Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการเปิดภาคเรียน Open School 18 ต.ค.64

แนวทางการเปิดภาคเรียน Open School 18 ต.ค.64

Published by kroobantim Satang, 2021-10-25 03:55:52

Description: แนวทางการเปิดภาคเรียน Open School 18 ต.ค.64Update

Search

Read the Text Version

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๑๐) สงั เกตอารมณค์ วามเครียดของตัวเอง เน่ืองจากภาระหน้าทก่ี ารดแู ลนักเรยี นจำนวนมาก และกำกับให้ ปฏบิ ตั ิตามมาตรการปอ้ งกันการติดโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เป็นบทบาทสำคัญอาจจะ สร้างความเครียดวิตกกังวลทั้งจากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกันตัวเองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค ดังนน้ั เม่อื ครมู คี วามเครยี ด จากสาเหตตุ า่ ง ๆ มีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี (๑) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชัดเจน แนะนำให้สอบถาม กับผู้บริหารโรงเรยี นหรือเพอ่ื นรว่ มงาน เพอ่ื ให้เขา้ ใจบทบาทหน้าทแี่ ละข้อปฏิบตั ทิ ่ีตรงกนั (๒) กรณมี คี วามวิตกกังวล กลัวการตดิ เช้ือในโรงเรยี น ใหพ้ ดู คยุ สอ่ื สารถงึ ความไม่สบายใจ และร้องขอสิ่งจำเป็นสำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติ ดโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เช่น สถานท่ี สอื่ การเรยี นการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรอื ตรวจ การบ้าน เป็นต้น หากตนเองเป็นกลุ่มเสี่ยง หรือมีโรคประจำตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจ รักษาตาม มาตรการทกี่ ระทรวงสาธารณสุขกำหนด (๓) จัดให้มีกิจกรรมบำบัดความเครียด โดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเริ่มการเรียน การสอนเพอื่ ลดความวิตกกงั วลตอ่ สถานการณท์ ตี่ ึงเครียดน้ี ๑๑) กำกับและตดิ ตามการไดร้ บั วคั ซีนของนกั เรยี นและผู้ปกครองนักเรียนใหเ้ ป็นไปตามมาตรการ ท่ีกำหนดและเปน็ ปจั จุบัน ๓. บทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนตั้งแต่การวางแผน การกำหนด นโยบายสถานศกึ ษา การเตรยี มความพร้อมการเปิดเรยี น การส่งเสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการ สอน การกำกับติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา การประเมิน สถานการณ์ การรายงาน ตลอดจนร่วมมือกับครูและบุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน ให้การตรวจสอบสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน โดยบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ควรมดี งั น้ี ๑) จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง นกั เรียน ผูน้ ำชุมชน และมมี ตใิ ห้ความเห็นชอบรว่ มกันในการจดั พืน้ ท่ี และรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏบิ ตั กิ ารป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในโรงเรยี น ๓) แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ประกอบด้วย นักเรยี น ครู ผปู้ กครอง เจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข ท้องถิ่น ชุมชน และ ผู้เกย่ี วข้อง ๔) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID ๕) ทบทวน ปรับปรุง ซักซ้อมปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุของโรงเรียนในภาวะที่มีการระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๖) จัดให้มกี ารสื่อสารประชาสมั พนั ธ์แนวทางการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เก่ยี วกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจดั การเรียนการสอนให้แกค่ รู นกั เรียน ๔๗

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม และติดตามข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง จากแหล่งขอ้ มลู ทเ่ี ช่ือถอื ได้ 7) สนับสนนุ ให้นักเรียน ครูและบคุ ลากรไดร้ บั วคั ซนี ครบโดส ตง้ั แต่รอ้ ยละ 85 ขึ้นไป 8) สนับสนนุ ใหม้ กี ารตรวจคัดกรองหาเชือ้ ด้วยวิธกี ารทเี่ หมาะสมตามมาตรการของภาครฐั 9) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมินตนเองผ่าน Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนกเขตพ้นื ทกี่ ารแพรร่ ะบาด 10) สื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อลดการรังเกียจ และลดการตีตราทางสังคม ( Social Stigma) กรณีพบว่ามบี ุคลากรในโรงเรียน นักเรยี น หรอื ผปู้ กครองตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) 11) กำหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of Entry) ให้แก่ นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพื้นที่แยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน ผปู้ กครอง และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ ในกรณที พ่ี บนกั เรียนกลมุ่ เสย่ี งหรอื สงสยั 12) จัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้ อย่างต่อเนื่อง ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรียน การสอนทางไกล ส่อื ออนไลน์ การตดิ ตอ่ ทางโทรศพั ท์ หรอื Social Media เปน็ รายวัน หรือรายสปั ดาห์ 13) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามา ในโรงเรียน ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่เพื่อดำเนินการสอบสวนโรค และพิจารณาดำเนินการ ตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการปอ้ งกนั ตามระดบั การแพร่ระบาดโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID- 19) ของสถานศกึ ษา 14) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิที่ควรได้รับ กรณีพบอยใู่ นกลุ่มเสี่ยงหรืออย่ใู นช่วงกกั ตัว 15) ควบคุม กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดําเนินงาน ตามมาตรการป้องกัน การแพรร่ ะบาดภายในโรงเรียนอย่างเครง่ ครัด และต่อเน่ือง ๑๖) เยี่ยมบา้ น สรา้ งขวญั กำลงั ใจนักเรยี น ทั้งนกั เรียนทม่ี าเรยี นแบบปกติ และทีไ่ มส่ ามารถมาเรยี น แบบปกตไิ ด้ ๔. บทบาทของผู้ปกครองนกั เรยี น ผู้ปกครองนักเรียนเป็นบุคคลที่มีสำคัญยิ่ง มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเอง ในด้านสุขอนามัยและการป้องกันความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อยา่ งเครง่ ครัด ตอ้ งให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ครูประจำช้ัน หรือครูทป่ี รกึ ษา เกย่ี วกับมาตรการ การดูแลนักเรยี น ผปู้ กครองนกั เรยี นจงึ มีบทบาทสำคญั ร่วมกับครูเพ่ือชว่ ยนักเรยี นทงั้ ในเรอ่ื งการเรียนรู้ และการ ดแู ลความปลอดภัยของนักเรียน บทบาทของผู้ปกครองนกั เรียน ควรมีดังนี้ ๑) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยง จากการแพร่กระจายของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ชื่อถอื ได้ ๔๘

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ๒) ประเมินความเสยี่ งของตนเอง นกั เรยี น และคนในครอบครวั ผ่านแอปพลเิ คชนั Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ สังเกตอาการป่วยของนักเรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการไข้ ไอ มีนำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไป เล่นกับคนอืน่ ให้พักผ่อนอยู่ทีบ่ ้านจนกว่าจะหายเปน็ ปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคตดิ เช้อื ไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) หรอื กลบั จากพน้ื ทเี่ สย่ี งอยู่ในช่วงกักตัวใหป้ ฏิบตั ติ ามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ สาธารณสขุ อย่างเครง่ ครัด ๓) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้า ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผา้ เชด็ หนา้ ผ้าเช็ดตวั เปน็ ต้น ๔) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกำกับดูแลนักเรียนให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ ส้วม หลีกเลีย่ งการใช้มือสมั ผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดีหลังเล่นกับเพื่อน และเมือ่ กลับมาถงึ บ้าน ควรอาบน้ำ สระผม และเปล่ยี นชุดเสื้อผ้าใหม่ทนั ที ๕) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสรมิ ให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหาร ครบ ๕ หมแู่ ละผกั ผลไม้ ๕ สี และควรจัดอาหารกลอ่ ง (Box Set) ให้แก่นักเรยี นในช่วงเชา้ แทนการซื้อจาก โรงเรียน (กรณที ไ่ี ม่ได้รบั ประทานอาหารเช้าจากทบี่ า้ น) เพือ่ เสริมสรา้ งภูมคิ ุ้มกัน ออกกำลงั กาย อย่างน้อย ๖๐ นาที ทกุ วนั และนอนหลบั อยา่ งเพียงพอ ๙ - ๑๑ ชั่วโมงต่อวัน ๖) หลีกเลี่ยงการพานักเรียนไปในสถานเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สถานที่แออัดที่มีการรวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ ๗ ขน้ั ตอน ด้วยสบ่แู ละน้ำนาน ๒๐ วินาที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ ๗) กรณีนักเรยี นเดนิ ทางมาโรงเรยี น โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรอื รถอืน่ ๆ ผปู้ กครองและโรงเรยี นตอ้ ง ขอความร่วมมือกับคนขบั รถใหป้ ฏิบัติตามมาตรการของสาธารณสขุ อยา่ งเคร่งครัด ๘) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครู ในการดูแลจัดการเรยี นการสอนแก่นักเรียน เชน่ การส่งการบ้าน การร่วมทำกจิ กรรม เป็นต้น ๕. บทบาทขององค์กรสนับสนุน ๕.๑ สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา ๑) ประชาสมั พนั ธส์ รา้ งความรู้ความเข้าใจใหโ้ รงเรยี นในสังกดั เกี่ยวกบั การปอ้ งกันตนเอง การดูแล สุขอนามยั ของตนเอง และบคุ คลในครอบครวั ๔๙

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ๒) ประสานงานองค์กรตา่ ง ๆ ในเขตพื้นทก่ี ารศึกษาในการช่วยเหลอื สนบั สนุนโรงเรยี น ๓) นิเทศ กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารโรงเรียนภายใต้สถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๔) กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการได้รับวัคซีน ของนักเรียน ครู ผ้บู รหิ ารโรงเรียน และผู้ปกครองนกั เรียนให้ได้รับวคั ซนี ตามมาตรการทก่ี ำหนด ๕) รายงานผลการดำเนินการต่อหน่วยงานต้นสังกัดให้ทราบความเคลื่อนไหวอย่างต่ อเนื่อง สมำ่ เสมอ ๖) ประชุม ตรวจเยีย่ มสถานศึกษา สร้างขวัญกำลังใจในการเตรียมความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรยี น ทงั้ แบบปกตแิ ละแบบทางไกล ๕.๒ สำนักงานสาธารณสขุ ๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติของสถานศึกษา สนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียนให้ สอดคลอ้ งตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด ๒) สนบั สนนุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจคัดกรองหาเชอ้ื ทเ่ี หมาะสม อปุ กรณ์วัดอุณหภูมิ หน้ากากอนามยั เจลลา้ งมือ ฯลฯ ๓) สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ในการบริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงให้แก่ นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ๔) จัดให้มีช่องทางการสื่อสาร การให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบันให้กับสถานศึกษา และจัดระบบสนับสนุนเมื่อมีนักเรียน ครูหรือบุคลากรมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๕) สำรวจ ติดตามสถานการณ์ในพื้นที่บริการอย่างต่อเนื่อง กรณี พบผู้มีอาการเสี่ยงหรือป่วย ตอ้ งดำเนนิ การทันที และรายงานใหส้ ถานศกึ ษาทราบเพอ่ื ดำเนนิ การตามมาตรการต่อไป ๖) ออกให้บริการตามที่สถานศึกษาร้องขอ เช่น จัดเจ้าหน้าที่ อสม.ประจำหมู่บ้าน ตำบล ตรวจเวรยาม บนั ทกึ ต้แู ดงตามจุดทีโ่ รงเรียนกำหนด และอ่ืน ๆ ตามความตอ้ งการจำเปน็ ๕.๓ องค์กรทางปกครอง หมายถึง หน่วยงานทางปกครอง ได้แก่ จังหวดั อำเภอ ตำบล หมบู่ า้ น และหนว่ ยงานท้องถ่ิน ไดแ้ ก่ องค์การบรหิ ารส่วนตำบล เทศบาล เมอื งพทั ยา กรงุ เทพมหานคร ๑) ประชาสมั พันธส์ รา้ งความเข้าใจใหโ้ รงเรยี น และชมุ ชนในเขตการปกครองมีความรู้ความเข้าใจ เกีย่ วกบั การป้องกันตนเอง การดแู ลสุขอนามัยของตนเอง และบุคคลในครอบครัว ๒) สนบั สนุน ชว่ ยเหลือโรงเรยี นในเขตปกครองตามคำสั่งของจังหวัดอย่างเครง่ ครัด ๓) กำกับ ติดตามการได้รับวัคซีนของประชาชนในเขตปกครองและมีข้อมูลทางสถิติที่อ้างอิง เชือ่ ถอื ได้ ๔) ให้บริการตามที่สถานศกึ ษารอ้ งขอตามความตอ้ งการเรง่ ดว่ นและจำเปน็ ๕๐

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๕.๔ องคก์ รเอกชน ๑) สนับสนนุ อุปกรณท์ างการแพทย์ อาทิ ชดุ ตรวจคัดกรองหาเชอ้ื ที่เหมาะสม อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ หนา้ กากอนามยั เจลล้างมอื ฯลฯ ๒) สนบั สนนุ งบประมาณให้แกส่ ถานศึกษาในการนำไปใชบ้ รหิ ารจดั การภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๓) อำนวยความสะดวกใหค้ วามชว่ ยเหลือกรณฉี กุ เฉิน จำเป็นในการส่งตัวนกั เรียน ครแู ละบคุ ลากร ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั เชอ้ื หรอื เปน็ กลุม่ เสย่ี งสง่ หน่วยงานสาธารณสขุ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ๔) สร้างระบบการติดต่อสื่อสารหน่วยงานภายในจังหวัด อำเภอ ตำบล ให้มีความรวดเร็วในการ ช่วยเหลอื ดูแล นักเรยี น ครู บุคลากร และผู้ปกครอง ท่สี ถานศึกษาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๕๑

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ภาคผนวก ๕๒

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน เอกสารอา้ งองิ กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๔). คู่มือการปฏิบัติมาตรการ Sandbox Safety Zone in School เปิด เรียนม่ันใจ ปลอดภัยไร้โควดิ ๑๙ ในสถานศกึ ษา. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓). คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา ในการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคโควดิ ๑๙. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๖๔). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรอื สถาบนั การศึกษาตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหาร ราชการในสถานการณฉ์ กุ เฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบบั ที่ ๓๒) ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔.เอกสารส่ิงพมิ พ์. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๓). คําแนะนําการป้องกันควบคุมโรคไวรัสโคโรนา สายพันธ์ุ ใหม่ ๒๐๑๙ สําหรับสถานศึกษา สถานการณ์การระบาดในวงกว้าง ระยะเริ่มต้น. สืบค้น ๕ ต ุ ล า คม ๒ ๕ ๖ ๔ ,จ า ก https: / / ddc. moph. go. th/ viraloneumonia/ file/ introduction/ introduction07_1. กรมอนามยั . (๒๕๖๔). แนวทางการปฏิบตั ิดา้ นสาธารณสขุ เพ่ือห้องกนั การแพรร่ ะบาดของ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ฉบับท่ี ๑. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . (๒๕๖๓). คาํ แนะนําการปอ้ งกันตนเองและการปฏบิ ัตดิ ้านสุขอนามัย ในสถานศึกษา ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) . สบื คน้ ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔, จาก https://www.anamai.moph.go.th/ewt_dt link.php?nid=16545. งานสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ศริ ริ าชพยาบาล. (๒๖ สงิ หาคม ๒๕๖๔). นง่ั วนิ มอเตอรไ์ ซด์อย่างไรใหป้ ลอดภยั จาก Covid-19.สบื ค้นจาก https://www.pptvhd36.com/news/154963 เม่อื วันท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ชนาธปิ ไชยเหล็ก. (21 กนั ยายน ๒๕๖๔). ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ์ vs. อย.สรปุ ปมวคั ซนี Sinopharm ในเดก็ . สบื ค้นจาก thestandard.co/cra-us-fda-moph-and-sinopham-in-child/. เม่ือวนั ที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๔ ศนู ย์เฉพาะกิจการศกึ ษาทางไกล ในสถานการณ์ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน. (๒๕๖๓). แนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19). สบื คน้ จาก https://www.covid19.obec.go.th/ เม่อื วนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ราชวทิ ยาลัยกุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย. (๒๒ กันยายน ๒๕๖๔). คำแนะนำการฉดี วคั ซนี ป้องกันโรค โควิด -๑๙ สำหรบั เดก็ อายตุ ้ังแต่ ๑๒ ปีข้นึ ไป(ฉบบั ท่ี ๓). สืบค้นจาก thaipendiatrios.org/pages/people/Detail/481383. ๕๓

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๕ จังหวัดตาก. (๒๕๖๓). มาตรการเตรยี มความพรอ้ มปอ้ งกนั ควบคมุ โรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ด้านการจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓. โรงพยาบาลวชิ ัยเวชอนิ เตอรเ์ นชัน่ แนลหนองแขม. (๒๕๖๔). วคั ซีนไฟเซอร์. สืบคน้ จาก https://vichaivej-nongkhaem.com/health-info/ เม่ือวนั ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔. ไทยรฐั ออนไลน.์ (๑๕ กันยายน ๒๕๖๔). โรงเรียน Sandbox: Safety zone in School. สบื คน้ จาก https://www.thairath.co.th/news/local/2193910 เมอ่ื วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สือ่ ดิจทิ ัลเพ่อื การเรียนการสอน. สืบคน้ จาก https://contentcenter.obec.go.th/ เมอื่ วันท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สื่อดจิ ทิ ัลเพื่อการเรียนการสอน. สืบค้นจาก https://deep.moe.go.th/ เมื่อวนั ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สือ่ ดิจทิ ลั เพื่อการเรยี นการสอน. สบื คน้ จาก https://www.dltv.ac.th/ เมอ่ื วันที่ ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สื่อดจิ ิทลั เพ่อื การเรยี นการสอน. สบื ค้นจาก https://www.scimath.org/index.php / เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สื่อดจิ ิทลั เพอ่ื การเรียนการสอน. สบื ค้นจาก https://learningspace.ipst.ac.th/ เมอ่ื วันท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สื่อดจิ ิทัลเพอ่ื การเรยี นการสอน. สืบค้นจาก http://www.stemedthailand.org/ เมอ่ื วนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). ส่อื ดจิ ิทัลเพือ่ การเรยี นการสอน. สืบค้นจากhttps://www.scimath.org/index.php/ เมอื่ วนั ท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สอ่ื ดจิ ทิ ัลเพอ่ื การเรยี นการสอน. สบื ค้นจาก https://pisaitems.ipst.ac.th/ เมื่อวนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สื่อดจิ ิทัลเพ่อื การเรียนการสอน. สืบคน้ จาก https://www.tkpark.or.th/ เมื่อวันที่ ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สื่อดจิ ิทลั เพื่อการเรยี นการสอน. สบื คน้ จาก https://dlit.ac.th/site/classroom.php/ เมื่อวันท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๔. ______(๒๕๖๔). สือ่ ดจิ ิทัลเพอ่ื การเรยี นการสอน. สบื ค้นจาก https://www.ครูพร้อม.com/ เมื่อวนั ท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔. _____________________ ๕๔

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน อภิธานศพั ท์ ATK : Antigen Test Kit หมายถึง ชดุ ตรวจการตดิ เช้ือโควิด๑๙ ที่สามารถทดสอบได้ในเบอื้ งต้น เหมาะกบั ผทู้ ่ีสงสัย หรือไม่ แสดงอาการตดิ เช้ือ ซงึ่ เป็น ๑ ใน ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสรมิ และ ๗ มาตรการเขม้ ของ Sandbox Safety Zone in School นักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ทกุ คนต้องตรวจคดั กรอง ATK ก่อนเข้า โรงเรียน และมีการสุ่มตรวจเฝา้ ระวงั อย่างตอ่ เน่ือง โดยใช้ Antigen Test Kit (ATK) หรือชดุ ตรวจโควิด ๑๙ แบบเร่งด่วน ด้วยวิธีการ Swab เก็บตัวอย่างสารคัดหลั่งทางจมูก ลึกถึงคอ หรือเก็บจากคอ สามารถ ทำไดเ้ องทบี่ า้ น การตรวจชนดิ น้ีเปน็ การตรวจคดั กรองเบือ้ งต้น Covid free Zone หมายถึง สถานศึกษาเป็นพื้นที่ที่ปราศจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อันเนื่องจากสถานศึกษามีการปฏิบัติตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศึกษาธิการกำหนด สามารถเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite และการจัดกิจกรรมได้อย่าง ปลอดภยั และยง่ั ยืน DMHT-RC หมายถงึ คำยอ่ ของ ๖ มาตรการหลกั ไดแ้ ก่ ๑) Distancing เวน้ ระยะหา่ ง เวน้ ระยะห่างระหว่าง บุคคลอย่างน้อย ๑ - ๒ เมตร ๒) Mask Wearing สวมหน้ากาก สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาที่อยใู่ นสถานศกึ ษา ๓) Hand washing ลา้ งมือ ล้างมอื บ่อยๆ ด้วยสบแู่ ละน้ำ นาน ๒๐ วินาที หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์ ๔) Testing คดั กรองวดั ไข้ วัดไข้ สังเกตอาการ ซกั ประวตั ผิ ูส้ ัมผสั เส่ยี งทุกคนก่อน เข้าสถานศึกษา ๕) Reducing ลดการแออัด ลดเข้าไปในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มคนจำนวนมาก และ ๖) Cleaningทำความสะอาด ทำความสะอาดบริเวณพื้นผิวสัมผัสร่วม อาทิ ที่จับประตู ลูกบิดประตู ราวบนั ได ปุม่ กดลฟิ ต์ MOE Covid หมายถึง ระบบการติดตามและประเมินผลข้อมูลของศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด 19 กระทรวงศึกษาธิการ (ศบค.ศธ.) เว็บไซต์ www.covid.moe.go.th ซึ่งมีเครื่องมือประเมินตนเองของ สถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ซึ่งเปน็ ๑ ใน ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้ม ของ Sandbox: Safety zone in School ท่สี ถานศกึ ษาต้องประเมินตนเอง mRNA Vaccine หมายถึง คำย่อของ Messenger Ribonucleic Acid เทคโนโลยีในการผลิตวัคซีนรูปแบบใหม่ ทีล่ งลึกถึงระดับโมเลกลุ จากเดิมทใ่ี ช้โปรตีนของไวรสั หรือใชไ้ วรสั ทถ่ี กู ทำให้ออ่ นแอฉีดเข้าไปร่างกายเพอื่ ให้ ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมา แต่สำหรับเทคโนโลยี mRNA จะแตกต่างออกไป โดยใช้วิธีฉีดพันธุกรรม โมเลกุลที่เรยี กวา่ mRNA เขา้ ไปในร่างกาย ซงึ่ รา่ งกายกจ็ ะสรา้ งโปรตีนท่มี ลี ักษณะคล้ายหนามของไวรสั ๕๕

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน โควิด ๑๙ แตไ่ ม่เป็นอนั ตรายตอ่ มนุษย์ขึน้ มา ซึ่งโปรตีนตัวน้จี ะกระตุ้นใหร้ ่างกายสร้างภูมิต้านทานเพื่อต่อสู่ กับไวรัส นอกจากนี้วัคซีนยงั มี ไขมันอนุภาคนาโน (Lipid Nanoparticle) ที่ใช้ห่อหุ้ม mRNA เพื่อป้องกัน การย่อยสลายจากเอนไซม์ไรโบนิวคลิเอสซ่งึ มีอยู่ทว่ั ร่างกาย Safety Zone หมายถึง พื้นที่ชั้นในที่มีความปลอดภัยสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรที่ผ่านการตรวจหาเช้อื โควิด ๑๙ สถานศึกษามีการประเมินตนเองและจัดแบ่งพื้นที่ไว้เปน็ การเฉพาะในโรงเรียน ได้แก่ พื้นที่คัด กรอง พืน้ ทก่ี กั กันผสู้ มั ผัสเสี่ยง และพน้ื ท่ีปลอดภยั สีเขียว Safety Zone in School หมายถงึ แนวปฏิบัติของ Sandbox : Safety Zone in School ในการกำหนดมาตรการดา้ นความ ปลอดภยั และสุขอนามัยภายในโรงเรยี น เชน่ การจำกัดบคุ คลเข้าออกโรงเรยี นอย่างชัดเจน มีการคัดกรอง โดยใช้วิธี Rapid Antigen Test มีระบบติดตามของครู และบุคลากรอย่างเข้มงวด กำหนดให้ทุกคนต้อง ประเมินความเสี่ยงผ่าน “Thai save Thai” อย่างสม่ำเสมอ และเฝ้าระวังโดยการสุ่มตรวจทุก ๑๔ วัน หรือ ๑ เดอื นต่อภาคเรียน เป็นตน้ School Pass หมายถงึ เอกสารหรือใบอนุญาตใหน้ ักเรียน ครู และบคุ ลากร หรอื บุคคลทีเ่ กย่ี วข้องที่สถานศึกษา ออกใหเ้ พือ่ ให้เกิดความปลอดภัยเมื่อเข้า-ออกโรงเรียน โดยเปน็ ข้อมูลจากผลการประเมินสถานศึกษาผ่าน Thai Save Thai ผลการตรวจ ATK ภายใน ๗ วัน ประวตั ิการรับวัคซีน ตามมาตรการกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้เกิดความปลอดภัยเมื่อเข้า - ออกโรงเรียน School Pass นี้เป็น ๑ ใน ๗ มาตรการเข้มเพิ่มสำหรับโรงเรียนที่จะเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ School Isolation หมายถึง สถานแยกตัวในโรงเรียน ที่โรงเรียนทกุ แห่งจะต้องจัดให้มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณี ฉุกเฉิน เป็นการวางแผนการเผชิญเหตุ และมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัดหากพบผู้ติดเชื้อที่ต้องมี ความพร้อมในเรื่องสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับ บุคลากรทางการแพทยใ์ นพื้นที่ Screening Zone หมายถึง พืน้ ทีแ่ รกทโี่ รงเรยี นตอ้ งดำเนินการคดั กรองนกั เรียน ครู ผูป้ กครอง หรือ ผูม้ าตดิ ตอ่ ทีเ่ ข้า มาในโรงเรียนเบื้องต้น เช่น การใช้เครือ่ งตรวจวัดอุณหภูมิ การตรวจ ATK การตรวจระบบ School Pass และอ่นื ๆ ตามมาตรการทก่ี ระทรวงสาธารณสุขกำหนด เป็น ๑ ใน ๓ พืน้ ท่ี Safety Zone ในโรงเรียน ทีถ่ กู กำหนดไว้ใน ๗ มาตรการเข้มสำหรับโรงเรียนท่ีจะเปิดการเรยี นการสอนแบบ Onsite ได้แก่ คือ พื้นที่ ๑ Screening พ้นื ที่ ๒ Quarantine และพื้นที่ ๓ Safety Zone ๕๖

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน Seal Route หมายถึง การควบคมุ รถรับ-ส่งนักเรยี น รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสาธารณะ สำหรับโรงเรียน ไป-กลับ) อย่างเข้มงวด โดยใช้กระบวนการกำกับ ติดตามอย่างเคร่งครัด เพื่อไม่ให้เกิดการแพร่กระจาย เชื้อการรับเชื้อจากชุมชน เข้าสู่โรงเรียน และควบคุมการแพร่เชื้อไม่ให้ออกไปสู่ชุมชน มาตรการควบคมุ เขม้ งวดนีโ้ รงเรยี นสามารถดำเนนิ การได้เอง หรือ ขอความรว่ มมอื จากหน่วยงานภายนอกชว่ ยควบคมุ กำกับ ดแู ลใหด้ ำเนินการอยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ขึ้น Small Bubble หมายถึง การจัดกลุ่มย่อย ให้นักเรียน ครูและบุคลากรปฏิบัติกิจกรรมภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน และไม่ข้ามกลุม่ ดังนั้นเมือ่ พบ ผู้ติดเชือ้ จะสามารถแยกผู้ทีต่ ิดเชื้อเข้าสู่ระบบการรักษาได้ทันที และทราบ กลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มผ้สู มั ผสั โดยเร็ว ทำใหค้ วบคุมไดไ้ ว และลดการแพรก่ ระจายของโรคในโรงเรียน เชน่ การ แบง่ กลุ่มยอ่ ยในกลุม่ ใหญ่(Large Bubble) ตามลักษณะระดบั ช้นั เรียน กลุ่มวิชาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มละประมาณ ๑๐ – ๒๐ คน เป็นต้น ซึ่ง Small Bubble นี้เป็น ๑ ใน ๗ มาตรการเข้มเพิ่มสำหรับ โรงเรียนที่จะเปดิ การเรยี นการสอนแบบ On site ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ SSET-CQ หมายถึง คำย่อของ ๖ มาตรการเสริม ได้แก่ ๑) Self care ดูแลตนเอง ดูแลใส่ใจ ปฏิบัติตน มีวินัย รับผิดชอบตัวเอง ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด ๒) Spoon ใช้ช้อนกลางส่วนตัว ใช้ช้อน กลางของตนเองทกุ ครั้ง เมื่อต้องกินอาหารร่วมกนั ลดสมั ผัสรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ๓) Eating กนิ อาหารปรุงสุกใหม่ กินอาหารปรุงสุกใหม่ร้อน ๆ กรณีอาหารเก็บเกิน ๒ ชม. ควรนำมาอุ่นให้ร้อนทั่วถึง ก่อนกินอีกครั้ง ๔) Thai Chana ไทยชนะ ลงทะเบียนตามที่รัฐกำหนดด้วย APP ไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึก การเข้า - ออกอย่างชัดเจน ๕) Check สำรวจ ตรวจสอบ สำรวจบุคคล นักเรียน กลุ่มเสี่ยงทีเ่ ดินทางมา จากพื้นที่เสี่ยง เพื่อเข้าสู่กระบวนการคัดกรอง และ ๖) Quarantine กักกันตัวเอง กักกันตัวเอง ๑๔ วัน เมื่อเขา้ ไปสมั ผัสหรืออยู่ในพื้นท่เี สี่ยงท่ีมกี ารระบาดโรค SSS หมายถงึ คำย่อของ Sandbox Safety Zone in School เปน็ การกำหนดมาตรการทดลองใช้ระยะ ที่ ๑ สำหรับการเปิดเรียนแบบ Onsite ในโรงเรียนแบบพักนอน โดยมีหลักการ ตัดความเสี่ยง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความความปลอดภัย ซึ่งประสบผลสำเร็จ และมีการขยายผลในระยะที่ ๒ ให้กับ โรงเรยี นจะเปดิ การเรยี นการสอนแบบ Onsite ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ เป็นการกำหนดมาตรการ เขม้ ข้นกวา่ ระยะท่ี ๑ ๕๗

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน TST หมายถึง คำย่อของ Application Thai Save Thai เป็นเครื่องมือประเมินตนเองของนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และโรงเรียนที่ต้องประเมินและมีข้อมูลความเสี่ยงของตนเอง โดยสามารถ ดาวโหลดแบบฟอร์มจากเว็บไซต์ www.savethai.anamai.moph.go.th และผ่านทาง แอปพลิเคชัน Thai save Thai TSC+ หมายถงึ คำยอ่ ของ Thai Stop Covid Plus เปน็ เครอื่ งมอื ประเมินเพอื่ เตรียมความพร้อมก่อนเปดิ เรียนแบบ Onsite โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ เพื่อให้โรงเรียนประเมินตนเอง ระบบประเมิน ตนเองของสถานศึกษา ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ซึ่งโรงเรยี น ตอ้ งประเมินตนเองเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ เรยี น ประกอบดว้ ย ๖ มิติ ๔๔ ขอ้ โรงเรียนสามารถดาวโหลด ได้ท่ี www.stopcovid.anamai.moph.go.th V : Vaccine หมายถึง ครูและบุคลากรทางการศึกษา จะต้องมีการเข้าถึงการฉีดวัคซีน มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ ๘๕ และตอ้ งมีการประเมินความเสยี่ ง (TST) ๑ วนั /สปั ดาห์ ซ่ึงเปน็ ไปตาม ๗ มาตรการเข้มสำหรับ โรงเรียน ทีจ่ ะเปดิ การเรยี นการสอนแบบ Onsite ในภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ Quarantine Zone หมายถึง พ้ืนที่ ๒ ซ่ึงโรงเรียนตอ้ งดำเนินการคดั แยกกกั ตวั นักเรียน ครู ผปู้ กครอง หรอื ผู้มาติดต่อ ที่เข้ามาในโรงเรียนท่ียังไม่ครบ ๑๔ วัน หรือรอผลตรวจยนื ยันและต้องปฏิบัติตามมาตรการอย่างเข้มงวด ตามมาตรการทกี่ ระทรวงสาธารณสุขกำหนด เปน็ ๑ ใน ๓ พน้ื ที่ Safety Zone ในโรงเรยี น ทถ่ี กู กำหนดไว้ ใน ๗ มาตรการเขม้ สำหรับโรงเรียนทจี่ ะเปดิ การเรยี นการสอนแบบ Onsite ไดแ้ ก่ คอื พื้นที่ ๑ Screening พื้นที่ ๒ Quarantine และพ้นื ที่ ๓ Safety Zone ๕๘

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน คณะทำงาน ที่ปรกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 1. นายอัมพร พนิ ะสา รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ๒. นางเกศทิพย์ ศุภวานชิ ผู้ชว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 2. นายเทอดชาติ ชยั พงษ์ ท่ปี รกึ ษาพเิ ศษ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 3. นายสนิท แยม้ เกษร คณะทำงาน หัวหน้าคณะทำงาน ๑. นายชนะ สมุ่ มาตย์ ผู้เช่ยี วชาญด้านการพัฒนาการแนะแนว สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ๒. นางสาวหฤทยั บุญประดับ รองหัวหน้าคณะทำงาน รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑ ๓. นายอัฏฐผล ถริ พรพงษ์ศิริ คณะทำงาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั สุทธวิ ราราม สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ ๔. นายสมมาตร ศริ สิ มพร คณะทำงาน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นปรดี ารามวิทยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษานครปฐม ๕. นายปรพล แก้วชาติ คณะทำงาน ผู้อำนวยการโรงเรียนพบิ ลู อุปถัมภ์ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ๖. นางภฏั รพนิ ท์ ใจเพียรทอง คณะทำงาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นทา่ มะเขือ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต ๒ ๗. นายวุฒชิ ยั จำปาหวาย คณะทำงาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านท่าเริงรมย์ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาชัยภมู ิ เขต ๒ 8. นายอดิศกั ดิ์ ดงสงิ ห์ คณะทำงาน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั ลำพญา (จำเนียรบำรุงวทิ ย)์ สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๒ 9. นายอดศิ ักด์ิ นนทะสี คณะทำงาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบ่งุ ง้าว สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ๕๙

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน คณะทำงาน (ต่อ) 10. นายพนม เข็มเงิน คณะทำงาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ่อกรุคุรุประชาสรรค์ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๓ 11. นายชนม์นธิ ิศ เทยี่ งภญิ ญานนั ท์ คณะทำงาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลวดั สระเกษ (หลวงพอ่ โต๊ะอุปถมั ภ์) สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอา่ งทอง ๑2. นายสมชาย เสมากลู คณะทำงาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั หนองขุนชาติ สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุทยั ธานี เขต ๒ 13. นางสาวศศิธร ชูช่ืน คณะทำงาน รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั สทุ ธวิ ราราม สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒ 14. นายธีรชัย ศรนี าม คณะทำงาน รองผู้อำนวยการโรงเรยี นเทพลีลา สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ 15. นายกติ ติพล โยงทองหลาง คณะทำงาน รองผู้อำนวยการโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษาพัฒนาการ รัชดา สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ 16. นางสาวณฐั รนิ เจรญิ เกยี รติบวร คณะทำงาน ศกึ ษานิเทศก์ สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ 17. นางสาวประกายดาว จันทรา คณะทำงาน ครู โรงเรียนนวมินทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ 18. นายวรพล สายโสภา คณะทำงาน ครู โรงเรยี นวดั สุทธิวราราม สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒ 19. นายกิตตกิ ลุ แกว้ กาหลง คณะทำงาน ครู โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษามหาสารคาม 20. นายตฤณ กา้ นดอกไม้ คณะทำงาน นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ สำนกั เทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๖๐

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน คณะทำงาน (ตอ่ ) 21. นางสาวสุชาดา สภาพงศ์ คณะทำงานและเลขานุการ ผ้อู ำนวยการกลุม่ ส่งเสริมและพัฒนากองทุนการศกึ ษา สำนกั อำนวยการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ๒2. นางสาวปรตี ประทมุ สุวรรณ์ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานกุ าร รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนสตรวี ดั อปั สรสวรรค์ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑ 23. นางสาววราศริ ิ วงศส์ ุนทร คณะทำงานและผูช้ ่วยเลขานุการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเทพลีลา สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ 24. นางสาววรรณธนา จิรมหาศาล คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร ครู โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ 25. นางสาวบุตรยี า รัตนมณี คณะทำงานและผชู้ ว่ ยเลขานุการ ครู โรงเรยี นสตรวี ัดอัปสรสวรรค์ สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ๒6. นางสาวลัลนา ลฤี ทธิเกียรติ คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานุการ นักทรัพยากรบุคคลปฏบิ ัติการ สำนักอำนวยการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๖๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook