอยา่ งหนง่ึ ใหก้ ับแรงงานนอกระบบ อยา่ งไรกต็ าม มแี รงงานนอกระบบเพียง ๒.๒ ล้านคน (ประมาณร้อยละ ๑๐) จากแรงงานนอกระบบ ๒๑.๔ ล้านคน ที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม ภาคสมัครใจ๑๐ ทั้งนี้ อาจเกิดจากปัญหาการรับรู้ข้อมูลด้านประกันสังคม และมีรายได้ไม่เพียงพอ เพื่อจ่ายสมทบเข้าระบบประกันสังคม นอกจากน้ี แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่ยังประสบปัญหาการ ทางานดา้ นตา่ งๆ อาทิ ปัญหาด้านค่าตอบแทน ปญั หาการทางานหนกั และปญั หาการไม่ไดร้ บั การจ้างงาน อยา่ งต่อเนื่อง รวมทัง้ การได้รับสิทธิในการเป็นลูกจ้างตามกฎหมาย๑๑ ทาให้แรงงานนอกระบบขาดแต้มต่อ ในการพัฒนาเพือ่ การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของตนเอง ๕.๒) กลุม่ คนพกิ ารยังถกู จากดั การเข้าสู่ตลาดงาน  สถานการณ์กลุม่ คนพิการในปัจจบุ นั ข้อมูล ณ วันที่ ๒๕ มิถนุ ายน ๒๕๖๐๑๒ พบวา่ ประเทศไทยมีคนพิการท่มี ีบัตรประจาตวั คนพิการทั่วประเทศ จานวน ๑,๘๐๒,๓๗๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๗๒ ของประชากรทั้งประเทศ โดยส่วนใหญ่ประสบความพิการทางการเคล่ือนไหวหรือทาง ร่างกาย จานวน ๘๗๘,๘๘๘ คน (ร้อยละ ๔๘.๗๖) รองลงมาคือ ความพิการทางการได้ยินหรือ สื่อความหมาย จานวน ๓๒๙,๔๓๗ คน (ร้อยละ ๑๘.๒๘) และความพิการทางการเห็น จานวน ๑๘๘,๐๕๐ คน (ร้อยละ ๑๐.๔๓) เม่ือพิจารณาช่วงอายุ พบว่า คนพิการส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จานวน ๙๑๘,๔๐๗ คน (ร้อยละ ๕๐.๙๖) รองลงมาอยู่ระหว่างอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี จานวน ๘๐๒,๐๕๘ คน (รอ้ ยละ ๔๔.๕) ซ่ึงอยวู่ ัยแรงงาน แตก่ ลบั พบว่า มีคนพกิ ารเพยี ง ๒๒๗,๙๒๔ คน (รอ้ ยละ ๘ สศช. (๒๕๕๘). ข้อมลู จากรายงานการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ความยากจนและความเหลอ่ื มลา้ ในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘ และ Sondergaard et al. (๒๐๑๖). Thailand - Systematic Country Diagnostic : Getting Back on Track - Reviving Growth and Securing Prosperity for All. Washington, D.C. : World Bank Group. ๙ สภาปฏริ ปู แห่งชาติ. (๒๕๕๘). วาระท่ี ๒๘ การปฏริ ปู ระบบเพอ่ื สร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็ : กรณีศกึ ษาธนาคารที่ดิน ๑๐ ข้อมลู แรงงานนอกระบบที่เขา้ เปน็ ผปู้ ระกันตนภาคสมัครใจ (มาตรา ๔๐) ปี ๒๕๕๙ โดยสานกั งานประกนั สงั คม และขอ้ มลู จานวนแรงงานนอก ระบบจากการสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยสานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ๑๑ การสารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๘ สานักงานสถติ แิ หง่ ชาต,ิ ๒๕๖๐ ๑๒ รายงานสถานการณด์ ้านคนพิการในประเทศไทย (ณ วนั ที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๐) โดยกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์

๙ ๒๘.๔๒) ที่สามารถประกอบอาชีพได้ โดยท่ียังมีคนพิการที่มีศักยภาพ แต่ยังไม่งานทาอีก จานวน ๔๕๕,๙๙๐ คน (รอ้ ยละ ๕๖.๘๕)  ปจั จัยท่เี ป็นอปุ สรรคการเขา้ ถงึ การทางานของคนพิการ ปัญหาการจา้ งงาน คนพกิ ารมาจากหลายสาเหตุ ได้แก่ ทัศนคติของหน่วยงานภาครัฐ นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการ ทาให้เกิดการสงเคราะห์คนพิการรูปแบบใหม่ โดยให้คนพิการทางานไม่ตรงตามศักยภาพ รวมถึง การกู้ยืมเงินกองทุนเพื่อประกอบอาชีพแก่คนพิการ ผ่านกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ มีจานวนเพียง ๑๘,๐๖๖ ราย คิดเป็นเงินประมาณ ๗๙๕.๗๗ ล้านบาท๑๓ จากเงินกองทุนทั้งสิ้น ๑๐,๑๗๐ ล้านบาท๑๔ โดยพบปัญหาการอนุมัติเงินกองทุนซึ่งพิจารณา รายโครงการ (Project based) ทาให้การนาเงนิ กองทนุ มาใชต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ของกองทุนเปน็ ไปได้ยาก นอกจากนี้ ยงั พบปญั หาในการเขา้ ถงึ โครงสร้างพน้ื ฐานและบริการสาธารณะ ส่งผลให้เมื่อเดือนมกราคม ๒๕๖๐ มตี ัวแทนคนพิการเขา้ เรียกร้องความเสียหาย ๓๖๑,๐๐๐ บาท กรณีสร้างสถานีรถไฟฟูาบีทีเอส แตไ่ ม่มลี ฟิ ต์ และอุปกรณอ์ านวยความสะดวกใหค้ นพกิ ารครบ ๒๓ สถานี๑๕ ๕.๓) กลุ่มผู้ไร้สัญชาติยังประสบปัญหาเรื่องการได้รับสัญชาติ จากข้อมูล กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซงึ่ ได้จัดทาทะเบยี นราษฎรของบุคคลไรร้ ฐั ไร้สัญชาติ โดยกลุ่มบุคคล ไร้รัฐ ไร้สัญชาติมีจานวน ๔๘๘,๑๐๕ คน โดยตั้งแต่ปี ๒๕๓๕ – เมษายน ๒๕๖๐ ประเทศไทยได้ให้ สัญชาติไทยแก่คนไร้รัฐไร้สัญชาติไปแล้วจานวน ๒๕๓,๗๔๒ คน โดยแบ่งเป็น (๑) กลุ่มชาวไทยภูเขา (๒) บุคคลที่ถูกถอนสัญชาติตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๗ ลงวันท่ี ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕ (๓) กลุ่มที่ได้รับสัญชาติตาม พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ และ (๔) กลุ่มคนไทยพลัดถ่ิน อยา่ งไรก็ตาม เนื่องจากความแตกต่างหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์จานวนมาก รวมท้ังการตั้งถิ่นฐานของกล่มุ ชาตพิ ันธท์ุ ่หี ลากหลายดังกล่าวกระจายตามภูมิภาคตา่ งๆ ทาใหก้ ารสารวจ และการกาหนดสถานะบุคคลทางกฎหมายทาได้ล่าช้า ขาดความสมบูรณ์ และมีความคลุมเครือใน การลงบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ ยังมีข้อจากัดในทางปฏิบัติ ในกรณีของบุคคลที่มีสถานะบุคคลทาง กฎหมายแล้วแต่ยังไม่สามารถเข้าถึงบริการพื้นฐานของรัฐ ท้ังการศึกษา และการบริการด้านสุขภาพ รวมถึงเสรีภาพในการเดินทาง รวมถึงปัญหาการขาดความมั่นคงทางด้านที่ดินทากิน และปัญหา กรรมสิทธ์ิการถือครองที่ดิน เกิดการฟูองร้องดาเนินคดีในข้อหาบุกรุก ในปี ๒๕๕๘ สานักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีความขัดแย้งเกี่ยวกับท่ีดินทากินและ ท่ีอยู่อาศัย รวมถึงคาส่ัง คสช. ท้ังส้ิน ๕๐ คาร้อง โดยครอบคลุมพื้นท่ี ๓๐ จังหวัด และคิดเป็นจานวนท่ีดิน ซึง่ มีการเรยี กคนื หรืออยู่ระหวา่ งการพพิ าทเป็นพืน้ ทีป่ ระมาณ ๕๐,๐๐๐ ไร๑่ ๖ ๑๓ ข้อมูลผลการอนมุ ัติการกู้ยมื เงินกองทนุ สง่ เสริมและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ โดยกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ๑๔ ข้อมลู สถานะกองทนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร ณ เดอื นสงิ หาคม ๒๕๖๐ จากกระทรวงพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ๑๕ ไทยรัฐ, ๒๑ มกราคม ๒๕๖๐. https://www.thairath.co.th/content/๘๔๐๖๕๐ ๑๖ รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนษุ ยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘ คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาต,ิ ๒๕๕๘

๑๐ ๖) ระบบการคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคยงั มขี อ้ จากัด  กลไกการคุ้มครองผู้บริโภคในปัจจุบัน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และท่ีแก้ไขเพ่มิ เติม เป็นกลไกสาคญั ในการคมุ้ ครองผบู้ ริโภคผา่ นการดาเนนิ งานของคณะกรรมการคมุ้ ครอง ผู้บรโิ ภคที่ได้มกี ารจดั ใหม้ ีศูนยร์ ับเร่อื งราวร้องทุกข์สาหรับให้บริการรับเร่ืองร้องเรียนจากประชาชนท่ีไม่ได้ รับความเป็นธรรมจากการซือ้ สินคา้ หรอื บริการ รวมท้ังให้บริการรับเรื่องร้องเรียนผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ ไปรษณยี ์ เว็บไซต์ของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (www.ocpb.go.th) และผ่านห้างสรรพสินค้า และ ร้านสะดวกซ้ือต่างๆ ซ่ึงสถิติการรับเร่ืองร้องเรียนจากผู้บริโภค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ อยู่ท่ี ๘,๔๖๑ ราย เพ่มิ ขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ท่ีมีจานวน ๗,๕๘๖ ราย๑๗ นอกจากน้ี ยังมีหน่วยงานอื่น นอกจาก สคบ. ท่ีรับเร่ืองราวร้องเรียนจากผู้บริโภคด้วย อาทิ สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กรมการคา้ ภายใน สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา  อุปสรรคของการคุ้มครองผู้บริโภค การใช้ประโยชน์จากข้อมูลยังจากัดอยู่ เฉพาะในหน่วยงานของตนเอง ทาให้ข้อมูลดังกล่าวไม่ได้ถูกนามาใช้เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหาของ ประเทศอย่างเป็นระบบ อีกท้ัง แม้ว่าจะมีหน่วยงานที่ทาหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภคอยู่แล้ว แต่ยังไม่ สามารถคุ้มครองผู้บริโภคไม่ให้ถูกละเมิดสิทธิได้มากเท่าท่ีควร เน่ืองด้วยพฤติกรรมการบริโภคสินค้า จากโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดในการพิสูจน์ความถูกต้องในตัว สินค้าและบริการ ประกอบกับความซับซ้อนของกระบวนการผลิตและระบบตลาด ทาให้ผู้บริโภคประสบ ปัญหาถูกเอารัดเอาเปรียบมากข้ึน ตลอดจนกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ทสี่ ่วนใหญ่มุง่ เนน้ การควบคุมสินค้าและบริการให้มคี วามปลอดภัยเป็นหลกั ในขณะท่ีขอ้ กาหนดเกี่ยวกับ การเยียวยาความเสียหายของผู้บริโภคยังมีน้อย นอกจากน้ี ทุกหน่วยงานมีภารกิจในการอานวยความ สะดวกประชาชนให้สามารถร้องเรียนเก่ียวกับปัญหาของสินค้าและบริการที่ไม่เป็นธรรมได้ทั้งในระบบ สายด่วน และบริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ แต่เร่ืองร้องเรียนของผู้บริโภคในแต่ละหน่วยงานจานวนมาก มีขอบเขตปัญหากว้างกว่ากฎหมายและความรับผิดชอบของหน่วยงานนั้นๆ ทาให้หน่วยงานต้อง ประสานงานกับหน่วยงานอ่ืน และเป็นผลให้ปัญหาของผู้บริโภคได้รับการตอบสนองอย่างล่าช้าและ ไม่ทนั เหตกุ ารณ์ ๗) ระบบจัดการข้อมูลทางสังคมของประเทศยังเป็นลักษณะการดาเนินการ จากหลายส่วน โดยท่ีมีหน่วยงานต่าง ๆ จัดทาข้อมูลแต่ยังมิได้บูรณาการให้เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน ไมว่ า่ จะเปน็ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ดาเนนิ การจัดทาฐานขอ้ มูลประชาชน (เลขประจาตัว ประชาชน ๑๓ หลัก) สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง จัดเก็บข้อมูลผ่านโครงการ ลงทะเบยี นเพอ่ื สวัสดกิ ารแหง่ รฐั และออกแบบระบบฐานข้อมูลให้สามารถเช่ือมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอ่ืน เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ อาทิ รายได้ เงินฝาก การถือครองท่ีดินซ่ึงในการลงทะเบียนจะใช้ข้อมูลจากบัตร ประจาตัวประชาชน Smart Card ท่ีเช่ือมโยงกับฐานข้อมูลเลขประจาตัวประชาชน ๑๓ หลัก จากกระทรวงมหาดไทย กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) รวบรวมข้อมูลผสู้ ูงอายุ โดยแบ่งเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ติดสังคม กลุ่มผู้ติดบ้าน กลุ่มผู้ติดเตียง ๑๗ ขอ้ มูลสถติ ริ ับเรอ่ื งรอ้ งทกุ ขจ์ ากผบู้ รโิ ภค ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ จากสานกั งานคณะกรรมการค้มุ ครองผู้บริโภค

๑๑ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดกิ าร พม. ไดจ้ ัดทาฐานขอ้ มลู กลุ่มทางสงั คม ๕ เปูาหมาย ได้แก่ กลุ่มคนไร้ที่พึ่ง กลุ่มผู้ทาการขอทาน และกลุ่มสมาชิกโครงการหมู่บ้านสหกรณ์และโครงการพระราชดาริ ซึ่งมีการ จดั เกบ็ ข้อมูลแล้วเสรจ็ ส่วนกล่มุ ราษฎรบนพ้ืนทีส่ งู และกลมุ่ สมาชกิ นิคมสรา้ งตนเองนน้ั ยงั อยู่ในระหว่าง การจดั เก็บข้อมลู และข้อมลู การชว่ ยเหลอื กลุ่มเปาู หมาย อาทิ สถานคมุ้ ครองคนไร้ท่ีพ่ึง การลงทะเบียน ผู้ทาการขอทานที่มีความสามารถ นอกจากน้ี ยังมีคณะกรรมการท่ีถูกจัดต้ังเพื่อบูรณาการข้อมูล ได้แก่ คณะกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือพัฒนาระบบฐานข้อมูลใหญ่ โดยมี สศช. ร่วมกับสานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ คณะกรรมการบูรณาการฐานข้อมูลและการบริการภาครัฐ อย่างไรก็ตาม แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับระบบ ขอ้ มลู ทางสังคมในหลายประเทศนน้ั จะเปน็ การบูรณาการขอ้ มูลบคุ คลในมติ ิต่างๆ รวมถึงสิทธิประโยชน์ด้าน สวสั ดิการจากโครงการต่างๆ ทีบ่ คุ คลนั้นไดร้ บั ปรากฏอยเู่ พยี งฐานข้อมลู เดียว (Integrated Social Registry) ๘) การพฒั นาในระดับชุมชนมีการฟื้นฟูมาอย่างต่อเน่ืองแต่ยังมีข้อจากัดเชิงระบบ ในหลายส่วนท่ีทาใหช้ มุ ชนจานวนมากยังไมส่ ามารถพงึ่ ตนเองได้  การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ในช่วงหลังเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในปี ๒๕๔๐ มีนโยบายในการพัฒนาและกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น เพื่อฟ้ืนฟูและสร้าง ฐานเศรษฐกิจในชมุ ชนใหส้ ามารถพง่ึ ตนเองได้ จนเกิดการจัดระบบรปู แบบความสมั พันธ์ของคนในชุมชน เพื่อดาเนินภารกิจต่าง ๆ ให้ลุล่วง ไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาชีพในชุมชน ที่มีการรวมตัวเป็นกลุ่ม วิสาหกิจมากกว่า ๘๔,๗๕๙ แห่ง๑๘ สหกรณ์ ๘,๑๙๕ แห่ง๑๙ ร้านค้าชุมชน ๑๙,๒๗๐ แห่ง ตลาดชุมชนอีก ๑,๓๕๙ แห่ง๒๐ อีกท้ัง ยังมีการจัดสวัสดิการผ่านกองทุนสวัสดิการชุมชนกว่า ๕,๙๓๐ กองทุน๒๑ การจัดการการเงินชุมชน ผ่านกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ๗๙,๕๖๖ กองทุน๒๒ สหกรณ์และเครดิต ยูเนยี่ น กว่า ๖๑๑ แห่ง๒๓ และกลุ่มออมทรัพยเ์ พือ่ การผลิต ๓๔,๕๓๐ กลมุ่ ๒๔  ข้อจากัดของการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ปัจจุบันสัดส่วนของชุมชน ท่ีเข้มแข็งยังมีอยู่ไม่มากนัก ประกอบกับแนวคิดการพัฒนาจากภาครัฐยังเป็นลักษณะจากบนลงล่าง โดยมองชุมชนเปน็ ผ้ถู ูกพฒั นา ทาใหส้ ิทธใิ นการบรหิ ารจัดการทรัพยากรในชุมชนยังถูกจากัดและยังไม่มี บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดกาหนดเน้ือหารายละเอียดแห่งสิทธิดังกล่าวไว้ท้ังท่ีถูกกาหนดไว้ใน รัฐธรรมนูญ อีกท้ัง ยังมีปัญหาในเรื่องความขัดแย้งระหว่างที่ดินรัฐกับชุมชน ซึ่งคาดว่าเน้ือท่ีประเภท ที่ดินของรัฐแต่ละประเภท (ไม่น้อยกว่า) ๗๙๗,๘๔๘ ไร่ ที่มีประชากรที่อยู่อาศัยและทากินในเขตที่ดิน ของรัฐรวมกว่า ๑๑,๙๑๙,๐๐๖ คน๒๕ นอกจากนี้ ทุนที่คนในชุมชนมียังถือว่าจากัด โดยคนไทยราว ๒.๒ ลา้ นคน ถือว่าอยู่ในสภาวะเปราะบาง โดยรอ้ ยละ ๔๐ ไม่มที ่ดี นิ เปน็ ของตนเอง ส่วนอีกร้อยละ ๓๗ ไม่มี ๑๘ ข้อมลู จานวนวสิ าหกจิ ชุมชน ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๐ จากกรมสง่ เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑๙ ข้อมลู จานวนสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรทุกประเภท ณ วนั ท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ จากกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒๐ ขอ้ มูลจานวนร้านคา้ ชมุ ชนและตลาดชุมชน สืบคน้ ณ วนั ท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ http://www.thaigov.go.th/news/contents/details/๒๒๖๖. ๒๑ ข้อมลู จานวนกองทนุ สวสั ดิการชมุ ชนจากคู่มอื การดาเนนิ งานสวัสดิการชุมชน ปี ๒๕๖๑ โดยสถาบนั พฒั นาองค์กรชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน) ๒๒ ขอ้ มลู จานวนกองทนุ หมู่บา้ นและชมุ ชนเมืองสืบค้น ณ วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ http://www.thaigov.go.th/news/contents/details/๒๒๖๖. ๒๓ ข้อมูลจานวนสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรทกุ ประเภท ณ วนั ที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ จากกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒๔ สานักงานเศรษฐกิจการคลงั (๒๕๕๔). โครงการวจิ ยั เรื่อง บทบาทของระบบการเงนิ ฐานรากในการส่งเสรมิ การเขา้ ถงึ บริการทางการเงิน. ๒๕ http://www.landactionthai.org/land/index.php?option=com_content&view=article&id=๑๙๖๘:๒๐๑๗๐๙๒๒new๗&catid=๘๗&Itemid=๕๔๖

๑๒ โฉนดที่ดิน และที่เหลือไม่มีท่ีดินเพียงพอในการทามาหากิน๒๖ ผลการสารวจการถือครองท่ีดิน เพอื่ การเกษตรเม่อื ปี ๒๕๕๖ ของสานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร พบว่า จากพ้นื ทเ่ี กษตรกรรมท้ังหมดกว่า ๑๔๙.๒๔ ลา้ นไร่ ร้อยละ ๕๒ เปน็ พื้นท่ีเช่า รอ้ ยละ ๒๐ ตดิ จานอง อกี ๑.๑๕ แสนไร่ อย่ใู นกระบวนการ ขายฝากซ่ึงมคี วามเสย่ี งทีท่ ดี่ นิ จะหลดุ มือจากเกษตรกรไปเปน็ ของเจา้ หนน้ี อกระบบ หรือสถาบันการเงิน ทั้งของรัฐและเอกชน หากไม่สามารถชาระหนี้ตามกาหนด๒๗ รวมถึงหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ท่ีมี บทบาทสนับสนนุ ชมุ ชนมีมากกว่า ๖๐ แห่ง๒๘ แต่ต่างมีพันธกิจและตัวช้ีวัดของตนเองและไม่บูรณาการ การทางานโดยใช้ชุมชนเปน็ ฐานอยา่ งแท้จริง ๙) สถานการณ์ของการลงทุนทางสังคมจากภาคส่วนต่างๆ มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน โดยเงินบริจาคมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนจาก ๖.๕ หมื่นล้านบาท ในปี ๒๕๕๔ เป็น ๗.๕ หม่ืนล้านบาท ในปี ๒๕๕๗ ขณะทีง่ บประมาณสาหรบั ทากจิ กรรม CSR ของบริษัทเอกชนมมี ลู ค่ากว่า ๑ หมน่ื ล้านบาทต่อปี๒๙ ขณะที่มีวิสาหกิจเพื่อสังคมท่ีขึ้นทะเบียนประมาณ ๔๐๐ กิจการ๓๐ โดยมีประเภทกิจการหลากหลาย อาทิ การพัฒนาชนบทโดยสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (PDA) การสร้างผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยเครือข่ายชุมชนของมูลนิธิ รพ.อภัยภูเบศร์ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี และการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ โดยบรษิ ัทนวตั กรรมชาวบ้าน ๑๐) คนไทยส่วนใหญ่นิยมให้บริจาคเงิน แต่ยังมีสัดส่วนการลงมือทากิจกรรมจิตอาสา ทคี่ อ่ นขา้ งน้อย  สถานการณ์การทากจิ กรรมจิตอาสา จากการสารวจของ Charities Aid Foundation ท่ีได้จัดทา World Giving Index ในปี ๒๕๖๐๓๑ พบว่า คนไทยส่วนใหญ่นิยมบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือ สงั คมในสัดส่วนร้อยละ ๖๘ ซึ่งเทียบเท่ากับสัดส่วนการบริจาคเงินของคนในประเทศไอซ์แลนด์ ขณะท่ี การเสียสละเวลาไปทางานอาสาสมัครเพ่ือช่วยเหลือสังคมของคนไทยกลับมีเพียงร้อยละ ๑๙ ซึ่งต่ากว่า ประเทศในกลุ่มอาเซียนอย่างอินโดนีเซียและเมียนมาร์ที่มีสัดส่วนการทางานอาสาสมัครสูงถึงร้อยละ ๕๕ และ ๕๑ ตามลาดับ นอกจากนี้ จากเหตุการณ์สาคัญท่ีผ่านมา อาทิ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และงาน พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ก่อให้เกิดจติ อาสาเฉพาะกจิ ขน้ึ จานวนมาก ซ่งึ เปน็ การสรา้ งกระแสจติ อาสาขนาดใหญ่ข้นึ ในสังคมไทย  ลักษณะของการทากิจกรรมจิตอาสา การทากิจกรรมจิตอาสาหรืออาสาสมัคร ในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นการรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการ มีการทางานโดยไม่สังกัดองค์กร และ ส่วนใหญ่เน้นการตอบสนองต่อปัญหาเฉพาะหน้าหรือกิจกรรมเฉพาะกิจ ซึ่งในปัจจุบันนิยมใช้ส่ือสังคม ๒๖ https://www.isranews.org/isranews-scoop/๕๓๗๙๓-land-๖๑๗๓๒.html ๒๗ สภาปฏิรปู แห่งชาต.ิ (๒๕๕๘). วาระที่ ๒๘ การปฏิรูประบบเพอ่ื สรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง: กรณศี กึ ษาธนาคารทีด่ ิน ๒๘ ใช้ขอ้ มลู จากเอกสารการประชุมสมชั ชาสุขภาพ คร้ังท่ี ๖ ภาคผนวก ๑ ลงวันท่ี ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ เปน็ ฐานคดิ และเพ่ิมเติมองค์กรเครือข่ายอ่นื ๆ ๒๙ ข้อมูลเงนิ บรจิ าคและงบประมาณสาหรบั กิจกรรม CSR ของภาคเอกชน โดย TDRI (๒๕๖๐) ๓๐ สภาปฏริ ูปแหง่ ชาต.ิ (๒๕๕๘). วาระปฏริ ปู พิเศษ ๑ : วิสาหกจิ เพือ่ สังคม. ๓๑ Charities Aid Foundation. (๒๐๑๗) CAF World Giving Index ๒๐๑๗ : A global view of giving trends.

๑๓ ออนไลน์ (Social Network) ในการรวมกลุ่มทากิจกรรม นอกจากน้ี การบริหารจัดการอาสาสมัครยัง ขาดองค์กรเฉพาะในการบรหิ ารจัดการอาสาสมคั รเพ่ือเป็นตัวกลางเชื่อมประสานงานอาสาสมคั ร๓๒ ๑.๓ ความสอดคลอ้ งกับแผนยุทธศาสตรช์ าติและแผนแม่บทฯ ความสอดคล้องของการปฏิรูปด้านสังคมกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ พบว่า ประเด็นการปฏิรูป ประเทศด้านสังคม มีความสอดคล้องกับร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี ในหลายส่วน ท้ังการสร้าง หลักประกันทางสงั คมที่ครอบคลุมและท่ัวถงึ เพ่ือรองรบั การเปน็ สังคมสงู วัย การให้ความช่วยเหลือกลุ่ม ผู้ดอ้ ยโอกาส และการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งที่มุ่งเน้นการเพ่ิมบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการ ทรัพยากรและทุนชมุ ชน สวัสดิการชมุ ชน ซ่งึ สอดคลอ้ งกับ ยทุ ธศาสตร์การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ที่ให้ความสาคัญกับการสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้คนทุกกลุ่มในสังคม การเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย (ประชากรร้อยละ ๔๐ ที่มีรายได้ต่าท่ีสุด) และผู้ด้อยโอกาส มีความมนั่ คงทางรายได้ในสังคมสูงวัย การสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการทางสังคมอย่างท่ัวถึง การสร้าง สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อคนทุกกลุ่มวัย ตลอดจนการเพ่ิมพลังความสามารถ (Empowerment) ให้กับ ชุมชน รวมถึงยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ท่ีให้ความสาคัญกับวิสาหกิจ ชุมชน สาหรับยุทธศาสตร์การสร้างความเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จะสอดคล้องในประเดน็ ท่ใี หค้ วามสาคัญกับระบบจัดการน้าชมุ ชน การรักษาความม่ันคงของชนบทและ ฐานทรพั ยากรชุมชน อีกท้ัง การปฏิรูปประเทศด้านสังคม ให้ความสาคัญกับการส่งเสริมศักยภาพของผู้สูงอายุ และ การปรับเปลี่ยนค่านิยมและเสริมสร้างคุณธรรมของสังคมในภาพรวม ซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ในสว่ นของการปรับเปลี่ยนค่านยิ มและวัฒนธรรม และการพัฒนาคนตลอดชว่ งชวี ิต นอกจากน้ี ขอ้ เสนอแนวทางปฏิรปู ดา้ นสังคมยงั มุ่งไปทก่ี ารปรับเปลี่ยน กลไกดาเนินการภาครัฐในส่วนต่างๆ สาหรับการให้บริการทางสังคมให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ยิ่งขึน้ ซงึ่ จะสอดคล้องกบั ยุทธศาสตรก์ ารปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั ๑.๔ เป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์และผลสัมฤทธ์ิท่ีคาดว่าจะเกดิ ขึ้นเมอ่ื ดาเนินการแลว้ เสร็จ ๑.๔.๑ วัตถุประสงค์รวม ปฏิรปู สังคมในประเด็นสาคัญตา่ ง ๆ เพ่ือนาไปสสู่ งั คมคุณภาพ โดยการสรา้ งความมั่นคง ทางเศรษฐกิจและสังคม ผ่านการออม สวัสดิการ และการลงทุนเพื่อสังคม การสร้างโอกาสท่ีเป็นธรรม โดยไม่แบ่งแยก โดยการให้โอกาสแก่คนทุกกลุ่มตามศักยภาพที่มีและสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะกับ คนทุกกลุ่ม การเสริมสร้างพลังทางสังคม โดยการพัฒนาความรู้และปัญญาในการแก้ปัญหาและ ใช้ศักยภาพในพ้นื ที่แก่คนและองค์กรฐานราก (ชุมชน/องคก์ รในทอ้ งถ่นิ ) และการสรา้ งความเป็นอนั หนงึ่ อันเดียวกันของสังคม ผ่านการเสริมสร้างพลังแห่งการช่วยเหลืออย่างสร้างสรรค์ของคนในสังคม เพอ่ื นาไปสูก่ ารสรา้ งสงั คมคุณภาพในทส่ี ุด ๓๒ เครือข่ายจติ อาสา. (๒๕๕๙). เอกสารประกอบการประชมุ ระดับชาติ ด้านการอาสาสมัคร คร้งั ที่ ๒ (๒๘ – ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๙)

๑๔ ๑.๔.๒ เปา้ หมายรวม ๑) คนไทยมีหลักประกนั ทางรายได้ในวยั เกษียณที่เพียงพอต่อการดารงชีวติ อย่างมคี ุณภาพ ๒) สังคมไทยเป็นสงั คมแห่งโอกาสและไมแ่ บ่งแยก ๓) ภาครัฐมีข้อมูลและสารสนเทศด้านสังคมท่ีบูรณาการทุกหน่วยงานและเปิดโอกาส ให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้ ๔) ชมุ ชน/ท้องถ่ินมคี วามเข้มแขง็ โดยสามารถจัดการกันเองและทางานร่วมกบั ภาคส่วนต่างๆ ได้ ๕) คนไทยมีการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมไปสูก่ ารมจี ติ สาธารณะเพิ่มข้ึน ๑.๕ ตัวชี้วัด ๑.๕.๑ อัตราทดแทนรายได้ของระบบบานาญ (Replacement Rate) มากกวา่ รอ้ ยละ ๓๐ ๑.๕.๒ สัดส่วนของกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคมท่ีมีศักยภาพ สามารถประกอบอาชีพได้ และ มีคุณภาพชีวิตที่ดขี ึ้น ๑.๕.๓ จานวนชุดข้อมูลท่ีได้มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานและเปิดเผยให้ประชาชนนาไปใช้ ประโยชน์ได้ ๑.๕.๔ ร้อยละของชุมชนที่มีปัญหาการมีส่วนร่วมในระดับมากและปานกลางลดลงอย่าง ต่อเน่อื ง ๑.๕.๕ การใชเ้ วลาของประชากรในการให้บริการชมุ ชนเพม่ิ ข้ึน ๑.๖ วงเงนิ และแหลง่ เงิน แหลง่ เงนิ จากงบประมาณแผน่ ดนิ

๑๕ สว่ นที่ ๒ เรอ่ื งและประเดน็ การปฏิรูป จากการประมวลสังเคราะห์ข้อเสนอการปฏิรูปของสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) การขับเคลื่อน การปฏิรปู ผา่ นสภาขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ (สปท.) และข้อเสนอการปฏริ ูปอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องภายใต้ บริบทข้อกาหนดและประเด็นท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ รวมถึงสถานการณ์ด้านสังคมที่ยังเป็นปัญหา และโจทยค์ วามท้าทายทัง้ ภายนอกและภายในประเทศ พบวา่ การจะนาพาสังคมไทยไปสู่สังคมคุณภาพ ทั้งในมิติเรื่องความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม การสร้างโอกาสที่เป็นธรรมโดยไม่แบ่งแยก การเสริมสร้างพลังทางสังคม และการสร้างความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันของสังคม ให้บรรลุ ตามเปาู หมายยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี จาเป็นต้องปฏิรูป เพ่ือการปรบั เปล่ียนการดาเนินงานในหลายด้าน ท้ังในส่วนที่เป็นการสานต่อการปฏิรูปสาคัญในช่วงที่ผ่านมา และการสร้างเสริมกลไก วิธีการ ดาเนินงานอื่น ๆ เพ่ิมเติม ซึ่งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม พบประเด็นหลักท่ีต้องได้เร่ง ดาเนินการปฏิรูปใน ๕ เร่ืองสาคัญ ได้แก่ ๑) การออม สวัสดิการ และการลงทุนเพ่ือสังคม ๒) การช่วยเหลือและเพิ่มขีดความสามารถกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคม ๓) การจัดการข้อมูลและ องค์ความรู้ทางสังคม ๔) การพัฒนาระบบสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง และ ๕) การสร้างการมีส่วนร่วม การเรยี นรู้ การรับรู้ และการส่งเสรมิ กิจกรรมทางสงั คม

๑๖ โดยตลอดระยะเวลาทางานในระหวา่ งเดอื นกันยายน ถึงธันวาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการปฏิรูป ประเทศด้านสังคม ได้ศกึ ษาวิเคราะหส์ งั เคราะหข์ ้อมลู เพ่ิมเตมิ ในแตล่ ะประเดน็ หลักท้งั ๕ เร่อื ง พร้อมทง้ั ได้มีการประชุมหารือเฉพาะกลุ่ม ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ และ การปรกึ ษาหารือกับหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง ท้ังด้านการพัฒนาชุมชน ดา้ นหลักประกนั และสวัสดิการทางสังคม ด้านการจัดการข้อมลู ด้านการลงทุนเพอื่ สงั คม รวมแล้ว กวา่ ๑๓ ครั้ง เพ่ือนาความเห็นและข้อเสนอแนะ จากการประชุมเฉพาะกลุ่ม และการหารือมาจัดทาวิธีการ ข้ันตอน กลไก การปฏิรูปให้มีความชัดเจน ยิ่งขึ้น นอกจากน้ี ได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อช่วยดาเนินการตามมาตรา ๑๘(๓) แห่ง พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดาเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อช่วยดาเนินการจัด ประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อประเด็นข้อเสนอการปฏิรูปประเทศด้านสังคม โดยได้จัดประชุมรับฟัง ความเห็น ๔ คร้ัง ในกรุงเทพมหานคร และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ จังหวัดอุดรธ านี ภาคใต้ ณ จังหวัดนครศรีธรรมราช และภาคเหนือ ณ จังหวัดเชียงราย มีผู้เข้าร่วมท้ังส้ิน รวม ๗๓๕ คน จากภาครัฐ ร้อยละ ๕๓ ภาคประชาชน ร้อยละ ๒๔ ส่ือมวลชน ร้อยละ ๑๗ ผู้ทรงคุณวุฒิและ ภาคเอกชน ร้อยละ ๖ โดยผู้เข้าร่วมประชุมล้วนเห็นด้วยกับข้อเสนอแผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ที่มีรายละเอียดในลักษณะ (๑) แผนการปฏิรูปเป็นเรื่อง (agenda based) ครอบคลุมเรื่องและ ประเด็นด้านการออม สวัสดิการ และการลงทุนเพื่อสังคม การช่วยเหลือและเพ่ิมขีดความสามารถ สาหรับผู้เสียเปรียบในสังคม และการจัดการข้อมูลและองค์ความรู้ทางสังคม (๒) แผนการพัฒนา เป็นพ้ืนท่ี (area based) ครอบคลุมเร่ืองและประเด็นการพัฒนาระบบสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง และ (๓) แผนการจัดกระบวนการเพ่ือขับเคล่ือนสังคม (social movement) ครอบคลุมเรื่องและ ประเดน็ การสรา้ งการมีส่วนรว่ ม การเรียนรู้ การรบั รู้ และการส่งเสรมิ กจิ กรรมทางสังคม โดยมรี ายละเอียด ในแตล่ ะเรือ่ งและประเดน็ ปฏริ ปู ดงั นี้

๑๗ ๒.๑ เรอ่ื งและประเดน็ การปฏิรูปท่ี ๑ : การปฏริ ปู การออม สวสั ดกิ าร และการลงทนุ เพอ่ื สงั คม ประเดน็ การปฏิรูปการออม สวัสดิการ และการลงทุนเพื่อสังคม เป็นประเด็นสาคัญประเด็นหนึ่ง ในการสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม (Socio-economic Security) ซ่ึงจะเป็นการยกระดับ คุณภาพและประสิทธภิ าพการจัดสวัสดิการพ้ืนฐานของรฐั และการยกระดับรายได้ของประชาชน โดยมี เปูาหมายให้ประชาชนทุกคนมีหลักประกันทางรายได้ และได้รับสวัสดิการท่ีเหมาะสม รวมท้ังสถาบัน ทางสังคมสามารถแบ่งเบาภาระการลงทุนทางสังคมของรัฐบาล ซ่ึงจะนาไปสู่ สังคมคุณภาพ (Social Quality) ประเด็นการปฏริ ปู การออม สวัสดกิ าร ไดใ้ ห้ความสาคญั กบั (๑) การเพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ าร กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เพ่ือเป็นหลักประกันทางสังคมแก่ผู้ท่ีไม่มีสวัสดิการอื่นรองรับ (๒) การสร้างระบบให้คนไทยมีบาเหน็จบานาญหลังพ้นวัยทางาน (๓) การพัฒนาการออมภาคบังคับ (๔) การปรบั ปรงุ สิทธิประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากสวัสดิการต่างๆ ให้เหมาะสมและเป็นธรรม นอกจากนี้ ยังรวมถึงประเด็นด้านการลงทุนเพื่อสังคม ท่ีให้ความสาคัญกับ (๑) การใช้วิสาหกิจ เพ่ือสังคมกับการพัฒนาสังคม (๒) การสนับสนุนให้วัดช่วยเหลือกิจกรรมทางสังคมมากย่ิงขึ้น และ (๓) การเสริมสรา้ งและพัฒนากองทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม เพื่อให้องค์กรปกครองท้องถ่ิน ก้ยู ืมเพ่อื การพัฒนาสงั คม ๒.๑.๑ เปา้ หมายหรือผลอนั พงึ ประสงคแ์ ละผลสมั ฤทธิ์ ๑) ผ้สู งู วยั มีหลักประกนั รายได้ท่ีพอเพยี งเมือ่ ถึงวัยเกษยี ณ ๒) องค์กรปกครองท้องถิ่นและสถาบันทางสังคม มีส่วนร่วมกับภาครัฐในการจัดบริการ ทางสงั คม

๑๘ ๓) ปรับปรงุ สิทธิประโยชน์สวสั ดกิ ารสงั คมใหเ้ หมาะสม เป็นธรรม และมปี ระสิทธิภาพ ๔) เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการจดั เก็บรายได้ภาครัฐและการออมภาคประชาชน ๒.๑.๒ กรอบระยะเวลาในการดาเนนิ การ : ๑ - ๕ ปี ๒.๑.๓ ตัวชีว้ ดั ๑) อัตราทดแทนรายได้ของระบบบานาญ (Replacement Ratio)๓๓ อยู่ในระดับที่ เพียงพอต่อการดาเนนิ ชวี ติ เม่อื ถึงวัยเกษยี ณ ๒) สวัสดกิ ารที่ไดร้ บั มีความเทา่ เทยี มมากย่ิงขนึ้ ๓) มีการระดมทุนและการจัดการการออมภาคบังคับและภาคสมัครใจเพ่ือลดภาระ งบประมาณภาครัฐ ๒.๑.๔ วงเงนิ และแหลง่ เงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ ๓๓ อัตราทดแทนรายได้ของระบบบานาญ (Replacement Ratio) หมายถึง สัดส่วนของระดับเงินบานาญรายเดือนท่ีได้รับ เมื่อเปรียบเทียบกับรายได้เดือนสุดท้ายก่อนการเกษียณหรือเลิกทางาน (สภาปฏิรูปแห่งชาติ, ๒๕๕๘) โดยตามหลักสากล ไม่ควรต่ากว่าร้อยละ ๔๐ (Jorge Roldos, ๒๐๐๗, ”Pension Reform and Macroeconomic Stability in Latin America”,IMF Working Paper, International Monetary Fund)

๒.๑.๕ ขั้นตอนการดาเนินการ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสงั คม เรอ่ื งและประเดน็ ปฏิรูปที่ ๑ : การปฏริ ูปการออม สวัสดกิ ารสังคม และการลงทุนเพื่อ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กจิ กรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ กิจกรรมท่ี ๑ การเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารกองทนุ การออมแหง่ ชาติ (กอช.) วิธีการ ปรบั ปรุงรปู แบบการตลาด ผลติ ภณั ฑ์ การอานวยความสะดวกแก่กล่มุ เปูาหมาย ได้แก่  การอานวยความสะดวกกบั ผฝู้ าก  การมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั การออมชุมชน  ผลติ ภัณฑใ์ หมท่ ี่จงู ใจให้เกดิ การออม  พจิ ารณาความเหมาะสมเงินสมทบภาครฐั ถา้ มีความจาเปน็ ขนั้ ตอน ให้คณะกรรมการ กอช. จัดทาแผนปรบั ปรุง การบริหารงานองค์กร เพื่อใช้เป็นแนวทาง ดาเนินการ หรือนาเสนอ ครม. กรณที ่มี ี ความจาเปน็ กลไกและการปรบั ปรงุ กลไก คณะกรรมการ กอช. และ กอช. เปน็ ผดู้ าเนนิ การรว่ มกบั กค. และหนว่ ยงานอื่น ท้งั ภาครัฐและภาคเอกชน กิจกรรมที่ ๒ สรา้ งระบบให้คนไทยมีบาเหน็จบานาญหลังพน้ วยั ทางาน

๑๙ อสงั คม วงเงนิ เป้าหมาย ตวั ชวี้ ดั ลา้ น แหล่งเงนิ ๒๕๖๕ ผูร้ ับผิดชอบ บาท ๔๑๒๓๔ หน่วยงานหลกั มีเฉพาะ งบ ๑. ประชาชนที่ ๑. สมาชิก กอช. ได้แก่ กอช. กรณี ประมาณ เป็นกลมุ่ เพิม่ ขน้ึ จาก ๖ แสน มเี งิน แผน่ ดนิ อาชพี นอก คนเป็น ไมต่ ่ากว่า หนว่ ยงานรว่ ม สมทบ ระบบเข้ามา ๑ ลา้ นคนภายในปี ได้แก่ กค./มท. ภาครฐั เป็นสมาชกิ พ.ศ.๒๕๖๑ และ พม./รง. /กษ./ เพมิ่ เติม กอช. เพ่ิมขน้ึ เพ่ิมขึ้นเปน็ ๑๕ กศ./สานกั งาน ล้านคนภายในปี ๒. สมาชกิ กอช. พ.ศ.๒๕๖๕ ประกันสังคม ได้รบั สทิ ธิ ประโยชน์ ๒. สมาชิก กอช. ไดร้ บั ท่คี มุ้ คา่ และ เงนิ บานาญไมต่ า่ เหมาะสม กว่าคนละ ๑,๕๐๐ บาทต่อเดือน ๓. มีการปฏิบตั ิตาม MOU ระหวา่ งกอช. และหน่วยงานร่วม อย่างต่อเน่ือง ๔. กฎกระทรวงและ พ.ร.บ. มีการแก้ไข ประเดน็ การเพิม่ เงินสมทบจาก ภาครัฐให้เหมาะสม กบั เปาู หมาย

แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เร่ืองและประเดน็ ปฏิรปู ที่ ๑ : การปฏริ ูปการออม สวสั ดิการสงั คม และการลงทนุ เพอ่ื ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กจิ กรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ วิธีการ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ ออกกฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหนจ็ บานาญใน รูปแบบการออมภาคบังคับ และใชห้ ลกั การ ระดมการออมทั้งผู้รบั สวสั ดิการสังคม เจา้ ของ กิจการ (นายจ้าง) และรัฐบาล ขนั้ ตอน นาเสนอกฎหมายต่อ สนช. โดยเร็ว กลไกและการปรบั ปรุงกลไก ดาเนนิ การโดย กค. เป็นผูร้ ิเรม่ิ รว่ ม กบั หนว่ ยงานอ่นื ๆ และภาคประชาสงั คม กจิ กรรมที่ ๓ ปรบั ปรงุ สิทธปิ ระโยชน์ท่ีไดร้ บั จากสวสั ดิการตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมและเปน็ ธรรม วธิ ีการ ศึกษาและปรบั ปรุงกฎหมายและอนุบัญญตั ิ จากระบบสวัสดิการท่มี ีอยู่ เพอ่ื ใหเ้ กิดความ เหมาะสมและเปน็ ธรรมกับผูร้ บั สวสั ดิการ ขัน้ ตอน ๑. ให้ กค. ตั้งคณะกรรมการรว่ มกับ หนว่ ยงานอ่นื เพือ่ ศึกษาหลกั การ และ นาเสนอ ครม. ๒. เม่ือ ครม. อนมุ ัตแิ ลว้ ให้หนว่ ยงาน เจ้าของเรื่องแก้กฎหมายและอนบุ ญั ญัติ ต่างๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามมติ ครม. และ ขั้นตอนทางนิตบิ ัญญัติ กลไกและการปรบั ปรุงกลไก ให้ กค. เปน็ เจ้าของเรอื่ ง พจิ ารณาร่วม กบั หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง อาทิ รง. พม. และ

๒๐ อสงั คม วงเงนิ เป้าหมาย ตวั ช้วี ัด ล้าน แหลง่ เงนิ ประชาชนมีความ ๑. มี พ.ร.บ.วา่ ด้วย ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบ บาท ม่นั คงด้านรายได้ ๔๑๒๓๔ เมือ่ ถึงวยั กองทุนบาเหนจ็ เงนิ งบ เกษียณอายุ/หลัง บานาญในรูปแบบ หนว่ ยงานหลัก สมทบ ประมาณ พ้นวยั ทางาน การออมภาคบังคับ ไดแ้ ก่ กค. ภาครัฐที่ แผ่นดนิ ภายใน ๒ ปี หน่วยงานร่วม อาจ (พ.ศ. ๒๕๖๒) ได้แก่ รง./พม./ เกิดขนึ้ ๒. ประชาชนมีรายได้ มท. หลัง ไมต่ า่ กว่าร้อยละ ประกาศ ๓๐ ของรายได้ ใชก้ ฎ สดุ ทา้ ยทปี่ ระชาชน หมาย ไดร้ บั ภายใน ๑๕ ปี หนว่ ยงานหลัก ปรบั งบ ประชาชน ๑. แกไ้ ขกฎหมายและ ไดแ้ ก่ กค. ในแตล่ ะระบบ อนบุ ญั ญัตทิ ี่ หน่วยงานร่วม ประมาณ สวสั ดกิ าร ได้รับ เกยี่ วข้องให้เสร็จ ได้แก่ รง./พม. ท่ีใชอ้ ยู่ สิทธิประโยชน์ ภายใน ๒ ปี ปจั จบุ นั ให้ ทเ่ี หมาะสมและ สอดคลอ้ ง เป็นธรรม ๒. กฎ/ระเบยี บ กนั หลงั ท่เี ก่ียวขอ้ งได้รับ การทบทวนและ การแก้ ปรับปรงุ กฎหมายที่ ออกใหม่

แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม เร่อื งและประเดน็ ปฏิรปู ท่ี ๑ : การปฏิรูปการออม สวัสดกิ ารสงั คม และการลงทนุ เพอ่ื ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ กองทนุ การออมต่างๆ กจิ กรรมที่ ๔ พัฒนาการออมภาคบังคบั วิธกี าร ๑. จดั สรรภาษีมลู คา่ เพม่ิ (VAT) สว่ นหนึง่ คืนกบั ผูเ้ สยี ภาษีตามเลขบตั รประจาตวั ประชาชนเพ่อื เป็นเงนิ ออมของผเู้ สียภาษี จนอายุ ๖๐ ปี ข้นั ตอน ๑. พจิ ารณาระเบียบตา่ งๆ ภายใตก้ ฎหมายท่ี กค. และหน่วยงานอ่ืนๆ ทเี่ ก่ยี วกบั การออม เพอ่ื เสนอหลกั การต่อ ครม. ๒. เมอื่ ครม. เห็นชอบ ใหห้ น่วยงานที่ เกย่ี วข้องแกไ้ ขหรอื ปรบั ปรงุ กฎหมายและ อนบุ ญั ญตั ทิ ตี่ นรบั ผดิ ชอบใหส้ อดคลอ้ ง กบั มติ ครม. กลไกและการปรบั ปรงุ กลไก ๑. กค. เป็นผพู้ ิจารณารว่ มกบั หนว่ ยงานที่ เกย่ี วข้อง กิจกรรมที่ ๕ ใช้วสิ าหกจิ เพือ่ สงั คมกับการพัฒนาสังคม

๒๑ อสังคม วงเงนิ เป้าหมาย ตัวชว้ี ดั ลา้ น แหลง่ เงิน ๒๕๖๕ ผรู้ ับผดิ ชอบ บาท ๔๑๒๓๔ หนว่ ยงานหลัก ใช้งบ ๑. ประชาชนมี ๑. มีกฎหมายท่ี ไดแ้ ก่ กค. ประมาณ เงินออมจาก กาหนดใหจ้ ัดสรร ของ การบริโภค เงินจาก หน่วยงาน สนิ คา้ และ ภาษีมลู คา่ เพ่มิ บริการของตน คืนผบู้ รโิ ภคเปน็ ๒. ประชาชน เงนิ ออมโดยตรง ทุกคนเขา้ สู่ ภายในปี ๒๕๖๒ ระบบภาษี ๒. เงนิ ออมของ ประชาชนจากการ คืนภาษีมูลคา่ เพม่ิ (VAT) เพม่ิ ข้ึน ๓. จานวนประชาชน นอกระบบภาษีที่ เข้าสรู่ ะบบภาษี เพิม่ ขน้ึ

แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม เร่ืองและประเดน็ ปฏิรปู ท่ี ๑ : การปฏริ ูปการออม สวัสดกิ ารสงั คม และการลงทนุ เพื่อ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ วิธกี าร ๑. เรง่ รัดให้มีการอนุญาตใหน้ ิตบิ ุคคลที่ ประสงค์จะดาเนนิ การตามระเบียบ สนร. ทาธุรกรรมได้ไปพลางก่อน ๒. เรง่ รดั การออกกฎหมายวิสาหกิจเพื่อสงั คม ขน้ั ตอน เสนอกฎหมายตอ่ ครม. และ สนช. กลไกและการปรบั ปรุงกลไก ๑. เร่งรดั การปฏิบัตงิ านของฝาุ ยเลขานกุ าร ซึง่ อยู่ใน พม. ๒. พฒั นาองคก์ รฝุายเลขานุการให้ สอดคล้องกับสาระของกฎหมาย ทัง้ ใน ส่วนท่เี ปน็ ผสู้ นบั สนนุ (Enabler) และผู้ กากับ (Regulator) ในรปู แบบของ องคก์ รท่มี ลี ักษณะต่างกัน เช่น การตง้ั องค์การมหาชนใหส้ นบั สนนุ กิจการของ วสิ าหกิจเพอ่ื สงั คม กจิ กรรมท่ี ๖ เสรมิ สรา้ งและพฒั นากองทนุ พฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานทางสงั คม เพื่อให้ อปท. กูย้ ืมเพอื่ วธิ ีการ ๑. จัดสรรงบประมาณเหลือจา่ ยปี ๒๕๖๑ เพอื่ ใชด้ าเนนิ การโครงการตวั อย่าง โดย

๒๒ อสงั คม วงเงิน เปา้ หมาย ตัวชวี้ ดั ล้าน แหล่งเงิน ๒๕๖๕ ผูร้ บั ผิดชอบ บาท ๑. มพี .ร.บ.วา่ ดว้ ย ๔๑๒๓๔ วิสาหกิจเพื่อสงั คม เปน็ ไป ให้วสิ าหกจิ เพ่ือ ภายในปี ๒๕๖๒ หนว่ ยงานหลกั ตาม สงั คมเร่มิ ดาเนิน ไดแ้ ก่ พม./ กฎหมายท่ี การได้ภายในปี ๒. มดี ชั นีแสดงใหเ้ หน็ สสว. ร่างไว้ ๒๕๖๑ ว่ามสี ดั สว่ นในการ สรา้ ง GDP ในปที ่ี ๕ หลังจาก กฎหมายใช้บังคับ อการพัฒนาสงั คม หนว่ ยงานหลัก ๑,๐๐๐ งบ ชุมชนมีการ ๑. มี อปท. ขอใชเ้ งิน ได้แก่ พม. ประมาณ พฒั นาโครงสร้าง งบประมาณเหลือ หน่วยงานรว่ ม ลา้ น แผน่ ดิน พื้นฐานท่สี อดรับ จ่ายในปี ๒๕๖๑ บาท

แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสังคม เร่อื งและประเด็นปฏริ ปู ท่ี ๑ : การปฏิรูปการออม สวัสดิการสังคม และการลงทนุ เพ่อื ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ อาศัยธนาคารของรฐั เปน็ ผพู้ ิจารณา ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ โครงการปลอดดอกเบ้ยี ๒. ศกึ ษาและจดั ตัง้ กองทนุ เพอื่ พฒั นา โครงสรา้ งพ้นื ฐานทางสังคม เพ่ือให้ อปท. (เทศบาล และ อบจ.) ที่มีศักยภาพกูย้ มื โดย แบ่งเปน็ ๒ ขนั้ ตอน (๑) กาหนดวงเงนิ ให้ สถาบนั การเงนิ ของรัฐใหก้ ู้โดยรฐั สนับสนุน ค่าดอกเบ้ียหรอื คา่ ดาเนนิ การ และ (๒) เปดิ การลงทนุ จากภาคเอกชนผา่ นตราสารหนี้ ตลาดทนุ หรอื การลงทนุ รปู แบบใหมๆ่ (Crowd Funding ประชารฐั ฯลฯ) ๓. กาหนดขอบเขตของการให้กู้ยมื ไดแ้ ก่ (๑) สถานทด่ี ูแลและใหบ้ รกิ ารผสู้ ูงวยั (๒) สถานบรกิ ารสขุ ภาพสาหรบั ผู้ปุวยไม่ ติดเตียง และ (๓) การพฒั นาองค์ความรู้ เพ่ือตอบสนองความต้องการเร่งด่วนของ ชุมชนเมอื งและชุมชนชนบททรี่ ฐั บาลยัง ไม่สามารถตอบสนองได้ ข้ันตอน ๑. ใช้ งปม.เหลอื จา่ ยจากงวดที่ ๓ ของ งปม. ปี ๒๕๖๑ ๒. เสนอ ครม. และใช้มติ ครม. รเิ ริ่มเป็น โครงการนาร่อง ๓. เตรยี มความพรอ้ มของกฎหมายและ อนุบัญญตั ิตา่ งๆ กลไกและการปรบั ปรงุ กลไก

๒๓ อสงั คม วงเงนิ เป้าหมาย ตวั ชี้วดั ลา้ น แหล่งเงิน กบั ความตอ้ งการ ๒. การกยู้ ืมเพื่อลงทนุ ๒๕๖๕ ผู้รับผดิ ชอบ บาท ของประชาชนใน ๔๑๒๓๔ พืน้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ กิจการทางสังคม เปน็ เงิน ของเทศบาล โดย อปท. มีไม่ตา่ ไดแ้ ก่ กค./ ประเดมิ และ อบจ. กวา่ ๒๐ แห่ง มท./อปท./ จาก ภายในเวลา ธนาคารของรัฐ งบประ ๕ ปี มาณ ปี ๓. จานวนของ ๒๕๖๑ อปท. ท่มี ขี ดี ขึ้นกบั ความสามารถ ขนาด ในการจ่ายคืน ของเงิน เงินทนุ เพิม่ ขึ้น สมทบ โดยในเบือ้ งต้น เริม่ ภาครฐั ทดลองดาเนนิ การ ทใี่ ชใ้ น ๕ แห่ง กจิ การ ๔. มกี ารจัดตง้ั และพฒั นาองค์กร ภาครฐั เพ่ือสง่ เสริม วสิ าหกิจชมุ ชนท่ี ชดั เจน

แผนการปฏิรูปประเทศด้านสงั คม เรอื่ งและประเด็นปฏริ ูปที่ ๑ : การปฏริ ปู การออม สวัสดกิ ารสงั คม และการลงทนุ เพอ่ื ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กจิ กรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑. พม. เปน็ เจา้ ของเร่อื ง โดยหารือกบั กค. ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ มท. และ อปท. ๒. ให้คณะกรรมการพิเศษชุดหน่ึงเป็น ผูศ้ ึกษาและพจิ ารณาเสนอ ครม. ๓. เมื่อผ่าน ครม. แล้ว ให้หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง แกก้ ฎหมายและอนบุ ญั ญตั ขิ องตน ๔. ใหม้ ีการศกึ ษาการจดั ต้งั หน่วยบริหาร ในรปู องค์การมหาชนภายใต้การกากับ ดูแลของ รมว.กค. กจิ กรรมท่ี ๗ ใหว้ ัดชว่ ยเหลือกจิ กรรมทางสงั คมมากยง่ิ ขึ้น วิธกี าร ขอเป็นนโยบายของคณะสงฆใ์ หว้ ดั สามารถ ดาเนนิ การช่วยเหลือกจิ กรรมทางสังคมได้ ตามความเหมาะสม (คณะสงฆอ์ าจกาหนด ขอบเขต หรือประเภทของกจิ กรรม) ข้นั ตอน นาเสนอคณะสงฆ์เพือ่ เปน็ นโยบาย กลไกและการปรบั ปรุงกลไก ๑. มอบให้ พศ. เป็นผูด้ าเนินการ ๒. ควรมีการกาหนดนโยบายให้ กศ. เปน็ ผรู้ บั ฟงั และรายงานความคดิ เห็นภาค

๒๔ อสงั คม วงเงิน เป้าหมาย ตัวชี้วัด ลา้ น แหลง่ เงนิ ๒๕๖๕ ผู้รับผดิ ชอบ บาท ๔๑๒๓๔ หน่วยงานหลกั งบ สถาบนั ทาง ๑. มหาเถรสมาคมมี ได้แก่ พศ. ประมาณ ศาสนามสี ่วนร่วม นโยบายเรื่อง การ หนว่ ยงานรว่ ม ปกติของ ต่อการจดั ได้แก่ คณะ หนว่ ย กจิ กรรมทาง ใหว้ ดั มีส่วนร่วมต่อ สงฆ/์ ชมุ ชน/วดั ราชการ สงั คมเพม่ิ ข้ึน การจดั กิจกรรม มีความเชอื่ มโยง ทางสงั คม ภายใน ระหว่างกิจกรรม ปี ๒๕๖๑ วัด โรงเรยี น และ ๒. จานวนวดั ท่ีมสี ว่ น บา้ นมากขนึ้ รว่ มต่อกิจกรรมทาง สงั คม นอกเหนอื จากการเผยแพร่

แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม เร่อื งและประเด็นปฏิรูปท่ี ๑ : การปฏิรูปการออม สวสั ดกิ ารสังคม และการลงทนุ เพื่อ ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) กิจกรรม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑ ๒๓๔๑๒๓๔ ประชาชน เพื่อรว่ มกจิ กรรมกบั วัด และ เชอ่ื มโยงกจิ กรรมระหวา่ งบา้ น วดั และ โรงเรยี น ใหเ้ ป็นรปู ธรรม ๓. เช่อื มโยงชุมชนเมืองกบั นโยบาย โดยมี กลไกท่ชี ัดเจนใน อปท. (เช่น กทม.)

๒๕ อสังคม วงเงิน เป้าหมาย ตัวชี้วัด ลา้ น แหล่งเงนิ ศาสนา มีเพ่ิมข้นึ ๒๕๖๕ ผู้รับผดิ ชอบ บาท ๔๑๒๓๔

๒๖ ๒.๑.๖ ขอ้ เสนอในการมีหรือแก้ไขปรบั ปรงุ กฎหมายเพอ่ื รองรบั การดาเนินการ -

๒๗ ๒.๒ เรอ่ื งและประเดน็ การปฏริ ูปท่ี ๒ : กลมุ่ ผเู้ สยี เปรยี บในสังคม การดาเนนิ การปฏริ ปู กลุม่ ผูเ้ สียเปรียบในสังคมภายใต้แนวคิด “ปฏิรูปเพ่ือปลดล็อค” อุปสรรคต่างๆ ที่ทาให้คนบางกลุ่มในสังคมซ่ึงเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สาธารณสุข การเมอื ง กฎหมาย และวัฒนธรรม จนกลายเป็นผู้เสียเปรียบ ตลอดจนการสร้างโอกาสให้คนทุกคนสามารถ เข้าถงึ บรกิ ารต่างๆ ไดท้ กุ มิติ อย่างครอบคลุมและเท่าเทียมกัน (Access to all opportunity) สอดคล้อง กบั แนวคิดสังคมคณุ ภาพในมติ คิ วามครอบคลุมทางสงั คม (Social Inclusion) ทม่ี ุง่ ชว่ ยเหลอื ใหผ้ เู้ สียเปรียบ ในสังคมสามารถเข้าถึงสวสั ดิการตามสทิ ธิขั้นพ้ืนฐานได้อย่างครอบคลมุ ทั่วถงึ และเสมอภาค กลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคมครอบคลุมกลุ่มเปูาหมายสาคัญ อาทิ เด็กและเยาวชน สตรี คนพิการ ผู้สูงอายุ คนยากจน คนไร้ท่ีพงึ่ บคุ คลไร้สถานะทางทะเบียนราษฎร ผู้พน้ โทษ ผู้ติดเช้อื เอช ไอ วี (HIV) และ ผูบ้ ริโภค โดยใหค้ วามสาคญั กบั การปรบั ปรุงกระบวนการคดิ รูปแบบการดาเนนิ งาน จากการ “สงเคราะห์” มาเป็นการสร้างเสริมปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อกลุ่มเปูาหมาย “จากผู้รับเป็นผู้ผลิต” เกิดความ เข้มแข็ง (empower) ให้สามารถดูแลช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือสังคม และเป็นส่วนหนึ่งของการ ขบั เคล่อื นพฒั นาประเทศ ผา่ นการอาศยั ความร่วมมอื จากทกุ ภาคส่วน เช่ือมต่อกระบวนการทางานให้มุ่งไป ในทิศทางเดียวกัน เพ่ือให้เกิดการขับเคลื่อนพร้อมกันท้ังระบบ ท้ังน้ี ในส่วนของกลไกและกระบวนการ ทางานมุ่งคานึงถึงหลักสาคัญ ๓ ประการ ดังนี้ ๑) การสังคมสงเคราะห์ (social work) ๒) การเสริมพลัง (strengthening and empowerment) และ ๓) การจัดสวัสดิการ (welfare) ตลอดจนการปรับ ทศั นคตติ อ่ กล่มุ เปูาหมาย จากผู้รับเป็นผผู้ ลิต” เพื่อให้สามารถดแู ลช่วยเหลอื ตัวเอง และสังคมได้

๒๘ ๒.๒.๑ เป้าหมายหรือผลอนั พึงประสงคแ์ ละผลสมั ฤทธ์ิ ปลดล็อคข้อจากัดต่างๆ อันเป็นอุปสรรคของกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคม เพื่อให้สามารถ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีโอกาสอย่างเสมอภาค ในการเข้าถึงทรัพยากร แหล่งทุน บริการสาธารณะของรัฐ และโอกาสในการประกอบอาชีพ สร้างรายไดใ้ หต้ นเอง และสามารถสรา้ งผลิตภาพให้แก่สงั คมได้ ๒.๒.๒ กรอบระยะเวลาในการดาเนินการ มีกรอบระยะเวลาการดาเนินงานทั้งระยะส้ันและระยะยาว โดยในระยะสั้นเป็นการ ดาเนินงานในกิจกรรมหรือโครงการท่ีมีความเร่งด่วนและจาเป็น หรือเป็นกิจกรรมท่ีเป็นพื้นฐานในการ ดาเนินงานในกจิ กรรมตอ่ ไป ซึง่ มรี ะยะเวลาดาเนนิ งานตั้งแต่ ๑ – ๒ ปี สว่ นในระยะยาวเปน็ กจิ กรรมที่ใช้ เวลาในการดาเนินงานนานขึ้น ซ่ึงอาจต้องมีการบูรณาการการดาเนินงานในด้านอื่นๆ หรือหารือกับผู้มี สว่ นได้สว่ นเสยี ประกอบดว้ ย ๒.๒.๓ ตวั ชว้ี ัด ๑) ระดบั ความสาเรจ็ ในการผลักดนั นโยบาย/กฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องกับกลมุ่ ผู้เสียเปรียบในสังคม ๒) สัดส่วนของกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคมท่ีมีศักยภาพ สามารถประกอบอาชีพได้ และ/หรอื มีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดขี นึ้ ๓) ระดับความสาเรจ็ ของหนว่ ยงานภาครฐั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม ในการจัดสภาพแวดล้อม การเดินทาง และบริการสาธารณะท่ีทุกคนสามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้อยา่ งทว่ั ถงึ ๒.๒.๔ วงเงนิ และแหลง่ เงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ

๒ ๒.๒.๕ ขั้นตอนการดาเนินการ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม เรื่องและประเดน็ ปฏริ ปู ท่ี ๒ : กลมุ่ ผูเ้ สียเปรยี บในสงั คม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ ๑. ปฏริ ปู ระบบขนส่งสาธารณะไม่ให้เปน็ อุปสรรคเพอ่ื คนทัง้ มวล๓๔(Design for all)ทยี่ ึดหลกั การออก กจิ กรรมที่ ๑ ปฏิรูประบบขนส่ง สาธารณะในระบบราง วธิ กี าร ผลักดันการก่อสร้างรถไฟฟาู ใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้ คนทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ ได้ โดยตรวจ ติดตามในข้นั ตอนต่างๆ ทง้ั ในส่วนท่ี จัดจา้ งหรือดาเนนิ การตาม TOR แลว้ และทีอ่ ยรู่ ะหวา่ งการออกแบบรวมถงึ ระบบการให้บริการ ๓๔ คานยิ าม “เพื่อคนท้ังมวล (Design for all) ตามหลักการออกแบบทส่ี ากล (Universal Design)” อ้างองิ จากอนุกรรมาธิการก

๒๙ วงเงิน ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผู้รบั ผิดชอบ ลา้ น แหลง่ เปา้ หมาย ตัวชีว้ ดั เงิน ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ บาท คนทุกกล่มุ ร้อยละ ๘๐ ของ ทุกวยั สถานี ขบวนรถ กแบบสากล (Universal Design) ต่อคนทุกกลุ่มทกุ วัย สามารถ และระบบการ เข้าถงึ ระบบ ให้บริการ มีการ หน่วยงานหลัก ขนส่ง ออกแบบเพื่อให้ ได้แก่ คค. สาธารณะใน คนทุกกลมุ่ ทุกวัย ระบบราง สามารถเขา้ ถงึ ได้ หน่วยงานร่วม โดยไมม่ ี และอยู่ในสภาพ ได้แก่ รฟท./รฟม./ อุปสรรค ทพ่ี ร้อมใชง้ าน มท./กค./พม./ กทม./ ผู้ประกอบการ ภาคเอกชน กิจการคนพกิ าร ในคณะกรรมาธิการสงั คม กิจการเดก็ เยาวชน สตรี ผู้สงู อายุ คนพิการและผู้ดอ้ ยโอกาส สภานติ บิ ัญญตั แิ ห่งชาติ

๓ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสังคม เรื่องและประเดน็ ปฏริ ูปที่ ๒ : กลุ่มผเู้ สยี เปรียบในสังคม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ กิจกรรมที่ ๒ ปฏิรูประบบโครงสรา้ ง พน้ื ฐานและบรกิ ารขนส่งสาธารณะ ทกุ ระบบ วธิ ีการ ผลักดนั โครงสร้างพ้นื ฐาน โดยเฉพาะ อย่างย่งิ บรกิ ารขนส่งสาธารณะ ทุกระบบ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานอน่ื ๆ เช่น ทางเทา้ ขอ้ มลู ขา่ วสารสนเทศ เปน็ ตน้ เพอ่ื ไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อคนทกุ กลุ่ม ทุกวยั

๓๐ วงเงนิ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบ ล้าน แหล่ง เปา้ หมาย ตวั ชี้วัด ๒ ๓๔ ๑๒ ๓ ๔ บาท เงิน ร้อยละ ๘๐ ของ หนว่ ยงานภาครัฐ หน่วยงาน ลดความ อปท. ภาคเอกชน หลกั ไดแ้ ก่ เสียเปรียบ และภาคประชา มท./คค. ในการเขา้ ถึง สงั คมจดั โครงสรา้ ง สภาพแวดล้อม หนว่ ยงาน พนื้ ฐานและ การเดินทาง และ ร่วม ไดแ้ ก่ บรกิ ารขนส่ง บรกิ ารสาธารณะ กค./ พม./ สาธารณะ ท่ที ุกคนสามารถ สศช./กทม./ เขา้ ถงึ และใช้ อปท./รฟท./ ประโยชนไ์ ด้ รฟม./ขสมก./ อย่างทวั่ ถึง กฟน./กฟภ./ บรษิ ทั ทีโอที จากดั (มหาชน)/ ดศ./กสทช.

๓ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านสงั คม เรื่องและประเด็นปฏิรูปท่ี ๒ : กลุม่ ผ้เู สียเปรยี บในสงั คม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ กจิ กรรมท่ี ๓ ปฏริ ปู กฎหมายและ หน่วยงานทก่ี ากับดแู ลหรอื ตดิ ตามการ บังคับใชก้ ฎหมาย โดยเฉพาะเกี่ยวกับ การออกแบบที่ยึดหลกั การออกแบบท่ี เปน็ สากล (Universal Design) วธิ ีการ ปรับปรงุ กฎหมายทเ่ี กี่ยวกับการ ออกแบบที่ยึดหลกั การออกแบบท่ีเปน็ สากล (Universal Design) ซ่งึ อาศยั บทกฎหมายหลักอื่นๆ ใหเ้ ปน็ ประมวล กฎหมายรวมอยู่ในฉบับเดยี วและมี หน่วยงานรบั ผิดชอบโดยตรง เพื่อบงั คบั ใช้และกากบั ดแู ลให้เป็นไปตามกฎหมาย โดยใหส้ ามารถควบคุม จดั การ และใช้ ประโยชนต์ า่ งๆ ดว้ ย

๓๑ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผรู้ ับผิดชอบ วงเงนิ เป้าหมาย ตัวช้ีวัด ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ลา้ น แหลง่ บาท เงนิ หนว่ ยงาน หลกั ไดแ้ ก่ คนทุกกลมุ่ มีการบังคับใช้ มท./พม. ทุกวยั เข้าถึง บริการ กฎหมายว่าด้วยการ หนว่ ยงาน สาธารณะ และ สรา้ งสภาพแวดล้อม รว่ ม ได้แก่ ได้รบั ประโยชน์ ทีท่ ุกคนเขา้ ถงึ และ คค./กทม./ จากสภาพ ใช้ประโยชนไ์ ด้ อปท./ดศ./ แวดล้อม (Accessibility for กสทช. สาธารณะ All Act: AAA) อยา่ งท่ัวถงึ

๓ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสังคม เรอื่ งและประเด็นปฏริ ปู ท่ี ๒ : กลุ่มผู้เสยี เปรียบในสังคม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ ๒. ปฏิรปู กองทนุ สง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ กจิ กรรมท่ี ๑ สนับสนุนและเสรมิ สรา้ ง ประสทิ ธิภาพการบริการศนู ย์บรกิ าร คนพกิ ารโดยองคก์ รดา้ นคนพกิ าร และปรบั ปรงุ รปู แบบการพิจารณาการ ใช้เงินของกองทุนส่งเสรมิ และพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ คนพิการ จากลกั ษณะ project-based เป็น unit-cost โดยเน้นโครงการที่เป็นการเสรมิ สรา้ ง อาชพี คนพิการท่ีไมส่ ามารถทางานใน สถานประกอบการได้ หรือคนพิการที่ ประกอบอาชพี อิสระ วธิ ีการ ๑.ดาเนินการให้มีศนู ยบ์ ริการ คนพกิ ารโดยองค์กรด้านคนพกิ ารท่ีได้ มาตรฐานและครอบคลมุ ทุกพ้ืนท่ตี าม สดั สว่ นคนพิการ ๒.ดาเนินการใหศ้ นู ย์บรกิ าร คนพกิ ารโดยองค์กรดา้ นคนพกิ าร

๓๒ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผรู้ ับผิดชอบ วงเงนิ เปา้ หมาย ตัวช้วี ดั ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ล้าน แหลง่ บาท เงิน หน่วยงาน ๑. มีศนู ยบ์ รกิ าร๑. รอ้ ยละ ๑๐๐ หลกั ไดแ้ ก่ พม./กค. คนพิการโดย ของศูนยบ์ ริการ หนว่ ยงานร่วม องคก์ รด้าน คนพกิ ารโดยองค์กร ไดแ้ ก่ รง./ อปท. คนพิการทีไ่ ด้ ด้านคนพิการผา่ น มาตรฐาน มาตรฐาน ครอบคลุม ๒. ร้อยละ ๘๐ ของ ทวั่ ประเทศ คนพิการ ครอบครวั ๒. คนพกิ าร คนพิการ องค์กร สามารถใช้ ด้านคนพกิ าร ชวี ติ ไดโ้ ดย (องค์กรของคน ไมม่ ีอปุ สรรค พิการ และองคก์ ร และมศี ักยภาพ เพ่อื คนพกิ าร) ได้รบั ในการประกอบ การจัดสรรเงนิ จาก อาชีพ กองทนุ ฯ อยา่ ง ท่วั ถึงและเปน็ ธรรม

๓ แผนการปฏิรูปประเทศด้านสงั คม เรื่องและประเดน็ ปฏิรูปท่ี ๒ : กลุม่ ผูเ้ สียเปรยี บในสงั คม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ สนับสนนุ ภาครฐั ตามท่ีกฎหมาย บญั ญตั ใิ นการดูแลคนพกิ าร โดยการ สนับสนนุ จากกองทนุ ส่งเสริมและ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ อย่าง ตอ่ เน่อื ง ผา่ นการจดั ตง้ั คณะกรรมการ ในลักษณะของการรว่ มบรหิ าร โครงการ เพอื่ พจิ ารณาวัตถุประสงค์ เปาู หมาย และการประเมนิ ผลเพือ่ ตอบสนองโครงการในลกั ษณะ unit-cost

๓๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผู้รบั ผิดชอบ วงเงนิ เปา้ หมาย ตัวชี้วดั ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ลา้ น แหลง่ บาท เงิน ๓. มรี ะบบประกนั คุณภาพและติดตาม ประเมินผลกองทุน ส่งเสรมิ และพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร ๔. คนพกิ ารวยั แรงงานร้อยละ ๑๐ ไดร้ บั การพฒั นาผ่าน กองทุนสง่ เสรมิ และ พัฒนาคณุ ภาพชีวิต คนพกิ าร ๕. จานวนคนพกิ ารวยั แรงงานไดร้ ับการ พฒั นาผา่ นกองทนุ ส่งเสริมและพัฒนา คณุ ภาพชีวติ คน

๓ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสังคม เร่อื งและประเดน็ ปฏิรปู ที่ ๒ : กลมุ่ ผเู้ สยี เปรียบในสงั คม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ ๓. การเสริมสร้างศักยภาพผสู้ งู อายใุ นการทางาน กิจกรรมที่ ๑ ขยายอายุเกษียณราชการ จาก ๖๐ ป เปน็ ๖๓ ป (โดยใชเ้ วลา ๖ ป คอื ๒ ป ขยาย ๑ ป) เพ่ือเปน็ ต้นแบบ ในการขยายเวลาการทางานและคอ่ ยๆ ขยายเวลาเป็น ๒ ป ขยาย ๑ ป (จะไม่ กระทบต่อการจา้ งงานคนร่นุ ใหมท่ ่ี ทดแทนคนท่ีเกษียณอาย)ุ โดยไม่ ครอบคลมุ หน่วยงานทต่ี ้องใช้ศักยภาพ ทางรา่ งกาย วธิ ีการ ๑. ศึกษาความเหมาะสมของตาแหน่งท่ี จะมกี ารขยายอายเุ กษยี ณ ๒. แก้ไขพระราชบัญญตั บิ าเหนจ็ บานาญ ให้ขยายอายุเกษยี ณราชการ เปน็ ๖๓ ปี

๓๔ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผรู้ บั ผิดชอบ วงเงิน เป้าหมาย ตัวช้วี ัด ๒ ๓๔ ๑๒๓ ๔ ล้าน แหลง่ บาท เงิน พิการ เพ่มิ ขน้ึ ร้อยละ ๑๐ ต่อปี หน่วยงาน ขา้ ราชการ ขา้ ราชการ หลกั ไดแ้ ก่ พนักงาน พนกั งาน กพ./กพร. รฐั วิสาหกจิ และ รัฐวิสาหกิจ และ เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ เจ้าหน้าทขี่ องรัฐท่ี เกษียณอายทุ ่ี มีศกั ยภาพมีอายุ ๖๓ ปี ใน เกษียณเพิม่ ขึน้ ปี ๒๕๖๗ ๑ ปี ในทกุ ๆ ๒ ปี กระทง่ั ปี ๒๕๖๗

๓ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านสังคม เร่อื งและประเดน็ ปฏิรูปที่ ๒ : กลมุ่ ผเู้ สยี เปรยี บในสงั คม ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒ ๑๒๓๔ ๑ ๒๓๔ ๑๒๓๔ ๑ ๒ กจิ กรรมท่ี ๒ แกไ้ ขบทบญั ญัตขิ อง กฎหมายที่ให้ผสู้ ูงอายุสามารถรับงาน เป็นชนิ้ งาน เพื่อใหเ้ กิดการทางาน ร่วมกนั ตามศกั ยภาพและสภาพแวดล้อม โดยไม่ต้องผูกพันทางานเต็มเวลา ๘ ชั่วโมงต่อวัน อาทิ พระราชบญั ญตั ิ คุม้ ครองแรงงานฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐) พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองผ้รู บั งานไปทา ท่ีบา้ น พ.ศ. ๒๕๕๓ วธิ กี าร สนับสนนุ การแกไ้ ขบทบัญญตั ิของ กฎหมาย อาทิ พระราชบญั ญัตคิ ้มุ ครอง แรงงานฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ . ๒๕๖๐) ในมาตรา ๘๗ ระบุถงึ การสง่ เสรมิ การ จ้างงานทีเ่ หมาะสมของลูกจา้ งบางกลมุ่ หรอื บางประเภท เช่น นกั เรยี น นกั ศกึ ษา คนพกิ าร และผูส้ งู อายุ พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองผ้รู ับงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook