Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการเปิดภาคเรียน Open School 18 ต.ค.64

แนวทางการเปิดภาคเรียน Open School 18 ต.ค.64

Published by kroobantim Satang, 2021-10-25 03:55:52

Description: แนวทางการเปิดภาคเรียน Open School 18 ต.ค.64Update

Search

Read the Text Version

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน คำนำ แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เล่มนี้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั ทำขึน้ เพ่อื ให้สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา สถานศกึ ษาและหน่วยงานทางการศกึ ษา ในสังกัด ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปว่า สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานมีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการ ท่ีกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการเตรียมการเปิด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เล่มนี้จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานทางการศกึ ษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ในการเปิดเรียนภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ขอบคุณคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทำแนวทางการเตรียมการเปิด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เล่มน้ี จนสำเรจ็ ดว้ ยดี นายอมั พร พินะสา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ตุลาคม 2564

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน สารบัญ หนา้ คำนำ สารบญั ส่วนท่ี 1 ความร้เู บ้อื งต้นท่ีควรรู้ วคั ซีน Pfizer................................................................................................................. ๑ วัคซนี Sinopharm…………………………………………………………………………………………… ๒ โรงเรียน Sandbox : Safety Zone in School.......................................................... ๓ ส่วนท่ี 2 แนวปฏบิ ตั กิ ารเตรยี มการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น การประเมนิ ความพร้อมกอ่ นเปิดเรยี น.......................................................................... 5 การเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน.................................................................................. ๑๓ ส่วนที่ 3 แนวปฏิบัตริ ะหวา่ งเปิดภาคเรียน กรณเี ปิดเรยี นได้ตามปกติ (Onsite).............................................................................. ๒๒ กรณีโรงเรยี นไมส่ ามารถเปดิ เรียนได้ตามปกติ............................................................... 2๖ ส่วนที่ 4 แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) รปู แบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ฯ.......... ๒๙ คลังความรู้ (Knowledge Bank) ท่สี นบั สนุนการเรยี นการสอนดว้ ยระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Learning Platform)……………………………………………………. 3๓ แอปพลเิ คชัน (Applications) สนบั สนุนการเรยี นการสอนทางไกล............................... ๓๗ สว่ นท่ี 5 แผนเผชิญเหตุ 4๒ ส่วนที่ 6 บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง บทบาทของนักเรียน....................................................................................................... 4๕ บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา..................................................................... 4๕ บทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา.................................................................................... ๔๗ บทบาทของผปู้ กครองนกั เรียน....................................................................................... ๔๘ บทบาทขององค์กรสนบั สนุน.......................................................................................... ๔๙ ภาคผนวก เอกสารอา้ งอิง................................................................................................................. ๕๓ อภธิ านศัพท์.................................................................................................................... 5๕ คณะทำงาน..................................................................................................................... ๕๙

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ความร้เู บ้อื งตน้ ท่คี วรรู้

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ส่วนที่ ๑ ความรู้เบอ้ื งตน้ ท่ีควรรู้ การเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศึกษาธิการเร่งดำเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชน ๒ เรื่องที่สำคัญและนำสู่ การปฏิบัติ ได้แก่ การรณรงคใ์ ห้นกั เรยี นอายุ ๑๒ - ๑๘ ปี เข้ารับการฉีดวัคซีน Pfizer และให้สถานศึกษา ปฏบิ ัตติ ามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School อยา่ งเครง่ ครดั จงึ เป็นสง่ิ จำเปน็ สำหรับนักเรยี น ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และบุคคลท่ีเก่ยี วขอ้ ง จะต้องรบั รแู้ ละสามารถเขา้ รับการฉีดวัคซีน Pfizer และ ปฏบิ ตั ิตามมาตรการได้อย่างเคร่งครดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน นอกจากวัคซีน Pfizer ที่รัฐนำมาให้กับนักเรียนอายุ ๑๒-๑๘ ปี เข้ารับการฉีดแล้ว ยังมีวัคซีน ทางเลือกอีกหนงึ่ ยหี่ ้อ ได้แก่ Sinopharm ที่ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณด์ ำเนินการฉีดวัคซีนให้แก่เด็กและเยาวชน อายุระหว่าง ๑๐-๑๘ ปี ในโครงการ VACC 2 School ดังนั้น เพื่อให้ความรู้เบื้องต้น สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงขอนำเสนอข้อมูลที่ควรรู้ของ วัคซีน Pfizer วัคซีน Sinopharm และมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School พอสังเขป ดงั น้ี ๑. วัคซนี Pfizer ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ช่วงปีที่ผ่านมาและ ปัจจุบันมีการกล่าวถึง เกี่ยวกับการฉีดวัคซีน (COVID-19 Vaccines) กันมากมาย โดยเฉพาะการเร่งสร้าง “ภูมิคุ้มกันหมู่” ซึ่งจำเปน็ ต้องอาศยั วคั ซีนท่ีมีประสิทธิภาพเข้าช่วย มีวัคซีนท่ีผ่านการรองรบั จากองคก์ าร อนามัยโลก (WHO) และทุกประเทศได้เลือกและนำมาให้ประชาชนรับการฉีด วัคซีน (COVID-19 Vaccines) มีหน้าที่สำคัญ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าไปเพ่ิมจำนวน และเสริมความแข็งแรงของ ภูมิคุ้มกันให้พร้อมเข้าทำลายสิ่งแปลกปลอม หรือไวรัสชนิดต่างๆ ที่แฝงเข้ามาในร่างกายได้ในทันที ซึ่งถอื เป็นอาวธุ ชนิ้ สำคัญที่ช่วยยับยั้งความรุนแรง หมายรวมถึงช่วยลดอัตราการตดิ เช้ือและการเสียชีวิตของ ประชาชน ปัจจุบันวัคซีนท่ีผ่านการรองรับจากองค์การอนามัยโลก (WHO) มีหลายยี่ห้อมีประสิทธิภาพ ในการทำหนา้ ทีแ่ ตกต่างกนั (โรงพยาบาลวิชยั เวชอนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล, ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔) ไดแ้ ก่ ๑. Pfizer ผลิตโดยประเทศสหรัฐอเมริกา มีประสิทธิภาพ 95% ๒. Moderna ผลิตโดยประเทศสหรัฐอเมรกิ า มปี ระสิทธิภาพ 94.5% ๓. Johnson and Johnson ผลติ โดยประเทศสหรฐั อเมริกา มีประสิทธิภาพ 66% ๔. AstraZeneca ผลิตโดยประเทศอังกฤษ มีประสทิ ธิภาพ 65% ๕. Covishield ผลิตโดยประเทศอนิ เดยี มปี ระสิทธภิ าพ 72% ๖. Sinovac ผลิตโดยประเทศจีน มีประสทิ ธภิ าพ >50% ๗. Sinopharm ผลติ โดยประเทศจนี มปี ระสทิ ธภิ าพ 79-86% ๑

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน สำหรบั วัคซนี ที่รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุขอนมุ ตั ิใหฉ้ ดี กับนักเรียนอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปี น้ัน ได้แก่ Pfizer ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับรองการใช้วัคซีน Pfizer เมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ และประเทศไทยโดยองค์การอาหารและยา (อย.) ขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ กำหนดใหส้ ามารถฉีดวัคซนี Pfizer ให้แก่นักเรยี น นักศกึ ษา อายรุ ะหว่าง ๑๒ - ๑๘ ปี ดังนั้น รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด Kick Off การฉีดวัคซีน Pfizer ให้แก่ นักเรียนนักศึกษาอายุระหว่าง ๑๒ - ๑๘ ปี ในวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๔ เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับ สถานศึกษามีความปลอดภัย และนักเรียนได้รับวัคซีนอย่างครบถ้วนเพื่อรองรับการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในรูปแบบ Onsite วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ซึ่งสอดคล้องกับราชวิทยาลัย กมุ ารแพทย์แห่งประเทศไทย (๒๒ กันยายน ๒๕๖๔) ไดต้ ดิ ตามขอ้ มูลดา้ นประสิทธภิ าพ และความปลอดภยั ของวัคซีนโควิด ๑๙ ในเด็กและวยั รุ่น โดยคำนึงถึงความปลอดภัย และประโยชน์ทางดา้ นสุขภาพของเดก็ เปน็ สำคัญ และไดแ้ นะนำให้ฉดี วคั ซนี ท่ไี ดร้ บั การรบั รองโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ให้ ใช้กบั เด็กและวัยรุ่นต้งั แต่อายุ ๑๒ ปขี น้ึ ไป ซ่ึงขณะน้มี ชี นดิ เดยี วทมี่ ใี นประเทศไทยคือ วคั ซนี Pfizer วัคซีน Pfizer เป็นวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA Vaccine) กระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี (Antigen) ให้ร่างกายรู้จักกับเช้ือโรคโควิด ๑๙ หลังจากฉีดวคั ซีนไฟเซอรเ์ ข็มที่ ๒ แล้ว จะมีประสิทธภิ าพ ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ สูงถึง ๙๑.๓% ในช่วง ๗ วันถึง ๖ เดือน หลังฉีดป้องกนั ความรุนแรงของโรค ได้ ๑๐๐% ป้องกันการติดเชื้อมีอาการที่ ๙๔% ป้องกันการติดโรค ๙๖.๕% ป้องกันการเสียชีวิต ๙๘ - ๑๐๐% นอกจากนี้ยังมีประสิทธิภาพในการป้องกันโควิด๑๙ สายพันธุ์อังกฤษ หรืออัลฟ่า ได้ถึง ๘๙.๕% ป้องกันโควิด ๑๙ สายพันธุ์แอฟริกาใต้ หรือเบต้า ได้ถึง ๗๕% งานวิจัยของหน่วยงานสาธารณสุขอังกฤษ พบวา่ วคั ซีน Pfizer มปี ระสทิ ธิภาพ ๘๘% ในการป้องกนั การปว่ ยแบบมอี าการจากไวรสั เดลตา้ หรืออินเดีย การรบั วคั ซนี Pfizer รบั การฉดี ท้ังหมด ๒ เขม็ โดยเข็มท่ี ๒ ห่างจากเขม็ แรก ๒๑-๒๘ วนั ใชว้ ิธีการ ฉีดเข้ากล้ามเนือ้ แขนด้านบน ภูมิคุม้ กนั จะเร่ิมเกดิ หลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอร์ไปแล้ว ๑๒ วัน แต่ภูมิคุ้มกนั จะทำงานเต็มที่หลังจากฉดี ครบ ๒ เข็มหลังการฉีดวัคซีนเขม็ ๑ หรือเขม็ ๒ ผู้รับการฉดี อาจมผี ลข้างเคียง บา้ งแต่ไม่รุนแรง (โรงพยาบาลวชิ ยั เวชอินเตอร์เนชั่นแนล, ๖ ตลุ าคม ๒๕๖๔) ๒. วคั ซนี Sinopharm วัคซีน Sinopharm เป็นวัคซีนชนิดเชื้อตาย ผลิตโดยสถาบันชีววัตถุแห่งปักกิ่ง (Beijing Institute of Biological Products: BIBP) นำเข้าโดย บริษัท ไบโอจีนีเทค จำกัด ได้รับการอนุมัติขึ้นทะเบียน ในประเทศไทยเมือ่ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ มขี ้อบง่ ใชส้ ำหรับฉดี เพือ่ กระตุ้นใหร้ ่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน ในผู้ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป ฉีดครั้งละ ๑ โดส จำนวน ๒ ครั้ง ห่างกัน ๒๑ - ๒๘ วัน ในประเทศไทย วัคซีน Sinopharm เป็นวัคซีนทางเลือกที่กระจายให้แก่องค์กร นิติบุคคล รวมถึงบุคคลธรรมดา ผ่านราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ตั้งแต่วันที่ ๒๐ มิถุนายน จนถึงปัจจุบัน เป็นจำนวนทั้งสิ้น ๑๕ ล้านโดส โดยที่ผา่ นมาเปน็ การฉดี ให้แก่ผ้ทู ี่มอี ายุต้ังแต่ ๑๘ ปขี ้นึ ไป วัคซีน Sinopharm อยู่ในระหวา่ งการพิจารณาขอ้ มลู เรอ่ื งการกระตุน้ ภมู ิคมุ้ กัน ประสิทธิภาพและ ความปลอดภัยในเด็ก และขณะน้ีสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ยงั ไมไ่ ดร้ ับรองใหใ้ ชใ้ นเด็ก ๒

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และวัยรุน่ (ราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทย์แห่งประเทศไทย,๒๒ กันยายน ๒๕๖๔) ซึง่ สอดคล้องกับราชวิทยาลัย จฬุ าภรณ์ (ชนาธิป ไชยเหลก็ ,๒๑ กันยายน ๒๕๖๔) กลา่ วว่า การฉีดวัคซีน Sinopharm ในกลมุ่ อายตุ ำ่ กว่า ๑๘ ปี จะต้องได้รับการอนุมัติขึ้นทะเบียนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ก่อน ถึงแม้ จะเป็นชนิดเชื้อตาย แต่ก็จำเป็นต้องมีข้อมูลการวิจัยในระยะที่ ๓ ซึ่งเป็นระยะที่มีการศึกษาทั้งความ ปลอดภัยและประสทิ ธิผลของวัคซีนรองรบั และในเมื่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ยังไม่ อนุมัติ การฉีดวัคซีน Sinopharm ให้กับนกั เรียนอายุ ๑๐-๑๘ ปี เป็นเพียงโครงการวิจัยของราชวิทยาลัย จุฬาภรณ์เท่านั้น โดยวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ นิธิ มหานนท์ เลขาธิการราช วิทยาลัยจุฬาภรณ์ฯ ได้เปิดโครงการ “VACC 2 School” ณ ศูนย์ฉีดวัคซีนตัวเลือกซิโนฟาร์ม บมจ. โทรคมนาคมแหง่ ชาติ ถ.แจ้งวฒั นะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ฉีดวัคซีนให้กบั นกั เรียนกว่า ๒,๐๐๐ คน และจะ ดำเนนิ การฉดี จนถงึ กลางเดอื นตลุ าคม โดยมีสถานศึกษาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล สมัครเขา้ รว่ มโครงการ รวม ๑๓๒ โรง คิดเป็นจำนวนนักเรยี นทง้ั หมด ๑๐๘,๐๐๐ คน ๒. โรงเรยี น Sandbox : Safety Zone in School กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย (นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย) มีการนำร่องเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ตามมาตรการ Sandbox Safety Zone in School ในโรงเรยี นประเภทพกั นอน มีการดำเนนิ การระหว่างวนั ที่ ๑ เมษายน - ๑๑ กันยายน ๒๕๖๔ ซึ่งมีการแบง่ โซนคดั กรอง โซนกักกันผสู้ มั ผัสเสี่ยง และโซนปลอดภัยสีเขียว ร่วมกับ มาตรการต่าง ๆ มีการติดตามและประเมินผล พบว่าได้ผลดี แม้พบผู้ติดเชื้อเป็นการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อ ภายนอกและตรวจจับได้ นับได้ว่าเป็นระยะที่ ๑ ที่ประสบผลสำเร็จ จึงเตรียมขยายผลในโรงเรียนแบบ ไป - กลับ และโรงเรียนพักนอน - ไปกลับ ในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นระยะที่ ๒ โดยมาตรการจะเข้มข้นกว่าระยะที่ ๑ เน้น ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวด สำหรับสถานศกึ ษา (ไทยรัฐออนไลน์,๑๕ กนั ยายน ๒๕๖๔ ) ดังนั้น ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ สถานศึกษาของรัฐและสถานศึกษาของเอกชนทุกแหง่ ทั้งแบบพักนอน แบบไป-กลับ แบบพักนอน-ไปกลับ และลักษณะอื่น ๆ จะเปิดให้มีการเรียนการสอน ตามปกติแบบ Onsite ได้ สถานศึกษาจะตอ้ งดำเนินการตามมาตรการท่ีเข้มข้น โดยเนน้ ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขม้ งวดสำหรับสถานศึกษาอย่างเคร่งครัด ๓

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ๔

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ส่วนท่ี ๒ แนวปฏิบัตกิ ารเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน การเตรียมการก่อนการเปิดเรียน มีความสำคัญอย่างมากเนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับ การปฏิบตั ติ นของนักเรยี น ครู บุคลากร และผู้เกย่ี วขอ้ งทุกคนในสถานศกึ ษา เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหม้ ีการติดเชื้อ โรคโควิด ๑๙ ตัดความเสีย่ ง สร้างภูมิคุ้มกัน และสรา้ งความปลอดภยั แก่ทุกคน สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน จงึ กำหนดให้มแี นวปฏบิ ตั ิการเตรียมการก่อนเปิดภาคเรยี น ๖ ขั้นตอน ดงั นี้ ๑. สถานศึกษาต้องประเมินความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน โดยใช้แบบประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถ้าผลการประเมินเป็น สีเขียวให้เปิดเรียนได้ สีเหลืองให้ประเมินซ้ำ ถ้าผ่านให้เปิดเรียนได้ ถ้าผลการประเมินเป็นสีแดง จะต้อง เตรียมสถานศกึ ษาจนกว่าผลการประเมินจะเป็นสีเขยี วหรือสีเหลือง หากยังคงมีผลการประเมินเปน็ สีแดง ใหร้ ายงานตอ่ ผบู้ งั คับบญั ชาตามลำดับชัน้ เพอ่ื จะได้ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนใหส้ ถานศึกษามีความพร้อม ก่อนเปิดภาคเรียน ๒. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาตอ้ งได้รับการฉีดวัคซนี ครบโดส รอ้ ยละ ๘๕ ขึ้นไป ตามประกาศ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ ๓. นักเรียนและผู้ปกครองควรได้รับการฉีดวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะสถานศึกษาที่อยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พ้นื ทีส่ ีแดงเข้ม) ๔. สถานศึกษานำผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบให้เปิดภาคเรียน และนำผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษาที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน รายงานตอ่ สำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประสานสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเพื่อนำเรื่องเสนอต่อ คณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัด เพื่อพิจารณาอนมุ ตั ใิ หเ้ ปิดเรยี นได้ ๕. สถานศึกษาที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการโรคติตต่อจังหวัดให้เปิดเรียนได้ ให้สถานศึกษา ปฏิบัติตามมาตรการที่กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยเน้น ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการ เสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวด อย่างเครง่ ครัด ๖. สถานศึกษารายงานผลการเตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี นต่อผูบ้ ังคับบญั ชาตามลำดับช้ัน ภายในวนั ท่ี ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ๑. การประเมนิ ความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามยั ได้สรา้ งเครือ่ งมอื สำหรบั สถานศกึ ษาประเมนิ ตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ เพ่ือให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมกอ่ นเปดิ เรียน ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school ๕

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน แบบประเมินตนเองดังกล่าว ประกอบด้วย ๖ มติ ิ ๔๔ ขอ้ สถานศกึ ษาจะต้องผ่านการประเมินทัง้ ๔๔ ข้อ ตามข้นั ตอนการประเมินตนเอง ดังภาพ แบบประเมินตนเองสำหรบั สถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรียน เพอ่ื เฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 (สถานศึกษาทำการประเมินตนเองภายในเดอื นตุลาคม 2564 เพอ่ื เตรียมพรอ้ มเปดิ ภาคเรียนในเดือนพฤศจิกายน 2564) ****************************************** คำชี้แจง แบบประเมินนี้ใช้สำหรับสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม 2 ๓ จังหวัด) และพนื้ ทคี่ วบคมุ สูงสดุ (สแี ดง 3๐ จังหวัด) จำนวนรวม ๕๓ จงั หวดั (ข้อมลู ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๔) พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) 2๓ จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี จันทบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ตาก นครปฐม นครนายก นครศรีธรรมราช นราธิวาส นนทบุรี ปทุมธานี ปราจีนบุรี ปัตตานี พระนครศรีอยุธยา ยะลา ระยอง ราชบุรี สงขลา สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบรุ ี พ้ืนท่ีควบคมุ สูงสดุ (สีแดง) 3๐ จงั หวัด ได้แก่ กาฬสินธ์ุ ขอนแก่น ชัยนาท ชยั ภมู ิ ชมุ พร เชียงราย เชียงใหม่ ตรัง ตราด นครราชสีมา นครสวรรค์ ประจวบคีรีขันธ์ พัทลุง พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ มหาสารคาม ระนอง ลพบุรี ศรีสะเกษ สกลนคร สตูล สระแกว้ สิงห์บุรี สุพรรณบรุ ี สุราษฎรธ์ านี สุรินทร์ อา่ งทอง อุดรธานี อบุ ลราชธานี ๖

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ช่ือสถานศึกษา - โรงเรยี น……………………………………………………………………………………………..……………………………...….... - ศนู ยก์ ารเรียน………………………………………………………………………………………………………………….....……. - วิทยาลัย…………………………………………………………………………………………………………………….……...….... - มหาวทิ ยาลัย............................................................................................................................................ - อ่นื ๆ (ระบุ) ............................................................................................................................................ ช่อื -สกลุ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา (นาย /นาง/นางสาว/ยศ)............................................................................. สังกดั ………………………………………… (กำหนดใหเ้ ลอื ก 1 สงั กดั เทา่ นน้ั ) ………………………………………..………. - สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (สพฐ.) o สำนกั เขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา (สพป.) จังหวัด ............ เขต ........... (เลอื ก) o สำนกั เขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา (สพม.) จงั หวัด ............... เขต ........... (เลอื ก) o สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ การศึกษาสงเคราะห์ เฉพาะความพกิ าร ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ - สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน (สช.) o เอกชนในระบบโรงเรยี น เอกชนสามัญศกึ ษา เอกชนนานาชาติ o เอกชนนอกระบบโรงเรยี น สอนศาสนา ศิลปะและกีฬา วิชาชีพ กวดวชิ า เสรมิ สรา้ งทักษะชีวติ สถาบันศกึ ษาปอเนาะ ตาดีกา - สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) - สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) - กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น (สถ.) o องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั (อบจ.) o เทศบาล o องคก์ ารบริหารสว่ นตำบล (อบต.) - กรุงเทพมหานคร - กองบญั ชาการตำรวจตระเวนชายแดน - สำนักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ (พศ.) (โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม) ๗

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน - กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม - กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา - กระทรวงวฒั นธรรม - อน่ื ๆ (ระบ)ุ ...................................................................... นกั เรียน........................คน ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา..........................คน รวม........................คน เลขท.่ี .................................. หมทู่ .่ี .................................................ถนน.................................................. ตำบล..........................................(เลอื ก).........................อำเภอ......................(เลอื ก)............................. จงั หวัด...................................................................(เลอื ก)...................................................................... เบอร์โทรมือถอื ท่ตี ิดต่อไดส้ ะดวก .………………………………………………………………………………………………. E-mail…………………………………………………………………………………………………………………………………… เกณฑ์การประเมนิ ตนเอง ขอ้ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ (1) (0) มติ ทิ ่ี 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพรเ่ ช้อื โรค 1 มีการจดั เวน้ ระยะห่าง อย่างน้อย 1 - 2 เมตร เชน่ ที่นั่งในหอ้ งเรยี น ทน่ี ัง่ ในโรงอาหาร ทนี่ งั่ พกั จุดยนื รบั -สง่ สงิ่ ของ/อาหาร พรอ้ มติดสญั ลักษณ์ แสดงระยะห่างอย่างชัดเจน หรอื ไม่ 2 มมี าตรการใหน้ กั เรยี น ครู บุคลากร และผู้เขา้ มาตดิ ต่อในสถานศกึ ษา ตอ้ งสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั 100% ตลอดเวลาที่อยู่ใน สถานศกึ ษา หรอื ไม่ 3 มจี ุดลา้ งมือดว้ ยสบ่แู ละน้ำ หรือจัดวางเจลแอลกอฮอล์สำหรบั ใช้ ทำความสะอาดมือ อยา่ งเพยี งพอและใช้งานได้สะดวก หรือไม่ 4 มมี าตรการคดั กรองวดั อุณหภมู ิใหก้ ับนกั เรยี น ครู บุคลากร และผเู้ ขา้ มา ตดิ ต่อ ทกุ คน ก่อนเข้าสถานศกึ ษา หรือไม่ 5 มมี าตรการใหล้ ดการทำกจิ กรรมรวมกลุม่ คนจำนวนมาก และหลกี เลี่ยง การเขา้ ไปในพืน้ ทท่ี ่มี ีคนจำนวนมากหรือพืน้ ที่เสย่ี งทม่ี ีการแพร่ระบาด ของโรค หรือไม่ 6 มีการทำความสะอาดพื้นผวิ สมั ผสั ร่วมทุกวนั เช่น ราวบันได ลกู บดิ -มอื จับ ประตู โตะ๊ เกา้ อี้ หรือไม่ 7 มีมาตรการให้นกั เรียน ครู และบคุ ลากร รับผดิ ชอบดูแลตนเอง มีวนิ ยั ซ่อื สตั ย์ต่อตนเอง ปฏบิ ตั ิตามมาตรการอยา่ งเคร่งครดั และไมป่ ิดบงั ขอ้ มลู กรณีสมั ผสั ใกลช้ ิดกบั ผู้ติดเชอ้ื หรือผูส้ ัมผสั เสีย่ งสงู หรอื ไม่ ๘

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ข้อ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ (1) (0) 8 มมี าตรการใหน้ กั เรียน ครู และบคุ ลากร กินอาหารดว้ ยการใชช้ ้อนสว่ นตัว ทุกครง้ั และงดการกินอาหารรว่ มกนั หรอื ไม่ 9 มมี าตรการสง่ เสรมิ ใหก้ นิ อาหารปรุงสกุ ใหมร่ อ้ น และจดั ใหบ้ ริการอาหาร ตามหลกั สขุ าภบิ าลและหลกั โภชนาการ หรอื ไม่ 10 มกี ารจัดระบบให้นักเรยี น ครู บคุ ลากร และผู้เข้ามาติดตอ่ ในสถานศึกษา ทุกคน ลงทะเบียนไทยชนะตามทร่ี ฐั กำหนดดว้ ย app ไทยชนะ หรือ ลงทะเบียนบนั ทกึ การเขา้ - ออกอยา่ งชัดเจน หรือไม่ 11 มกี ารจัดระบบการตรวจสอบ ดูแล และเฝา้ ระวงั นกั เรยี น ครู บคุ ลากร หรือผูท้ ม่ี าจากพน้ื ที่เสีย่ ง เพอ่ื เข้าสูก่ ระบวนการคดั กรอง หรอื ไม่ 12 มีมาตรการให้นกั เรียน ครู หรอื บุคลากรทมี่ ปี ระวัตสิ มั ผสั ใกลช้ ดิ กบั ผตู้ ิดเชือ้ หรอื ผูส้ มั ผสั เสีย่ งสูง กกั กนั ตัวเอง 14 วนั หรอื ไม่ 13 มกี ารปรบั ปรงุ หอ้ งเรียนใหม้ สี ภาพการใชง้ านได้ดี เปดิ ประตหู น้าตา่ ง ระบายอากาศ ถ่ายเทสะดวก กรณใี ช้เครอื่ งปรบั อากาศ กำหนดเวลา เปิด – ปดิ ประตหู น้าต่างระหวา่ งเวลาพักเที่ยงหรอื ไมม่ กี ารเรียน การสอนและทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ หรือไม่ 14 มีการทำความสะอาดหอ้ งเรยี น หอ้ งเรียนรว่ ม เชน่ หอ้ งคอมพวิ เตอร์ หอ้ งดนตรี อปุ กรณ์กีฬา และอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการเรยี นการสอน กอ่ นและ หลงั ใชง้ านทกุ ครงั้ หรอื ไม่ 15 มกี ารจัดสภาพแวดล้อมบริเวณภายในสถานศึกษาใหส้ ะอาดและปลอดภยั มี การจัดการขยะทเ่ี หมาะสม รวมถึงการดแู ลความสะอาดหอ้ งส้วม หรอื ไม่ 16 มีมาตรการส่งเสริมให้นกั เรยี น ครู และบคุ ลากร รจู้ ักและหมั่นสังเกต อาการเสี่ยงจาก โรคโควิด 19 เชน่ ไข้ ไอ น้ำมูก เจบ็ คอ คอแห้ง อ่อนเพลยี หายใจลำบาก หายใจเร็ว เจบ็ แน่นหนา้ อก เสียการดมกลิน่ ล้ิน ไมร่ บั รส ตาแดง มผี ่นื ทอ้ งเสีย หรอื ไม่ 17 มีมาตรการใหน้ กั เรียน ครู และบุคลากร ประเมนิ ความเสยี่ งของตนเอง ผ่าน Thai save Thai (TST) อยา่ งต่อเน่อื ง หรือไม่ 18 มีมาตรการเฝ้าระวังตรวจคัดกรอง ดว้ ย Antigen Test Kit (ATK) ตามแนวทางที่กำหนด หรอื ไม่ 19 มีมาตรการสนบั สนนุ ให้ครู บุคลากร และฝ่ายสนับสนุน (Support Staff) เข้าถึงการฉีดวคั ซนี มากกว่ารอ้ ยละ 85 หรือไม่ 20 มีห้องพยาบาลหรือมีพื้นท่ีเป็นสัดสว่ นสำหรบั สงั เกตอาการผมู้ ีอาการเสี่ยง หรอื จดั ใหม้ ี School Isolation หรือไม่ ๙

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ขอ้ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ (1) (0) มิตทิ ่ี 2 การเรยี นรู้ ( 1 ) ไม่มที พ่ี ัก และเรอื นนอน 21 มีการติดป้ายประชาสัมพนั ธ์การปฏบิ ัติตนเพอื่ สขุ อนามัยปลอดภัยจากโรค ( 1 ) ไมม่ ี โควิด 19 หรอื ไม่ (เชน่ เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล (D) สวมหนา้ กากผ้า สถานทปี่ ฏบิ ัติ หรือหนา้ กากอนามัย (M) วธิ ีลา้ งมือท่ถี กู ตอ้ ง (H) เปน็ ต้น) ศาสนกจิ 22 มกี ารจัดการเรียนการสอนเกย่ี วกบั โรคและการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด ของโรคโควดิ 19 สอดคลอ้ งตามวัยของผู้เรยี น หรอื ไม่ 23 มีการจดั หาส่อื ความรกู้ ารปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ - 19สำหรบั ประกอบการเรียนการสอน การเรยี นรนู้ อกหอ้ งเรียนในรปู แบบของส่อื ๒๔ มกี ารจัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนตามวัยให้มีความคิดสรา้ งสรรค์นวัตกรรม สุขภาพ และแลกเปลย่ี นเรยี นรบู้ ทเรยี นการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของ โรคโควิด ๑๙ โดย ศกึ ษาคน้ คว้าจากแหล่งความรู้ทางวิชาการ ดา้ นสาธารณสขุ หรอื แหลง่ ข้อมลู เชอ่ื ถอื ได้ หรือไม่ ๒๕ มีนกั เรียนแกนนำดา้ นสุขภาพหรอื ผู้พทิ กั ษอ์ นามยั โรงเรียนอย่างนอ้ ย ห้องเรียนละ ๒ คน เปน็ จิตอาสา อาสาสมคั รเป็นผู้ช่วยครอู นามัยทำหน้าท่ี ดแู ลช่วยเหลอื เฝา้ ระวงั คดั กรองสขุ ภาพ และงานอนามยั โรงเรียน หรือไม่ มิตทิ ี่ 3 การครอบคลุมถึงเด็กดอ้ ยโอกาส ๒๖ มกี ารจดั เตรียมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั สำรองสำหรบั นกั เรียน ทตี่ อ้ งการใช้ หรือไม่ ๒๗ มีมาตรการสนบั สนุนอุปกรณ์ของใช้สขุ อนามัยสว่ นบคุ คลในการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙ สำหรบั กลมุ่ เปราะบาง หรอื ไม่ 28 มีมาตรการสง่ เสรมิ ให้นักเรยี น อายุ 12-18 ปี กลมุ่ เสี่ยงทม่ี นี ้ำหนกั มาก มโี รคประจำตวั 7 กลุ่มโรค หรอื กลมุ่ เปา้ หมาย เขา้ ถึงการฉดี วคั ซีนป้องกัน โควิด 19 ตามแนวทางท่ีรฐั กำหนด หรือไม่ 29 มมี าตรการคดั กรองวดั อณุ หภมู ิ ตรวจ ATK เว้นระยะหา่ ง ทำความสะอาด ทีพ่ กั เรอื นนอน และจดั สภาพแวดล้อมให้ถกู สุขลักษณะ และมตี ารางเวร ทำความสะอาดทกุ วนั หรือไม่ (กรณีมีทพ่ี กั หรือเรือนนอน) 30 มมี าตรการคดั กรองวัดอุณหภมู ิ ตรวจ ATK เวน้ ระยะหา่ ง ทำความสะอาด สถานทีแ่ ละจดั สภาพแวดลอ้ มใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ บญั ญตั ิการปฏิบัติ ดา้ นศาสนกิจและมีตารางเวรทำความสะอาดทุกวนั หรือไม่ (กรณมี สี ถานท่ี ปฏบิ ัติศาสนากจิ ) ๑๐

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ขอ้ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ มิตทิ ่ี 4 สวัสดภิ าพและการคมุ้ ครอง (1) (0) 31 มแี ผนเผชิญเหตุและแนวปฏบิ ัติรองรบั กรณีมผี ้ตู ิดเช้ือในสถานศกึ ษา หรือ (๑) ไมม่ รี ถ ในชมุ ชน และมกี ารซกั ซอ้ มการปฏบิ ัติอยา่ งเข้มงวด หรอื ไม่ รับ-สง่ 32 มกี ารส่อื สารประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มลู ข่าวสารการติดเช้อื และการปฏบิ ตั ติ น นักเรยี น อย่างเหมาะสม เพ่ือลดการรงั เกียจและการตีตราทางสังคม (Social stigma) ตอ่ ผู้ติดเช้อื โควดิ 19 หรือผสู้ ัมผสั เส่ยี งสงู หรอื ไม่ 33 มีแนวปฏิบตั กิ ารจัดการความเครยี ดของครูและบุคลากร หรอื ไม่ 34 มกี ารสำรวจตรวจสอบประวตั เิ ส่ียงและการกกั ตวั ของนกั เรียน ครู และ บุคลากร ก่อนเปิดภาคเรยี น และเข้ามาเรยี น เพือ่ การเฝ้าระวงั ตดิ ตาม หรือไม่ 35 มเี อกสารคมู่ ือมาตรฐานการปฏิบตั ิงานเป็นข้นั ตอน (SOP) ประจำหอ้ ง พยาบาล เก่ยี วกบั แนวปฏบิ ตั กิ ารป้องกัน และกรณพี บผสู้ มั ผสั เส่ียงสงู หรือ ผูต้ ิดเช้อื ยืนยันในสถานศกึ ษาหรือในชมุ ชน หรอื ไม่ มิติท่ี 5 นโยบาย 36 มีนโยบายเนน้ การปฏบิ ัติตามมาตรการสุขอนามัยสว่ นบคุ คล 6 มาตรการ หลัก (DMHT-RC) 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) เป็นลายลกั ษณอ์ ักษร หรอื มหี ลักฐานชดั เจน หรอื ไม่ 37 มนี โยบายการเฝ้าระวงั คัดกรอง ตดั ความเสยี่ ง และสรา้ งภูมคิ ้มุ กัน ดว้ ย 3T1V (TSC Plus , Thai Save Thai , ATK , Vaccine) และถอื ปฏบิ ตั ิได้ หรือไม่ 38 มนี โยบายเขม้ ควบคมุ ดูแลการเดนิ ทางไป-กลบั ของนกั เรียนให้มคี วาม ปลอดภยั (Seal Route) หรือไม่ ๓๙ นโยบายตามมาตรการการปอ้ งกันแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ใน สถานศกึ ษา สอดคล้องตามบริบทพืน้ ท่ี และมีการส่อื สารประชาสัมพนั ธ์ ให้นกั เรยี น ครู และบุคลากร รับทราบอยา่ งท่ัวถึง หรอื ไม่ ๔๐ นโยบายการบรหิ ารจดั การการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื โรคบนรถ รับ - สง่ นักเรยี น อาทิ ทำความสะอาดภายใน – นอกรถกอ่ นและหลังใช้ งาน เว้นระยะห่างทีน่ ง่ั มปี ้ายสัญลักษณ์แสดงทีน่ ง่ั ชดั เจน สวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ขณะอยู่บนรถ มเี จลแอลกอฮอลบ์ นรถ และงด – ลด การพูดคุย หยอกล้อเล่นกนั บนรถ หรือไม่ (กรณรี ถรับ – สง่ นักเรียน) ๑๑

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขอ้ ประเด็น มี ไม่มี หมายเหตุ มติ ิที่ 6 การบรหิ ารการเงิน (1) (0) 41 มีแผนการใชง้ บประมาณสำหรบั เปน็ คา่ ใช้จา่ ยในการดำเนินการป้องกัน การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา หรือไม่ 42 มีการจดั หาวสั ดุอปุ กรณป์ ้องกนั โรคโควดิ 19 เชน่ ATK หน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ อย่างเพียงพอ หรอื ไม่ 43 มีการบรหิ ารจัดการการเงนิ เพอื่ ดำเนินกจิ กรรมการปอ้ งกนั การแพร่ ระบาดของโรคโควดิ 19 ตามความจำเป็นและเหมาะสม หรือไม่ 44 มกี ารจัดหาบุคลากรทำหนา้ ที่เฝ้าระวงั ตรวจสอบ สอดสอ่ งดแู ลสุขภาพ นักเรยี น และจัดการสภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาในชว่ งสถานการณ์ โควิด 19 ผลการประเมนิ เกณฑป์ ระเมิน Ranking สีเขยี ว ผ่านทัง้ หมด 44 ขอ้ สีเหลือง ผา่ นข้อ 1 - 20 ทกุ ข้อ แต่ไม่ผ่าน ข้อ 21 - 44 ข้อใดข้อหนง่ึ สแี ดง ไม่ผา่ น ขอ้ 1 - 20 ขอ้ ใดข้อหนงึ่ การแปลผล หมายถึง โรงเรยี นสามารถเปดิ เรียนได้ • สีเขียว • สเี หลือง หมายถึง โรงเรยี นสามารถเปดิ เรียนได้ แต่ตอ้ งดำเนินการปรบั ปรงุ ใหเ้ ป็นไป ตามมาตรฐานทกี่ ำหนด • สแี ดง หมายถงึ โรงเรยี นไม่สามารถเปิดเรียนได้ ต้องดำเนนิ การปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ ไป ตามมาตรฐานทกี่ ำหนด และ/หรอื ประเมนิ ตนเองซำ้ จนกว่าจะผ่านทัง้ หมด โรงเรียนสามารถเปิดเรียนได้ ลงชือ่ ผปู้ ระเมนิ ………………………………………………….... วันที่ประเมนิ ………………………………......... หมายเหตุ : สถานศึกษาประเมินตนเองเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรียนผ่านระบบ Thai stop covid กรมอนามยั ได้ที่ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th ๑๒

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน QR Code แบบประเมนิ ตนเองสำหรบั สถานศกึ ษาในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนเพ่อื เฝ้าระวงั และป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 เมื่อสถานศึกษาประเมินตนเอง ผ่านการประเมินทั้ง ๔๔ ข้อ จะได้รับใบประกาศรับรองมาตรฐาน จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ดังภาพตวั อย่าง ๒. การเตรยี มการก่อนเปดิ ภาคเรียน สถานศึกษาดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาตามข้อกำหนดตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับท่ี ๓๒) ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School โดยจำแนกประเภทของสถานศกึ ษา ดงั น้ี ๒.๑ มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทพกั นอน มหี ลักเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติอยา่ งเคร่งครัด ๔ องค์ประกอบ ดงั น้ี ๑. องค์ประกอบด้านกายภาพ ลักษณะอาคารและพื้นที่โดยรอบอาคารของสถาบันการศึกษา ประเภทพักนอนหรอื โรงเรียนประจำ ประกอบด้วย ๑.๑ หอพักนักเรียนชาย และ/หรอื หอพักนกั เรยี นหญิง ๑.๒ พืน้ ท/ี่ อาคารสนับสนนุ การบริการ ๑.๓ พืน้ ท่/ี อาคารเพอ่ื จัดการเรียนการสอน ๑.๔ สถานท่ีพกั ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา โดยจดั อาคารและพน้ื ท่ีโดยรอบใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรการท่กี ระทรวงสาธารณสุขกำหนด ๑๓

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ๒. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียน ที่ประสงค์จะดำเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้มีการประชุมหารือ ร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และมีมติให้ความเห็นชอบ ร ่ วม ก ั น ใ น ก า ร จ ั ด พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร เ ร ี ย น ก า ร ส อ น ใ น ร ู ป แ บ บ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนำเสนอโครงการผา่ นต้นสังกดั ในพนื้ ที่ แล้วขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ โรคติดตอ่ กรงุ เทพมหานคร หรอื คณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวดั ๓. องค์ประกอบด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรียน หรือสถานศึกษาต้อง เตรยี มการประเมนิ ความพรอ้ ม ดงั นี้ โรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษา ตอ้ งดำเนนิ การ ๓.๑ ต้องประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID ๓.๒ ต้องจัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สำหรับรองรับการดูแล รักษาเบ้ืองต้นกรณีนักเรยี น ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิด ๑๙ หรือผลตรวจคัดกรอง หาเชื้อเป็นบวก รวมถึงมีแผนเผชิญเหตุและมีความร่วมมือกับสถานพยาบาลเครือข่ายในพื้นที่ที่ดูแล อย่างใกลช้ ิด ๓.๓ ตอ้ งจดั อาคารและพ้นื ทโ่ี ดยรอบใหเ้ ปน็ อาณาเขตในรปู แบบ Sandbox ในโรงเรียน ดังน้ี ๑) Screening Zone จัดพื้นที่หรือบรเิ วณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ที่เหมาะสม จัดจุดรับ-สง่ สิ่งของ จุดรับ-สง่ อาหาร หรือจุดเสีย่ งอื่น เป็นการจำแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และผูม้ าติดตอ่ ที่เข้ามาในโรงเรียน ไม่ให้ใกล้ชิดกับบุคคลในโซนอื่น รวมถึงจัดให้มีพื้นที่ปฏิบัติงานเฉพาะบุคลากร ท่ีไมส่ ามารถเข้าปฏิบตั งิ านในโซนอ่นื ได้ ๒) Quarantine Zone จัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดกักกัน และสังเกตอาการ สำหรับนักเรียน ครู และ บุคลากรท่ียังตอ้ งสงั เกตอาการ เน้นการจัดกจิ กรรมแบบ Small Bubble ๓) Safety Zone จัดเป็นพื้นที่ปลอดเชื้อ ปลอดภัย สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรที่ปฏิบัติภารกิจ กจิ กรรมแบบปลอดภยั ๓.๔ ตอ้ งมีระบบ/แผนรับการตดิ ตามประเมนิ ความพรอ้ ม โดยทมี ตรวจราชการ บูรณาการร่วมกัน ระหวา่ งกระทรวงศึกษาธิการกับกระทรวงสาธารณสุข ทง้ั ชว่ งกอ่ น และระหว่างดำเนนิ การ นักเรยี น ครู และบคุ ลากร ต้องปฏิบตั ิ ๑) ครู และบุคลากร ต้องได้รับการฉีดวัคซีนครบโดส ตั้งแต่รอ้ ยละ ๘๕ ขึ้นไป ส่วนนักเรียน และ ผู้ปกครองควรได้รับวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะสถานศึกษาที่อยู่ในพื้นท่ี ควบคุมสูงสุด (พ้ืนทสี่ ีแดง) และพนื้ ที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พืน้ ทีส่ แี ดงเข้ม) ๒) นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนหรือสถานศึกษา ทุกคนต้องตรวจคัดกรอง หาเช้ือ ด้วยวิธกี ารทเี่ หมาะสม ก่อนเข้า Quarantine Zone ๑๔

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ๓) นักเรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา มีการแยกกกั ตัว สังเกตอาการใหค้ รบกำหนด ๑๔ วัน ก่อนเข้าสู่ Safety Zone (กรณีย้ายมาจาก State Quarantine ให้พิจารณาลดจำนวนวันกักตัวลง ตามความเหมาะสม ๗-๑๐ วัน) รวมถึงการทำกิจกรรมในแบบ Small Bubble และหลีกเลี่ยงการทำ กิจกรรมขา้ มกลุ่มกัน ๔) ถ้านักเรียน ครู และบุคลากรมีอาการเข้าข่าย (Inclusion Criteria) กับการติดเชื้อโควิด ๑๙ หรอื สมั ผัสกลุ่มเสย่ี งสงู ใหด้ ำเนนิ การตรวจคัดกรองหาเช้ือดว้ ยวิธีทีเ่ หมาะสม โดยเฉพาะกลมุ่ ท่ไี มไ่ ด้รบั วัคซนี ตามเกณฑ์พร้อมทั้งรายงานผลการตรวจกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ทันที และปฏิบัติตามแผนเผชญิ เหตกุ รณีมีผลตรวจเปน็ บวก ๔. องค์ประกอบด้านการดำเนินการของโรงเรียนหรือสถานศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา ต้องดำเนนิ การ ดังน้ี ๔.๑ โรงเรียนหรือสถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนได้ ทั้งรูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) ๔.๒ นักเรยี น ครู และบุคลากร ทกุ คนตอ้ งประเมิน Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ ำแนก ตามเขตพื้นท่กี ารแพร่ระบาด ๔.๓ ให้มีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวิธีการที่เหมาะสม ทั้งนักเรียน ครู และบุคลากร ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับสถานศึกษา เพอ่ื เฝา้ ระวังตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพน้ื ทก่ี ารแพร่ระบาด ๔.๔ ปฏิบตั ิตามมาตรการสขุ อนามัยส่วนบุคคลอยา่ งเขม้ ขน้ ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT- RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) ๔.๕ ปฏิบตั ติ ามแนวทางมาตรการเข้มสำหรบั สถานศกึ ษาอยา่ งเครง่ ครดั ดงั น้ี ๔.๕.๑ สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมินผลผา่ น MOECOVID โดยถือปฏิบตั อิ ยา่ งเข้มข้น ต่อเนือ่ ง ๔.๕.๒ ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ขา้ มกลุ่มกนั และจัดนักเรียนในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกนิ ๒๕ คน หรือจดั ใหเ้ วน้ ระยะห่าง ระหว่างนักเรียนในห้องเรียนไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการ โรคติดต่อจงั หวดั ๔.๕.๓ จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลกั มาตรฐานสขุ าภิบาลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทเิ ช่น การจัดซือ้ จัดหาวตั ถดุ บิ จากแหลง่ อาหาร การปรุงประกอบอาหาร หรือการสั่งซื้ออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะ และต้องมรี ะบบตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบริโภค ๔.๕.๔ จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพน้ำอุปโภคบริโภค และการจัดการขยะ ๔.๕.๕ จัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยกกักตัว ชั่วคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากร ในสถานศึกษามกี ารติดเช้อื โควดิ ๑๙ หรอื ผลตรวจคดั กรองหาเชื้อเป็นบวก โดยมกี ารซักซ้อมอย่างเครง่ ครดั ๑๕

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ๔.๕.๖ ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อยา่ งเข้มข้น โดยหลีกเลีย่ งการเข้าไปสมั ผสั ในพ้นื ทต่ี ่าง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง ๒.2 มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไป-กลับ สำหรับโรงเรียนหรอื สถาบนั การศึกษาประเภทไป-กลับ ทมี่ คี วามพร้อมและผ่านเกณฑ์การประเมนิ มหี ลกั เกณฑ์ที่ตอ้ งปฏิบัติอยา่ งเครง่ ครัด ๔ องค์ประกอบ ดังนี้ ๑. องค์ประกอบด้านกายภาพ ลักษณะอาคารและพื้นที่โดยรอบอาคารของโรงเรียน หรอื สถาบันการศกึ ษา ประกอบด้วย ๑.๑ พน้ื ท/่ี อาคารสนับสนนุ การบรกิ าร ๑.๒ พ้นื ที/่ อาคารเพือ่ จัดการเรียนการสอน โดยจัดอาคารและพืน้ ท่โี ดยรอบให้เป็นพนื้ ทปี่ ฏิบัตงิ านท่ปี ลอดภยั และมพี นื้ ท่ีทเ่ี ปน็ Covid free Zone ๒. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียน หรือสถานศึกษาที่ประสงค์จะดำเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้ มีการประชุมหารือรว่ มกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ครู ผู้ปกครอง ผนู้ ำชุมชน และมีมติให้ ความเห็นชอบร่วมกันในการจัดพื้นที่การเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศกึ ษา ก่อนนำเสนอโครงการผ่านตน้ สังกัดในพื้นที่ แลว้ ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ โรคติดตอ่ กรงุ เทพมหานคร หรอื คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั ๓. องค์ประกอบด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้อง เตรียมการประเมินความพรอ้ ม ดงั น้ี ๓.๑ โรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษา ต้องดำเนินการ ๑) ต้องผ่านการประเมินความพรอ้ มผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผล ผา่ น MOECOVID ๒) ต้องจัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยกกักตัว ชั่วคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากร ในสถานศึกษากรณีมีการติดเชื้อโควิด ๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเชื้อเป็นบวก โดยมีการซักซ้อม อยา่ งเครง่ ครัด โดยมคี วามรว่ มมือกับสถานพยาบาลเครือข่ายในพ้ืนท่ที ีด่ แู ลอยา่ งใกลช้ ิด ๓) ต้องควบคุมดูแลการเดินทางระหว่างบ้านกับโรงเรียนอย่างเข้มข้น โดยหลีกเลี่ยง การเข้าไปสมั ผัสในพื้นที่ต่างๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง ๔) ต้องจัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง ( Screening Zone) ที่เหมาะสม จัดจุดรับ-ส่งสิ่งของ จุดรับ-ส่งอาหาร หรือจุดเสี่ยงอื่น เป็นการจำแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และผ้มู าตดิ ตอ่ ท่ีเขา้ มาในโรงเรยี น ๕) ต้องมรี ะบบ และแผนรบั การติดตามประเมินความพร้อม โดยทมี ตรวจราชการบรู ณาการ ร่วมกันระหวา่ งกระทรวงศึกษาธกิ าร และกระทรวงสาธารณสขุ ทงั้ ช่วงกอ่ น และระหว่างดำเนินการ ๑๖

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ๓.๒ นกั เรียน ครู และบคุ ลากร ตอ้ งปฏิบตั ิ ๑) ครู และบุคลากร ต้องได้รับการฉีดวัคซีนครบโดส ตั้งแต่ร้อยละ ๘๕ ขึ้นไป ส่วนนักเรียนและผู้ปกครองควรได้รับวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะสถานศึกษา ทอ่ี ยู่ในพื้นทคี่ วบคุมสงู สุด (พนื้ ท่ีสีแดง) และพน้ื ทค่ี วบคมุ สงู สุดและเข้มงวด (พื้นทส่ี ีแดงเข้ม) ๒) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษามีการทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble และหลีกเล่ียงการทำกิจกรรมข้ามกลุม่ กัน โดยเฉพาะพ้ืนที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพื้นท่ี ควบคุมสงู สุดและเขม้ งวด (พื้นท่สี แี ดงเขม้ ) ๓) ถ้านักเรียน ครู และบุคลากรมีอาการเข้าข่าย (Inclusion Criteria) กับการติดเช้ือ โควิด ๑๙ หรือสัมผัสกลุ่มเสีย่ งสูงให้ดำเนินการตรวจคดั กรองหาเชื้อด้วยวิธีที่เหมาะสม โดยเฉพาะกล่มุ ท่ี ไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์พร้อมทั้งรายงานผลการตรวจกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ทันที และปฏิบัติ ตามแผนเผชิญเหตุกรณมี ีผลตรวจเป็นบวก ๔. องค์ประกอบด้านการดำเนินการของโรงเรียน หรือสถานศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา ต้องดำเนนิ การ ดังน้ี ๔.๑ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ทั้งรูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) ๔.๒ นักเรยี น ครู และบุคลากรที่อยูใ่ นพื้นทตี่ ้องประเมนิ Thai Save Thai (TST) อย่างต่อเนอื่ ง ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพ้นื ท่กี ารแพรร่ ะบาด ๔.๓ นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษามีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อเป็นระยะ ตามแนวทางของคณะกรรมกรรมการควบคุมโรคระดับจังหวดั กำหนด ๔.๔ ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) ๔.๕ นักเรียน ครู และบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เขียนบันทึก Timeline กิจกรรม ประจำวันและการเดนิ ทางเขา้ ไปในสถานทตี่ ่าง ๆ แต่ละวนั อยา่ งสม่ำเสมอ ๔.๖ ปฏิบัติตามแนวทาง ๗ มาตรการเข้มงวดสำหรับสถานศึกษาประเภทไป-กลับ อย่างเครง่ ครดั ๔.๖.๑ สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมินผลผ่าน MOECOVID โดยถือปฏบิ ตั ิอยา่ งเข้มขน้ ต่อเนอ่ื ง ๔.๖.๒ ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ขา้ มกลมุ่ กัน และจัดนักเรียนในห้องเรยี นขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไมเ่ กนิ ๒๕ คน หรอื จดั ให้เวน้ ระยะห่าง ระหว่างนักเรียนในห้องเรียนไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการ โรคติดตอ่ จงั หวดั ๔.๖.๓ จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลกั มาตรฐานสุขาภบิ าลอาหาร และหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจดั ซ้ือจัดหาวัตถุดบิ จากแหลง่ อาหาร การปรุงประกอบอาหาร หรือการสั่งซื้ออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะ และ ตอ้ งมีระบบตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนำมาบรโิ ภค ๑๗

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ๔.๖.๔ จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คณุ ภาพน้ำอุปโภคบรโิ ภค และการจัดการขยะ ๔.๖.๕ จัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยกกัก ชั่วคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากร ในสถานศกึ ษามกี ารติดเชื้อโควิด ๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเช้ือเปน็ บวก โดยมกี ารซักซอ้ มอย่างเครง่ ครัด โดยมีความรว่ มมอื กบั สถานพยาบาลเครือข่ายในพืน้ ทท่ี ี่ดแู ลอยา่ งใกลช้ ิด ๔.๖.๖ ควบคมุ ดูแลการเดนิ ทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลีกเลยี่ งการเข้าไปสมั ผัสในพื้นท่ีตา่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดินทางจากบ้านไป-กลบั โรงเรียน ทงั้ กรณีรถ รบั -ส่งนักเรียน รถสว่ นบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ ๔.๖.๗ ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซ่งึ ประกอบด้วยขอ้ มลู ผลการประเมนิ TST ผลตรวจคัดกรองหาเช้ือ ตามแนวทางคณะกรรมการควบคมุ โรค ระดับพื้นท่ี และประวตั ิการรับวัคซนี ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ โดยเฉพาะพ้ืนท่คี วบคุมสูงสุด (พ้ืนทีส่ แี ดง) และพืน้ ทค่ี วบคมุ สงู สดุ และเข้มงวด (พน้ื ทส่ี ีแดงเขม้ ) ๔.๗ กรณีสถานศึกษาตั้งอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพื้นที่ควบคุมสูงสุด และเข้มงวด (พื้นที่สีแดงเข้ม) กำหนดให้สถานประกอบกิจการ กิจกรรม ที่อยู่รอบรั้วสถานศึกษา ให้ผ่านการประเมิน Thai Stop Covid Plus (TSC+) Covid Free Setting โดยให้มีการกำกับร่วมกับ คณะกรรมการโรคติดตอ่ ระดบั พ้ืนที่ 2.3 มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School สำหรบั โรงเรียนหรือสถานศึกษาอ่ืน สถานศึกษาดำเนินการตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง หลกั เกณฑ์การเปดิ โรงเรียนหรือ สถาบันการศึกษาตามข้อกำหนดตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับท่ี ๓๒) ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School โดยจำแนกประเภทของสถานศกึ ษา ๒ ประเภท ได้แก่ ประเภทพักนอน และ ประเภทไป-กลับเท่านั้น เนื่องจากโรงเรียนหรือสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน มีประเภทโรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษาทีม่ ีลกั ษณะทแี่ ตกตา่ ง เช่น ๑. ประเภทพกั นอนและไป-กลับ ๒. ขนาดโรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ๓. ระดับการจดั การเรียนการสอน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ๔. สถานศึกษาที่นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การฉีดวัคซนี หรือยังไม่ได้ รับการฉีดวัคซีน หรือไดร้ ับการฉีดวคั ซนี บางสว่ น และ ๕. โรงเรยี นหรือสถานศึกษา ลักษณะอ่ืน ๆ โรงเรยี น หรอื สถานศึกษา ตอ้ งดำเนนิ การ ดงั น้ี ๑. ต้องปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ที่กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดอย่างเครง่ ครดั ครบทง้ั ๔ องค์ประกอบ ๑๘

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒. กรณีโรงเรียนหรือสถานศกึ ษาเปน็ ประเภทพกั นอนและไป-กลบั ต้องนำมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School มาบูรณาการในการปฏิบัติระหว่างประเภทพักนอน และประเภทไป- กลับ อย่างเครง่ ครัด หมายเหตุ มาตรการและแนวทางปรับตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ขึ้นอยู่กับ คณะกรรมการควบคมุ โรคจงั หวดั หรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรงุ เทพมหานครกำหนด ทั้งนี้ โรงเรียน หรือ สถานศึกษาทุกประเภท ทุกลักษณะ ที่ประสงค์จะขอเปดิ การเรียนการสอน โดยดำเนินการตามรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School และเสนอขออนุมัติเปิดเรียนต่อผู้แทน กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขในพื้นท่ีพิจารณา และเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด โดยต้องจัดทำแผนงานและแสดงความพร้อม การดำเนนิ การตามองค์ประกอบขอ้ ๑-๔ ให้ครบถว้ น สรุปตารางมาตรการในโรงเรียนหรือสถาบนั การศกึ ษา จำแนกตามเขตพ้นื ที่การแพร่ระบาด ลำดับ เขตพนื้ ที่ มาตรการ ATK การเข้าถงึ วคั ซีน ประเมิน การแพรร่ ะบาด ความเส่ียง (TST) พื้นที่เฝ้าระวัง ๑. เขม้ ๖ มาตรการหลัก\" (DMHT-RC) - ครู บคุ ลากร ≥๘๕% ๑ วนั ต่อสัปดาห์ ๑ (พ้นื ที่สีเขียว) และ ๖ มาตรการเสริม** (SSET-CQ) ๒. เข้ม ๗ มาตรการเข้มสำหรับ สถานศึกษา** พ้นื ท่ีเฝ้าระวงั สูง ๑ คร้ัง / ครู บุคลากร ๑ วันต่อสัปดาห์ ๒ (พ้นื ที่สเี หลือง) มาตรการข้อ ๑ ถึง ๒ ๒ สปั ดาห์ ≥๘๕% ๓ พน้ื ทคี่ วบคมุ มาตรการข้อ ๑ ถงึ ๒ ๑ คร้ัง / ครู บุคลากร วันตอ่ สปั ดาห์ (พืน้ ทสี่ สี ม้ ) ๒ สัปดาห์ ≥๘๕% ๑. มาตรการขอ้ ๑ ถงึ ๒ และ ๓ ๑ -๒ ครัง้ ครู บุคลากร ๒. สถานประกอบกิจการ กจิ กรรม รอบรัว้ / สัปดาห์ ๘๕ - ๑๐๐% สถานศึกษาในระยะ ๑๐ เมตร ตอ้ งผ่าน รวมถึงนกั เรียนตาม ๔ พ้นื ทีค่ วบคมุ การประเมนิ TSC+ COVID free setting มาตรการ ๓ วนั ตอ่ สปั ดาห์ สงู สุด ๓. School Pass สำหรบั เดก็ นักเรยี น ครู ของ (พ้นื ทส่ี แี ดง) และบคุ ลากร กระทรวง สาธารณสุข ๔. จดั กลุ่มนักเรยี นตอ่ ห้องเรียนขนาดปกติ ไม่ควรมีนักเรียนเกิน ๒๕ คน พื้นที่ควบคมุ ครู บคุ ลากร ๘๕ - ๑๐๐% 5 สงู สดุ และ มาตรการข้อ ๑ ถงึ ๔ ๒ ครง้ั / ทุกวัน เขม้ งวด สัปดาห์ รวมถึงนกั เรยี นตาม มาตรการ (พืน้ ทสี่ ีแดงเข้ม) ของ กระทรวง สาธารณสขุ ๑๙

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สรปุ มาตรการ ๖ หลัก ๖ เสริม ๗ เข้มงวด ๖ มาตรการเสรมิ ** (SSET-CQ) ๑. Self-care ดูแลตนเอง ๖ มาตรการหลัก* (DMHT-RC) ๒. Spoon ใช้ชอ้ นกลางสว่ นตัว ๑. Distancing เวน้ ระยะหา่ ง ๓. Eating กนิ อาหารปรงุ สกุ ใหม่ ๒. Mask wearing สวมหน้ากาก ๔. Track ลงทะเบียนเข้าออกโรงเรยี น ๓. Hand washing ล้างมอื ๕. Check สำรวจตรวจสอบ ๔.Testing คัดกรองวดั ใช้ ๖. Quarantine กกั กันตัวเอง ๕. Reducing ลดการแออัด ๖. Cleaning ทำความสะอาด ๗ มาตรการเข้มงวดสำหรบั สถานศึกษา** ๑. สถานศกึ ษาประเมนิ ความพร้อมเปิดเรยี นผ่าน TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมนิ ผล ผ่าน MOECOVID โดยถอื ปฏบิ ัติอย่างเขม้ ข้น ต่อเนอื่ ง ๒. ทำกจิ กรรมรว่ มกนั ในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลยี่ งการทำกจิ กรรมขา้ มกลมุ่ ๓. จัดระบบการใหบ้ รกิ ารอาหารตามหลกั สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ ๔. จดั การด้านอนามัยส่ิงแวดลอ้ มให้ได้ตามเกณฑม์ าตรฐาน ไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำ ความสะอาด คณุ ภาพน้ำอุปโภคบรโิ ภค และ การจดั การขยะ ๕. จดั ให้มี School Isolation มีแผนเผชิญเหตุ และมกี ารชกั ซอ้ มอย่างเครง่ ครัด ๖. ควบคุมดแู ลการเดินทางจากบ้านไปโรงเรียน (Seal Route) กรณรี ถรับ-สง่ นักเรยี น รถส่วนบคุ คล และ พาหนะโดยสารสาธารณะ ๗. จัดใหม้ ี School Pass สำหรบั นกั เรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ๒๐

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒๑

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน สว่ นท่ี ๓ แนวปฏิบัตริ ะหวา่ งเปิดภาคเรยี น ในระหว่างเปิดเรียนสถานศึกษาต้องปฏิบัติตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขและ กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา เป็นสำคัญ เป็น ๒ กรณี ดงั นี้ ๑. กรณีเปิดเรียนได้ตามปกติ (Onsite) สถานศกึ ษาตอ้ งปฏบิ ัติ ดงั นี้ มาตรการ แนวทางการปฏบิ ัติ ๖ หลัก ๖ มาตรการหลกั ๖ เสรมิ ๑. Distancing เว้นระยะห่าง เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย ๑-๒ ๗ เข้มงวด เมตร ๒. Mask Wearing สวมหน้ากาก สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา ๓. Hand washing ล้างมือ ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ นาน ๒๐ วินาที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ ๔. Testing คัดกรองวัดไข้ วัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สมั ผัสเสี่ยงทุกคน กอ่ นเขา้ สถานศึกษา ๕. Reducing ลดการแออดั ลดเขา้ ไปในพน้ื ท่เี สย่ี ง กลุม่ คนจำนวนมาก ๖. Cleaning ทำความสะอาด ทำความสะอาดบริเวณพื้นผิวสัมผัสร่วม อาทิ ท่จี ับประตู ลูกบิดประตู ราวบันได ปมุ่ กดลิฟต์ ๖ มาตรการเสริม ๑. Self care ดแู ลตนเอง ดแู ลใส่ใจ ปฏบิ ัตติ น มวี นิ ัย รบั ผิดชอบตัวเอง ปฏิบัติ ตามมาตรการอยา่ งเครง่ ครดั ๒. Spoon ใช้ช้อนกลางส่วนตัว ใช้ช้อนกลางของตนเองทุกครั้ง เมื่อต้อง รับประทานอาหารรว่ มกนั ลดสมั ผัสรว่ มกบั ผอู้ น่ื ๓. Eating รับประทานอาหารปรุงสุกใหม่ กินอาหารปรุงสกุ ใหม่ร้อน ๆ กรณี อาหารเกบ็ เกิน ๒ ชม. ควรนำมาอ่นุ ให้รอ้ นทัว่ ถงึ กอ่ นกินอกี ครง้ั ๔.Thai Chana ไทยชนะ ลงทะเบียนตามทรี่ ัฐกำหนดดว้ ย APP ไทยชนะ หรอื ลงทะเบียนบันทกึ การเข้า - ออกอย่างชดั เจน ๕. Check สำรวจ ตรวจสอบ สำรวจบคุ คล นกั เรยี น กลมุ่ เสย่ี งที่เดินทางมาจาก พืน้ ทเ่ี ส่ยี ง เพอ่ื เข้าสกู่ ระบวนการคดั กรอง ๖. Quarantine กักกันตัวเอง กกั กนั ตวั เอง ๑๔ วนั เม่ือเขา้ ไปสมั ผัสหรอื อยู่ใน พื้นที่เสีย่ งทม่ี ีการระบาดโรค ๒๒

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มาตรการ แนวทางการปฏบิ ัติ ๗ มาตรการเขม้ งวด ๑. สถานศกึ ษาผ่านการประเมนิ TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมนิ ผล ผา่ น MOECOVID โดยถอื ปฏิบัติอยา่ งเข้มข้น ตอ่ เนอ่ื ง 2. ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ข้ามกลุ่มและจดั นกั เรียนในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไม่เกิน ๒๕ คน หรอื จัดให้เว้น ระยะหา่ งระหว่างนกั เรียนในหอ้ งไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสม โดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัด 3. จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร ในสถานศึกษาตามหลักมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจดั ซอ้ื จัดหาวตั ถดุ บิ จากแหลง่ อาหาร การปรงุ ประกอบอาหาร หรอื การสงั่ ซอื้ อาหาร ตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและต้องมีระบบตรวจสอบทาง โภชนาการก่อนนำมาบริโภค ๔. จัดการดา้ นอนามยั สงิ่ แวดลอ้ มให้ได้ตามแนวปฏิบัตดิ ้านอนามัยส่ิงแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพน้ำอุปโภคบรโิ ภค และการจดั การขยะ ๕. จัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นที่แยก กักชว่ั คราว รวมถงึ แผนเผชญิ เหตุสำหรบั รองรบั การดูแลรกั ษาเบ้อื งต้น กรณีนักเรยี น ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิด ๑๙ หรือผลการตรวจคัดกรองหาเช้ือ เป็นบวก โดยมกี ารซกั ซอ้ มอยา่ งเครง่ ครดั โดยมคี วามรว่ มมอื กบั สถานพยาบาลเครือขา่ ย ในพืน้ ที่ทด่ี แู ลอยา่ งใกล้ชิด ๖. ควบคุมดูแลการเดินทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสในพื้นที่ต่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง จากบา้ นไป-กลับโรงเรียน ทั้งกรณีรถรบั -สง่ นกั เรยี น รถสว่ นบุคคล และพาหนะโดยสาร สาธารณะ ๗. ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล ผลการประเมิน TST ผลตรวจตัดกรองหาเชื้อ ตามแนวทาง คณะกรรมการควบคุมโรคระดับพื้นที่ และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการของ กระทรวงสาธารณสุขโดยเฉพาะพ้ืนที่ควบคมุ สงู สุด (พน้ื ทส่ี แี ดง) และพน้ื ทีค่ วบคุมสูงสุด และเขม้ งวด (พนื้ ทส่ี ีแดงเข้ม) ๒๓

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มาตรการ แนวทางการปฏิบัติ แนวปฏบิ ตั ิ ๑. การระบายอากาศภายในอาคาร ด้านอนามยั - เปิดประตหู น้าต่างระบายอากาศกอ่ นและหลงั การใชง้ าน อยา่ งนอ้ ย ๑๕ นาที สิง่ แวดล้อม หนา้ ตา่ งหรือ ชอ่ งลม อย่างนอ้ ย ๒ ดา้ นของหอ้ ง ใหอ้ ากาศภายนอกถา่ ยเท ในการ เขา้ สูภ่ ายในอาคาร ป้องกนั โรค - กรณใี ช้เครอื่ งปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลงั การอย่างนอ้ ย โควิด ๑๙ ๒ ชัว่ โมง หรือเปดิ ประตูหนา้ ตา่ งระบายอากาศช่วง พกั เที่ยงหรอื ช่วงท่ไี มม่ ี ใน การเรียนการสอน กำหนดเวลาเปิด-ปดิ เคร่อื งปรบั อากาศ และทำความสะอาด สถานศกึ ษา สม่ำเสมอ ๒. การทำความสะอาด - ทำความสะอาดวสั ดุสง่ิ ของดว้ ยผงชักฟอกหรอื น้ำยาทำความสะอาด และล้างมอื ดว้ ยสบแู่ ละน้ำ - ทำความสะอาดและฆา่ เชอื้ โรคบนพน้ื ผิวทวั่ ไป อุปกรณ์สัมผัสร่วม เชน่ หอ้ งน้ำ หอ้ งส้วม ลูกบิด ประตู รโี มทคอนโทรล ราวบนั ได สวติ ชไ์ ฟ (ปุ่มกดลฟิ ท์ จุดนำ้ ดื่ม เปน็ ตน้ ด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% นาน ๑๐ นาที และฆ่าเช้อื โรคบนพน้ื ผิววัสดุแข็ง เช่น พื้นกระเบื้อง เซรามิค สแตนเลส ด้วยน้ำยาฟอกขาว หรือโซเดียม ไฮโปคลอไรท์ ๐.๑% นาน ๕ - ๑๐นาที อยา่ งนอ้ ยวันละ ๒ คร้ัง และอาจเพิ่ม ความถ่ีตามความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาท่มี ีผใู้ ชง้ านจำนวนมาก ๓. คณุ ภาพนำ้ อุปโภคบรโิ ภค - ตรวจดคู ุณลกั ษณะทางกายภาพ สี กลิ่น และไมม่ สี ่งิ เจอื ปน - ดแู ลความสะอาดจดุ บริการน้ำด่ืมและภาชนะบรรจุนำ้ ด่ืมทกุ วนั (ไมใ่ ชแ้ กว้ นำ้ ด่มื รว่ มกันเดด็ ขาด) - ตรวจคุณภาพนำ้ เพอื่ หาเชอื้ แบคทีเรียดว้ ยชดุ ตรวจภาคสนามทุก ๖ เดือน ๔. การจัดการขยะ - มีถงั ขยะแบบมฝี าปิดสำหรับรองรบั สิง่ ของที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ประจำห้องเรียน อาคารเรยี น หรือบริเวณโรงเรียนตามความเหมาะสม และมกี ารคดั แยก-ลดปรมิ าณขยะ ตาม หลัก 3R (Reduce Reuse Recycle) - กรณขี ยะเกิดจากผสู้ มั ผสั เสี่ยงสงู / กกั กันตัว หรอื หนา้ กากอนามัยทใ่ี ช้แลว้ นำ ใส่ในถงุ ก่อนทิ้งให้ราดดว้ ยแอลกอฮอล์ หรือ ๗๐% น้ำยาฟอกขาว ๒ ฝา ลงในถงุ มัดปากถุงให้แน่น ซ้อนด้วยถุงอีก ๑ ชั้น ปิดปากถุงให้สนิท และฉีดพ่นบริเวณ ปากถงุ ด้วยสารฆา่ เชอื้ แล้วท้ิงในขยะทวั่ ไป ๒๔

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มาตรการ แนวทางการปฏบิ ัติ การใชอ้ าคาร ในการพจิ ารณาอนญุ าตใหใ้ ช้อาคารสถานทีเ่ พ่อื การสอบ การฝกึ อบรม หรอื การทำ สถานทีข่ อง กิจกรรมโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ขออนุญาตต้องจัดทำมาตรการเพื่อเสนอตอ่ สถานศึกษาเพ่อื การ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดซึ่งจะ สอบ การฝกึ อบรม พิจารณาตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยคณะกรรมการโรคติดต่อ หรือทำกิจกรรมใดๆ กรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด จะพิจารณาร่วมกับผู้แทน ที่มผี เู้ ขา้ ร่วม กระทรวงศกึ ษาธกิ ารที่เกี่ยวข้อง โดยมแี นวปฏิบตั ิ ดงั น้ี กิจกรรมจำนวนมาก ๑. แนวปฏิบัติดา้ นสาธารณสุข ๑.๑ กำหนดจุดคัดกรองช่องทางเข้าออก หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มีน้ำมูก หรือ เหนื่อยหอบ หรือมีอุณหภูมิร่างกายเท่ากับหรือมากกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ขึ้นไป แจง้ งดใหเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม และแนะนำไปพบแพทย์ และอาจมหี อ้ งแยกผ้ทู ่ีมีอาการออก จากพน้ื ที่ ๑.๒ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และผู้มาติดต่อ ต้องสวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาที่เข้าร่วมกจิ กรรม ๑.3 จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ หรือ จุดล้างมือ สำหรับทำความสะอาดมือไว้บริการ บริเวณต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เช่น บริเวณหน้าห้องประชุม ทางเข้าออก หน้าลิฟต์ จดุ ประชาสัมพันธ์ และพน้ื ท่ที ี่มีกิจกรรมอน่ื ๆ เปน็ ตน้ ๑.4 จัดบริการอาหารในลักษณะที่ลดการสัมผัสอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น จัดอาหาร วา่ งแบบกล่อง (Box Set) อาหารกลางวนั ในรปู แบบอาหารชดุ เด่ยี ว (Course Menu) ๑.5 กรณีที่มีการจัดให้มีรถรับส่งผู้เข้าร่วมกิจกรรม ให้เว้นระยะห่าง ๑ ที่น่ัง ทำความสะอาดรถรับสง่ ทกุ รอบหลงั ให้บริการ ๑.6 กำกับใหน้ ักเรียนนงั่ โดยมกี ารเวน้ ระยะห่างระหวา่ งทน่ี ง่ั และทางเดนิ อย่างนอ้ ย ๑.๕ เมตร ๑.7 จัดให้มีถังขยะที่มีฝาปิด เก็บรวบรวมขยะ เพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง และ การจัดการขยะท่ดี ี ๑.8 จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคารที่ดี มีการหมุนเวียนของอากาศ อย่างเพียงพอทั้งในอาคารและห้องส้วม และทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศ สม่ำเสมอ ๑.9 ให้ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อทั่วทั้งบริเวณ และเน้นบริเวณที่มักมีการสัมผัส หรือใช้งานร่วมกันบ่อย ๆ ด้วยน้ำยาฟอกขาวที่เตรียมไว้ หรือแอลกอฮอล์ 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% เช็ดทำความสะอาดและฆ่าเชือ้ อยา่ งน้อยวนั ละ 2 คร้ัง ทำความสะอาดหอ้ งส้วมทุก 2 ชั่วโมงและอาจเพ่ิมความถีต่ ามความเหมาะสมโดยเฉพาะ เวลาท่ีมีผูใ้ ช้งานจำนวนมาก ๑.10 มมี าตรการติดตามข้อมูลของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม เชน่ การใชแ้ อปพลิเคชันหรือ ใช้มาตรการควบคุมการเขา้ ออกด้วยการบนั ทึกขอ้ มูล ๒๕

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน มาตรการ แนวทางการปฏบิ ัติ ๑.11 มกี ารจดั การคณุ ภาพนำ้ อปุ โภคบรโิ ภคท่ีเหมาะสม ๑.๑๑.๑ จดั ใหม้ ีจุดบรกิ ารนำ้ ดมื่ 1 จุด หรือหวั ก๊อกตอ่ ผบู้ ริโภค 75 คน ๑.๑๑.๒ ตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ ดื่มน้ำใช้ ๑.๑๑.๓ ดูแลความสะอาดจุดบริการน้ำดื่ม ภาชนะบรรจุน้ำดื่ม และใช้แก้วน้ำ ส่วนตัว ๒. แนวทางปฏบิ ตั สิ ำหรบั ผู้จดั กิจกรรม ๒.1 ควบคุมจำนวนผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ไม่ให้แออัด โดยคิดหลักเกณฑ์จำนวนคนตอ่ พื้นที่จัดงาน ไม่น้อยกว่า ๔ ตารางเมตรต่อคน พิจารณาเพิ่มพื้นที่ทางเดินให้มีสัดส่วน มากขน้ึ ๒.๒ จำกัดจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และกระจายจุดลงทะเบียนใหเ้ พียงพอสำหรับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อลดความแออัด โดยอาจใช้ระบบการประชุมผ่านสื่อ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ใชก้ ารสแกน QR Code ในการลงทะเบียนหรอื ตอบแบบสอบถาม ๒.๓ ประชาสัมพนั ธ์มาตรการ คำแนะนำในการป้องกนั การแพร่ระบาดให้แกผ่ ู้เขา้ รว่ ม กจิ กรรมทราบ ๓. แนวทางปฏิบัตสิ ำหรับผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๓.๑ สงั เกตอาการตนเองสมำ่ เสมอ หากมีไข้ ไอ จาม มนี ้ำมูก หรอื เหนื่อยหอบ ให้งด การเขา้ รว่ ม กิจกรรมและพบแพทยท์ ันที ๓.๒ สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย เวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คลอย่างน้อย ๑ - ๒ เมตร งดการรวมกลมุ่ และลดการพดู คุยเสียงดงั ๓.๓ ลา้ งมือด้วยสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอลบ์ ่อย ๆ ก่อนและหลงั ใชบ้ ริการ หรือหลงั จาก สมั ผสั จดุ สัมผสั ร่วมหรอื ส่งิ ของ เคร่ืองใช้ เมือ่ กลับถงึ บา้ นควรเปลย่ี นเส้อื ผ้าและอาบน้ำ ทันที ๓.๔ ปฏิบัติตามระเบียบของสถานที่อย่างเคร่งครัด และปฏิบัติตามมาตรการ สุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) ๒. กรณีโรงเรยี นไมส่ ามารถเปดิ เรียนได้ตามปกติ การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ซึ่งสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพื่อใหผ้ ู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สถานศกึ ษาจึงควรเลือกรปู แบบการเรยี นการสอนให้มคี วามเหมาะสมตามความพร้อมของสถานศึกษา ดังนี้ 1) การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) คือการเรียนรู้ที่ใช้สื่อวีดิทัศน์การเรียนการสอนของ มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ตง้ั แต่ชั้นอนุบาลปที ่ี ๑ ถึงช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ และใช้สื่อวิดิทัศน์การเรียนการสอนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ถงึ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ๒๖

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ๒) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและ แอปพลิเคชัน การจัดการเรียนการสอนแบบนี้ สำหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และมกี ารเช่ือมต่อสญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ต ๓) การเรียนผ่านหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนในกรณที ่ี นักเรียนมที รพั ยากรไม่พร้อมในการจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบขา้ งตน้ โดยสถานศึกษาจัดทำแบบฝึกหัด หรือใหก้ ารบ้านไปทำทบี่ า้ น อาจใช้รว่ มกับรูปแบบอน่ื ๆ ตามบรบิ ทของทอ้ งถิน่ 4) การจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) คือการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรอื ช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลิเคชนั DLTV บนสมารท์ โฟน หรือแทบ็ เล็ต แผนผัง แนวปฏบิ ตั ิระหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น แนวปฏบิ ัติระหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น กรณเี ปิดเรียนได้ตามปกติ (Onsite) กรณีโรงเรียนไมส่ ามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ 1. ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสรมิ 1. การเรียนผา่ นโทรทศั น์ (On Air) 2. การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) และ ๗ มาตรการเข้มงวด 3. การเรียนผ่านหนงั สือ เอกสาร ใบงาน (ON Hand) 4. การจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) 2. ดา้ นอนามัยส่งิ แวดลอ้ ม 3. ด้านการจัดการเรยี นการสอน 4. ด้านสาธารณสุข 5. แนวทางปฏบิ ตั สิ ำหรบั ผจู้ ัดกจิ กรรม 6. แนวทางปฏิบตั ิสำหรบั ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๒๗

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒๘

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สว่ นท่ี ๔ แนวทางการจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สถานศกึ ษาควรพจิ ารณาเลอื กจดั การเรียนการสอนโดยพจิ ารณารปู แบบให้มคี วามเหมาะสม ตามบริบทของสถานศกึ ษา ใหส้ อดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยสถานศกึ ษาสามารถ กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างจากที่กำหนดไว้นี้ หรือจัดการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน (Hybrid) ทงั้ นี้ตอ้ งคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั ของนักเรียน ครู และบคุ ลากรเป็นสำคญั รปู แบบการจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) มี ๒ รปู แบบหลัก ดังน้ี ๑. รปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบชนั้ เรยี น (Onsite) ลักษณะแบบผสมผสาน (Hybrid) มีรปู แบบการจัดการเรยี นการสอน ดังน้ี ๑.๑ รปู แบบที่ ๑ การจดั การเรียนการสอนแบบชนั้ เรียนปกติ รูปแบบนี้เนน้ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในโรงเรยี น หรอื ในช้นั เรียนเป็นหลัก ครผู ู้สอนสามารถนำรูปแบบ การเรียนการสอนอื่น ๆ มาผสมผสาน(Hybrid) ใช้กับการเรียนการสอนเพิ่มเติมในชั้นเรียนได้ เช่น การเรียน ผ่านโทรทัศน์ (On Air) หรือการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต ผ่านแอปพลิเคชัน (Online) หรือรูปแบบอื่น ๆ ตามความพรอ้ ม และบริบทของสถานศึกษา ทง้ั นใ้ี ห้เป็นตามมาตรการสาธารณสุขอยา่ งเคร่งครัด ดังนี้ ๒๙

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ๑.๒ รูปแบบที่ ๒ การสลับชัน้ มาเรียนของนกั เรยี น แบบสลบั ชั้นมาเรยี น รูปแบบนี้ สถานศึกษาทเ่ี ปดิ สอนตง้ั แต่ระดับปฐมวัย ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถ จัดให้นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) มาเรยี นในวนั องั คาร และวนั พฤหสั บดี และนักเรยี นระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๔ – ป.๖) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๔ – ม.๖) มาเรียนในวันจันทร์ วันพุธ วันศุกร์ สลับกันไปทุกสัปดาห์ ในวันที่นักเรียนอยู่ที่บ้านสามารถให้นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทั้ง ON Air และ Online ตามบรบิ ทความพร้อมของนกั เรยี น ๑.๓ รปู แบบที่ ๓ การสลับชั้นมาเรียนของนกั เรียน แบบสลับวันคู่ วนั ค่ี รูปแบบน้ี สถานศกึ ษาที่เปิดสอนตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั ถึงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถ จัดให้นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) มาเรียนในวันคู่ และนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔ – ป.๖) และระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖) มาเรยี นในวันค่ี สลบั กนั ไป ในวันที่นักเรยี นอยู่ท่ีบ้านสามารถให้นกั เรยี น เรียนร้โู ดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทง้ั ON Air และ Online ตามบริบทความพร้อมของนกั เรยี น ๓๐

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๑.๔ รปู แบบท่ี ๔ การสลับชั้นมาเรียนของนักเรยี น แบบสลับวันมาเรยี น ๕ วัน หยุด ๙ วนั รูปแบบน้ี เหมาะสมกับโรงเรียนทมี่ ีขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พเิ ศษ ที่มีจำนวนนกั เรียนต่อห้องมาก มพี นื้ ทห่ี ้องเรยี นจำกัดหรือโรงเรยี นท่จี ัดการเรยี นการสอนโครงการห้องเรียนพเิ ศษต่าง ๆ โรงเรยี นต้องสำรวจ ขอ้ มลู เพื่อวางแผนแบง่ กล่มุ นักเรียนในหอ้ งเรยี นเปน็ สองกล่มุ กลุ่ม A และกลมุ่ B ให้สลบั กันมาเรียน สัปดาห์ แรกและสัปดาห์ทส่ี าม กลมุ่ A มาเรยี นที่โรงเรียน กลุ่ม B เรียนอยู่ทีบ่ ้านดว้ ยการเรยี นการสอนทางไกล สปั ดาห์ ที่สองและสัปดาห์ที่สี่ กลุ่ม A เรียนอยู่ที่บ้านด้วยการเรียนการสอนทางไกล กลุ่ม B มาเรียนที่โรงเรียน สลับกันไป นักเรียนสามารถเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทั้ง On Air และ Online ตามบริบท ความพร้อมของนกั เรยี น ๓๑

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ๑.๕ รปู แบบที่ ๕ การสลบั ช่วงเวลามาเรยี นของนักเรยี น แบบเรียนทุกวัน รปู แบบนี้ สถานศกึ ษาที่เปดิ สอนตง้ั แต่ระดับปฐมวัย ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถ จัดให้นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-ม.๓) มาเรียนในช่วงเวลา ๘.๓๐-๑๑.๓๐ น. และนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔–ป.๖) และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔–ม.๖) มาเรียนในมาเรียนในช่วงเวลา ๑๒.๓๐-๑๕.๓๐ น. ในวันที่นักเรียนอยู่ที่บ้านสามารถให้นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทั้ง On Air และ Online ตามความเหมาะสม และความพรอ้ มของนกั เรยี น ๑.๖ รูปแบบที่ ๖ การสลับกลุ่มนักเรียน แบบแบ่งนักเรียนในหอ้ งเรียนเปน็ ๒ กล่มุ รูปแบบนี้ เหมาะสมกับสถานศึกษาที่มีขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ที่มีจำนวนนักเรียน ต่อห้องมาก มีพื้นที่ห้องเรียนจำกัดหรือโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนโครงการห้องเรียนพิเศษต่าง ๆ สถานศึกษาต้องสำรวจข้อมูล เพื่อวางแผนแบ่งกลุ่มนักเรียนในห้องเรียนเป็นสองกลุม่ กลุ่ม A และกลุม่ B ให้สลับกันมาเรียน วันจันทร์ กลุ่ม A มาเรียนที่โรงเรียน กลุ่ม B เรียนอยู่ที่บ้านด้วยการเรียนการสอน ทางไกล วันองั คาร กลุม่ A เรียนอยทู่ ่ีบา้ นด้วยการเรียนการสอนทางไกล กลุ่ม B มาเรียนที่โรงเรียนสลับกัน ไป นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทั้ง ON Air และ Online ตามความเหมาะสม และ ความพร้อมของนกั เรียน ๓๒

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ๑.๗ รูปแบบท่ี ๗ รปู แบบอ่ืน ๆ นอกจากรูปแบบที่ ๑ รูปแบบที่ ๖ ดังกล่าวแล้ว สถานศึกษาสามารถออกแบบวิธีการ จัดการเรียนการสอนได้ตามความเหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่ของสถานศึกษา โดยจำเป็นต้องคำนึงถึงความ ปลอดภัยของนกั เรียนในการป้องกนั การติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๒. รูปแบบการเรยี นการสอนทางไกล (Distance Learning) รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) มี ๔ รปู แบบ ดงั น้ี ๒.๑ รูปแบบการเรยี นผา่ นโทรทศั น์ (On Air) วธิ กี ารนี้ เป็นกรณที ไี่ ม่สามารถจดั การเรียนการสอนท่ีโรงเรียนไดห้ รือไม่สามารถจัดการเรียน การสอนให้นักเรียนมาเรียนที่โรงเรียนพร้อมกันได้ทุกคน เป็นการเรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์การจัด การเรียนการสอนของมูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ตั้งแตช่ ้นั อนุบาลปที ่ี ๑ ถึงชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ โดยดำเนนิ การออกอากาศ มที ั้งหมด ๔ ระบบ ไดแ้ ก่ ๑) ระบบดาวเทียม (Satellite) ๑.๑) KU-Band (จานทบึ ) ชอ่ ง ๑๘๖ – ๒๐๐ ๑.๒) C-Band (จานโปร่ง) ชอ่ ง ๓๓๗ – ๓๔๘ ๒) ระบบดจิ ทิ ัลทวี ี (Digital TV) ชอ่ ง ๓๗ – ๔๘ ๓) ระบบเคเบลิ้ ทวี ี ๔) ระบบ IPTV. ๒.๒ รปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) รปู แบบนเ้ี ปน็ รูปแบบการเรียนการสอนผ่านอนิ เทอรเ์ น็ต และแอปพลเิ คชัน การจดั การเรียนการสอน แบบนี้ สำหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และ มีการเชื่อมตอ่ สญั ญาณอินเทอร์เนต็ ๒.๓ รปู แบบการเรยี นการสอนผา่ นหนงั สือ เอกสาร ใบงาน (ON Hand) รูปแบบนเี้ ป็นการเรียนการสอนผา่ นหนงั สอื โดยใหแ้ บบฝึกหดั ให้การบ้านไปทำที่บา้ น อาจใช้ ร่วมกับรูปแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม และความต้องการของนักเรียน ในกรณีที่นักเรียนมีทรัพยากร ไม่พรอ้ มในการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบอ่นื ๆ ๒.4 รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ (ON Demand) รูปแบบนี้เป็นการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรือ ช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลเิ คชนั DLTV บนสมาร์ทโฟน หรือแทบ็ เล็ต คลงั ความรู้ (Knowledge Bank) ทส่ี นบั สนุนการเรยี นการสอนด้วยระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัล ( Digital Learning Platform) คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่สนับสนุนการเรียนการสอน ด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Learning Platform) ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทำใหน้ ักเรียนไมส่ ามารถกลับไปเรยี นแบบ Onsite ทีส่ ถานศกึ ษาได้ แตก่ ารเรยี นของนกั เรียนยงั คงตอ้ ง ๓๓

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ดำเนินต่อไปไม่หยุดยั้ง ดังน้ัน คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้ในระบบเทคโนโลยี ดิจิทัล(Digital Learning Platform) สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้กับครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน เลือกนำไปใช้ในการนำไปจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสม และตามบริบทของสถานศกึ ษา แต่ละพืน้ ท่ี ดงั น้ี 1. ครพู รอ้ ม เว็บไซต์ https://www.ครพู ร้อม.com/ ครูพรอ้ ม เป็น Web Portal จากกระทรวงศึกษาธิการ ทจ่ี ัดทำขึน้ มาใหม่ เพ่อื เสริมแฟลตฟอรม์ ตา่ ง ๆ ทห่ี น่วยงานในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการมีอยู่ โดยจะเปน็ คลังสอ่ื ข้อมลู การเรยี นรู้ ตลอดจนรูปแบบ การจดั กิจกรรม ซ่งึ มขี อ้ มลู ทง้ั ของ สพฐ. สช. สำนกั งานกศน. และสอศ 2. OBEC Content Center เว็บไซต์ https://contentcenter.obec.go.th/ OBEC Content Center คอื คลงั เนอ้ื หาอิเล็กทรอนกิ สข์ องสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) เป็นโปรแกรมสำหรับให้บริการเผยแพร่เนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์ แก่นักเรียน ครู ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศึกษา รองรับการเข้าถึงเนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ แอ ปพลิเคชัน หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ 3. DLTV เวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th/ แอปพลิเคชนั DLTV และช่องยทู ปู DLTV 1Channel - DLTV 12 Channel และ DLTV 15 Channel Distance Learning Television (DLTV) คือ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เกิดจาก พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมพี ระราชปณธิ านในการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างท่ัวถงึ เท่าเทยี ม และมคี ณุ ภาพ ด้วยเทคโนโลยี ที่ทันสมัยที่สุดในขณะนั้น เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แก้ปัญหาการขาดแคลนครู ครูไม่ครบช้ัน และครสู อนไมต่ รงสาขาวชิ าเอก โดยเฉพาะโรงเรียนในพื้นทีห่ ่างไกล ปจั จบุ ันโครงการนอ้ี ยใู่ นความดูแลของ มูลนิธิศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยจะถ่ายทอดการเรียนการสอนจาก โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเผยแพร่ภาพไป ทัว่ ประเทศ ๓๔

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ช่องยูทูบ (YouTube) DLTV 1Channel ถงึ DLTV 15 Channel ระดบั ปฐมวยั ระดบั ประถมศึกษา DLTV 10 Channel (อ.๑) DLTV 1 Channel (ป.๑) DLTV 11 Channel (อ.๒) DLTV 2 Channel (ป.๒) DLTV 12 Channel (อ.๓) DLTV 3 Channel (ป.๓) DLTV 4 Channel (ป.๔) ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น DLTV 5 Channel (ป.๕) DLTV 7 Channel (ม.๑) DLTV 6 Channel (ป.๖) DLTV 8 Channel (ม.๒) DLTV 9 Channel (ม.๓) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย DLTV 13 Channel (ม.๔) DLTV 14 Channel (ม.๕) DLTV 15 Channel (ม.๖) 4. Scimath เวบ็ ไซต์ https://www.scimath.org/index.php Scimath คลงั ความรสู้ ู่ความเปน็ เลิศทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จดั ทำโดยสถาบันสง่ เสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสื่อการเรียนการสอน โครงงาน บทความ ขอ้ สอบ และรายการโทรทศั น์และวิทยทุ ่ีเก่ยี วขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 5. ศนู ยเ์ รียนรดู้ จิ ิทลั ระดับชาติดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สสวท. เว็บไซต์ https://learningspace.ipst.ac.th/ ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลฯ คือ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน เปน็ ศนู ยก์ ารเรียนร้แู ละต่อยอดเทคโนโลยดี ้านดิจิทลั ใหก้ บั เด็ก เยาวชน และประชาชนในชมุ ชนท่ัวประเทศ ให้สามารถค้นหาข้อมูล เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นการลดความเหลื่อมล้ำ ในการเขา้ ถึงเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลให้คนไทยทกุ คนไดใ้ ชบ้ ริการอย่างทวั่ ถงึ และเท่าเทียมกนั ๓๕

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 6. สะเตม็ ศึกษา (STEM Education Thailand) เว็บไซต์ http://www.stemedthailand.org/ สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน ๔ สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ช่วยนักเรียนสรา้ งความเชือ่ มโยงระหว่าง ๔ สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทำงาน การจัดการเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจำทฤษฎี หรือกฎทางวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฎเหล่านั้นผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริงควบคู่ กบั การพฒั นาทกั ษะการคดิ ต้ังคำถาม แก้ปญั หาและการหาข้อมูลและวเิ คราะห์ขอ้ ค้นพบใหม่ ๆ พรอ้ มทั้ง สามารถนำขอ้ ค้นพบนั้นไปใชห้ รอื บูรณาการกับชวี ติ ประจำวนั ได้ 7. ระบบออนไลนข์ อ้ สอบ PISA เว็บไซต์ https://pisaitems.ipst.ac.th/ ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA เป็นระบบสารสนเทศที่เผยแพร่ข้อสอบที่ OECD อนุญาตให้ เผยแพร่ และข้อสอบที่พัฒนาโดย สสวท. การลงทะเบียนเขา้ ใช้งานระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA ที่ OECD อนุญาตให้เผยแพร่ และขอ้ สอบทพี่ ฒั นาโดย สสวท. สามารถใชช้ ื่อผใู้ ช้ (User Name) เดียวกันได้ 8. TK Park เวบ็ ไซต์ https://www.tkpark.or.th/tha/home TK Park คือ แอปพลิเคชัน แหล่งรวมสาระความร้แู ละความความเพลิดเพลนิ ให้เดก็ ไทยเรยี นรู้ อย่างสรา้ งสรรค์ โดยการนำองค์ความรู้ ไทยท่ีมีความหลากหลาย ๓๖

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 9. หอ้ งเรียนแห่งคณุ ภาพ (DLIT Classroom) เว็บไซต์ https://dlit.ac.th/site/classroom.php/ DLIT คือเครื่องมือที่มีเนื้อหาและเทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างครบ วงจร ตั้งแต่การวางแผน การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน การจัดการเรยี นการสอนเพม่ิ เตมิ การสอบท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และการพัฒนาวชิ าชพี อย่างยัง่ ยืน แอปพลเิ คชัน (Applications) สนบั สนนุ การเรยี นการสอนทางไกล สถานศึกษาสามารถเลือกใช้ Applications สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งเป็นช่องทาง การสือ่ สารการจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล ทเี่ หมาะสมตามสภาพพนื้ ท่ขี องสถานศึกษา ดังน้ี ๑. Microsoft Teams โปรแกรมประชุมออนไลน์ของ Microsoft สำหรับใช้พูดคุยประชุมกันผ่านการแชต และ วดิ ีโอคอล อีกทั้งยงั สามารถเปิดดแู ละแก้ไขไฟล์งานร่วมกนั ได้แบบเรยี ลไทม์ เหมาะสำหรบั การใช้ทำงานใน ระดับองค์กรหรือการศึกษา สามารถใช้งานได้ฟรี โดยการใช้ Microsoft Team แบบฟรีจะสามารถเรียน ออนไลนร์ ่วมกันได้สงู สุด ๑๐๐ คน นานสดุ ๖๐ นาที พรอ้ มพ้นื ท่ีจดั เก็บไฟลค์ นละ ๑ GB รองรับการใช้งาน ทั้งบนเว็บเบราว์เซอร์ ติดตั้งเป็นโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ หรือแอปพลิเคชัน บนอุปกรณ์มือถือและ แท็บเลต็ ๒. Zoom Meeting โปรแกรมประชุมออนไลน์แบบ Video Call ที่มีคนใช้งานกันมากที่สุดในช่วง Work from Home ซ่งึ ทำใหอ้ งคก์ รตา่ ง ๆ สามารถประชุมงานพรอ้ มกนั ได้หลายคน พูดคยุ แบบเหน็ หน้ากัน ๓๗

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน สามารถแชรห์ นา้ จอใหค้ นอืน่ ดูได้ รวมท้ังนักเรยี นนกั ศกึ ษาและครูอาจารย์ก็สามารถใช้ Zoom ในการเรียน และสอนออนไลน์ไดด้ ้วยเชน่ กัน สำหรับการใช้งาน Basic User (โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย) จะรองรับการซูมพร้อมกันสูงสุด ๑๐๐ คน แต่มีการจำกัดระยะเวลาการประชุมไว้ที่ ๔๐ นาทีต่อครั้ง สำหรับ Pro User (เสียค่าใช้จ่าย) รองรบั การซมู พรอ้ มกนั สงู สุด ๓๐๐ คน และไม่จำกดั ระยะเวลาท่ีใช้ในการประชุม ๓. Google Meet โปรแกรมสำหรับการประชุมทางวิดีโอแบบออนไลน์ โดยผู้สอนที่มีบัญชี Google จะสามารถ สร้างห้องเรียนออนไลน์ที่รองรับนักเรียนได้สูงสุด ๑๐๐ คน และใช้สอนได้สูงสุด ๖๐ นาทีต่อการสร้าง ห้อง ๑ ครั้ง นอกจากนี้ก็ยังมฟี ีเจอร์ขั้นสูงท่ีรองรับนักเรยี นภายในหรือภายนอกชั้นเรียนสูงสุด ๒๕๐ คน และสตรีมม่งิ แบบสดสำหรบั ใหค้ นเขา้ มาดูพรอ้ มกนั ไดส้ ูงสดุ ถงึ ๑๐๐,๐๐๐ คน ๔. LINE LINE เป็นแอปพลิเคชัน ที่นิยมใช้ในการคุยแชต การใช้ LINE สำหรบั การสอนออนไลน์เป็นวิธี ที่สะดวก เพราะท้ังผู้เรียนและผู้สอนไม่จำเป็นต้องไปหาแอปพลิเคชัน อื่น ๆ มาใช้เพิ่มเติม โดยใช้ฟีเจอร์ Group Call ที่รองรับสูงสุดถึง ๒๐๐ คน ใช้ได้ทั้งบน PC และมือถือ อีกทั้งสามารถแชร์ภาพหน้าจอของ ตัวเองใหน้ กั เรียนดไู ด้ หรือจะใชฟ้ ีเจอร์ Live เพื่อถ่ายทอดสดการสอนก็ไดเ้ ช่นกนั ๕. Discord Discord เป็นโปรแกรมแชตที่เป็นที่นิยมในกลุ่มคนเล่นเกม ซึ่งมีฟีเจอร์ที่เหมาะสำหรับใช้ ในการเรียนการสอนเช่นกัน คือสามารถสร้างห้องประชุมคุยกันทั้งแบบเสียงและแบบเปิดกล้อง รวมท้ัง สามารถแชร์หนา้ จอให้นกั เรียนดไู ด้ แถมยังสามารถสร้างหอ้ งแยกยอ่ ย และกดยา้ ยห้องไปมาได้อยา่ งสะดวก นอกจากนี้ Discord ยงั มีจดุ เด่นคอื สามารถใชไ้ ดฟ้ รี โดยรองรบั จำนวนคนตอ่ ห้องได้ไม่จำกัด ๖. Facebook Live การใช้ Facebook Live ในการสอนออนไลน์เป็นอกี วธิ หี น่ึงท่งี า่ ยและสะดวก เนอ่ื งจากคนส่วน ใหญ่มีบัญชี Facebook อยู่แลว้ จงึ สามารถสอนออนไลน์แบบถ่ายทอดสดให้นักเรยี นสามารถเข้ามาดูได้งา่ ย แต่มีขอ้ เสยี คือตวั ผสู้ อนจะไมส่ ามารถเห็นหน้าจากกล้องของนกั เรยี นแตล่ ะคน รวมท้งั ไม่สามารถจำกัดผู้เข้า เรียนได้ แตก่ ารแชร์หนา้ จออาจตอ้ งใช้โปรแกรมเพิ่มเตมิ อยา่ งเชน่ OBS ๓๘

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ๗. YouTube YouTube เปน็ อกี หน่งึ ช่องทางทสี่ ามารถใช้ถา่ ยทอดสดการสอนไดเ้ ช่นเดียวกับ Facebook Live โดยตัวผู้สอนจะต้องมีบัญชี YouTube ส่วนผู้เข้าเรียนนั้นจะมีบัญชีหรือไม่มีก็ได้ และผูส้ อนสามารถตั้งค่า การถา่ ยทอดสดเพื่อใหเ้ ฉพาะผทู้ ่ีมีลิงก์สามารถเขา้ เรยี นได้ ส่วนการแชรห์ น้าจออาจตอ้ งใช้โปรแกรมเพม่ิ เติม อย่างเช่น OBS เหมือนกับ Facebook Live หากต้องการสตรีมแบบสดบนอุปกรณเ์ คลื่อนที่ ช่องของผู้ใช้ จะต้องมีผู้ตดิ ตามอย่างนอ้ ย ๑,๐๐๐ คน จึงจะสามารถดำเนินการแบบสดผ่านคอมพวิ เตอร์และเว็บแคมได้ ๘. Google Hangouts Meet สามารถแชทกบั เพื่อน คุยแบบเหน็ หนา้ ได้ทั้งแบบเด่ียวและแบบกลมุ่ เชื่อมตอ่ ได้ทงั้ คอมพิวเตอร์ แทบ็ เลต็ หรอื ใช้กบั สมาร์ทโฟน โดยลงช่ือเขา้ ใชด้ ว้ ยบัญชขี อง Google เพม่ิ อโี มจิ และภาพเคล่ือนไหวแบบ GIF รับสง่ ข้อความ SMS/ MMS มีแจ้งเตือน เก็บบนั ทึกไวห้ ลังประชมุ จบ อีกทัง้ ยงั สามารถแชร์ Location ไดป้ จั จบุ ันรองรับจำนวนผเู้ ข้าร่วมสงู สดุ ได้ถึง ๕๐ คน โดยเปิดใช้ฟรที ัง้ หมด ไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ย ๙. Skype Skype เป็นโปรแกรมแชทและโทรผา่ นเน็ต และสนทนาท่ไี ดร้ บั ความนิยมที่สดุ สามารถส่งไฟล์ สนทนาแบบวีดีโอ อีกทั้งยังสามารถพูดคุย ส่งข้อความ แบบพิมพ์หากันได้โดยคู่สนทนาต้องมีโปรแกรม ดังกลา่ วเชน่ กัน รองรบั ระบบคอมพิวเตอร์ มอื ถือ แทบ็ เลต็ มรี ะบบการปรบั ระดับเสียงอัตโนมัติ แบบฟรีไม่ สามารถประชุมเกิน ๑๐ คนได้ หากใช้ Skype for Business สามารถประชมุ ได้มากถึง ๒๕๐ คน ๑๐. Cisco Webex Cisco Webex ถือเป็นตน้ ฉบับของโซลูชันการประชุมวิดโี อในองค์กร (ปจั จุบันใชช้ ่ือ Webex Meetings) และภายหลังก็ขยายตัวมายังระบบแชทในองค์กรด้วย (ใช้ช่ือ Webex Teams) ฟีเจอร์ของ Webex เรยี กว่าครบถ้วนสำหรับลกู คา้ องค์กร รองรบั การประชมุ สูงสดุ ๓,๐๐๐ คนต่อห้อง และไลฟ์สตรีม สูงสุด ๑๐๐,๐๐ คน ปัจจุบัน Webex มีแพ็กเกจรุ่นฟรี สำหรับการประชุมไม่เกิน ๑๐๐ คน และไม่จำกดั ความยาวในการประชุม (ต่างจาก Zoom ที่จำกัด ๔๐ นาที) เข้าใช้ได้ฟรี (จำกัดการประชุมไมเ่ กนิ ๑๐๐ คน) รุ่นเสียเงินเร่ิมต้นท่ี (ประมาณ ๔๑๕ บาท) ต่อเดือน พร้อมพื้นที่จัดเกบ็ ข้อมูลบน Cloud ขนาด 5GB และรองรับการเชื่อมต่อเสียงผ่านระบบโทรศัพท์ ๓๙

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ๑๑. Padlet Padlet คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการกระดานแสดงความคิดเห็นออนไลน์ รองรับผู้ใช้หลายคน ผู้ใช้สามารถเข้ามาอภิปรายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เขียนคำถาม คำตอบ หรือสรุปเนือ้ หาเป็นช่องทาง แสดงความคดิ เห็นของนกั เรยี นและครหู รือเพือ่ น ๆ ในชน้ั เรยี น ได้ดมี ากวนั น้จี งึ นำโปรแกรมดี ๆ มีฝากเพื่อน ครแู ละผู้ที่สนใจลองใช้ มีแบบฟรแี ละเสียค่าใช้จ่าย สรุป ความสามารถในการใชง้ านของแตล่ ะโปรแกรม ๔๐

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๔๑

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ส่วนท่ี 5 แผนเผชิญเหตุ สถานศึกษาทุกแห่งจะต้องจัดทำแผนเผชิญเหตุตามมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาด โควิด 19 ของสถานศึกษา กรณีหากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบว่ามีนักเรียน ครู หรือบุคลากรทางการศึกษา มีความเสี่ยงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเรื่องสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทย์ในพื้นที่ การสร้างการรับรู้ข่าวสารภายใน รวมทั้ง การคัดกรองเพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด ดงั นี้ ระดบั การแพร่ระบาด มาตรการปอ้ งกนั ในชุมชน ในสถานศกึ ษา ครู/นักเรียน สถานศกึ ษา ไม่มี ไมพ่ บ ผูต้ ิดเช้ือ ผตู้ ดิ เชอื้ ยืนยัน ๑. ปฏิบตั ิตามมาตรการ DMHTT ๑. เปดิ เรียน Onsite ๒. ประเมนิ TST เปน็ ประจำ ๒. ปฏิบัติตาม TST ไม่พบ ผู้ติดเชื้อยนื ยัน ๑. ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ DMHTT ๓. เฝ้าระวังคัดกรองกรณี ๒. ประเมิน TST ทุกวัน โรงเรียนนอนประจำ,เด็กพิเศษ ๑. เปิดเรยี น Onsite ๒. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ TST Plus ๓. เฝ้าระวังคัดกรองกรณี โรงเรียนนอนประจำ,เด็กพิเศษ มีผู้ตดิ เชอ้ื ๑. ปฏิบตั เิ ข้มตามมาตรการ DMHTT * ๑. ปิดห้องเรียนที่พบผู้ติดเชอื้ ประปราย พบผ้ตู ดิ เช้ือ เน้นใส่หน้ากาก *เว้นระยะห่างระหว่าง ๓ วัน เพอื่ ทำความสะอาด ยืนยัน บคุ คล ๑ - ๒ ม. ๒. เปดิ ห้องเรยี นอน่ื ๆ Onsite ในห้องเรยี น ๑ รายขนึ้ ไป ๒. ประเมิน TST ทุกวนั ไดต้ ามปกติ ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ชวั่ โมง กรณีใช้ ๓. สมุ่ ตรวจเฝ้าระวัง เครอื่ งปรับอากาศ Sentinel Surveillance ๔. กรณี High Risk Contact : ทกุ ๒ สปั ดาห์ งดเรยี น Onsiteและกักตวั ที่บ้าน ๑๔ วัน ๔. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ TST Plus ๕. กรณี Low Risk Contact : ให้สังเกตอาการของตนเอง และปฏิบัติ ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ ๔๒

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ระดับการแพร่ระบาด มาตรการป้องกัน ในชมุ ชน ในสถานศึกษา คร/ู นักเรียน สถานศึกษา ๑. ปฏบิ ัตเิ ข้มตามมาตรการ DMHTT * ๑. ปดิ ห้องเรยี นทีพ่ บผู้ตดิ เชื้อ พบผตู้ ดิ เชอ้ื เน้นใส่หน้ากาก *เว้นระยะห่างระหว่าง ๓ วัน เพอ่ื ทำความสะอาดหรือ ยนื ยันมากกวา่ บุคคล ๑ – ๒ เมตร ๑ ห้องเรยี น มากกวา่ ตามอำนาจ ๒. ประเมนิ TST ทุกวนั การพจิ ารณาของ ๓. ระบายอากาศทกุ ๒ ชั่วโมง กรณใี ช้ กระทรวงศกึ ษาธิการ เคร่อื งปรับอากาศ ๒. ปฏิบตั เิ ขม้ ตามมาตรการ TST Plus ๑. ปฏบิ ัตเิ ขม้ ตามมาตรการ DMHTT * ๑. พจิ ารณาการเปดิ เรียนOnsite เน้นใสห่ น้ากาก *เว้นระยะหา่ งระหวา่ ง โดยเขม้ ตามมาตรการทกุ มติ ิ มผี ู้ติดเช้ือ บคุ คล ๑-๒ เมตร ๒. สำหรบั พ้ืนทีร่ ะบาดแบบ เปน็ กลุ่ม ๒. ประเมิน TST ทุกวัน กลุ่มกอ้ น พิจารณาปดิ โดย ก้อน ๓. ระบายอากาศทกุ ๒ ชัว่ โมง กรณี คณะกรรมการควบคมุ การแพร่ ใชเ้ คร่ืองปรบั อากาศ ระบาดระดับพืน้ ท่ี หากมี ๔. กรณี High Risk Contact : หลักฐานและความจำเป็น งดเรียนOnsite และกกั ตวั ทีบ่ า้ น๑๔ วัน ๓. สุ่มตรวจเฝา้ ระวัง ๕. กรณี Low Risk Contact : Sentinel Surveillance ใหส้ งั เกตอาการของตนเอง ทุก ๒ สัปดาห์ ๑. ปฏบิ ัตเิ ข้มตามมาตรการ DMHTT ๑. พจิ ารณาการเปิดเรียนOnsite ๒. เฝา้ ระวังอาการเสยี่ งทกุ วนั Self โดยเข้ม ตามมาตรการทกุ มติ ิ มกี าร Quarantine ๒. สำหรบั พนื้ ทรี่ ะบาดแบบ แพรร่ ะบาด ๓. ประเมนิ TST ทกุ วัน กลุม่ กอ้ น พจิ ารณาปิดโดย ในชมุ ชน คณะกรรมการควบคมุ การแพร่ ระบาดระดับพนื้ ท่ี หากมี หลกั ฐานและความจำเปน็ ๓. สุ่มตรวจเฝา้ ระวัง Sentinel Surveillance ทกุ ๒ สปั ดาห์ ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๔). คู่มือการปฏิบัติมาตรการ Sandbox Safety Zone in School เปิดเรียนมั่นใจ ปลอดภัยไรโ้ ควิด ๑๙ ในสถานศกึ ษา.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ๔๓

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๔๔

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สว่ นที่ ๖ บทบาทของบุคลากรและหน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ยังคงมีการแพร่ ระบาดอยา่ งต่อเนื่อง เพื่อให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดบทบาทของบุคลากร และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ดังน้ี ๑. บทบาทของนักเรียน นักเรียนเป็นหัวใจสำคัญที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด ทั้งนี้ นกั เรยี นจะต้องถอื ปฏิบตั ิตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการ อย่างเคร่งครัด ต้งั แต่การเดนิ ทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยู่ในโรงเรยี น จนถงึ การกลับบา้ น บทบาทของ นกั เรียน ควรมดี ังนี้ ๑) เตรียมความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์การเรียน เครื่องใช้ส่วนตัว และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับ การเรยี น ๒) ปฏิบัตติ าม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดอยา่ งเครง่ ครดั ๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจาก การแพร่กระจายของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหลง่ ข้อมลู ทีเ่ ชื่อถอื ได้ ๔) ประเมินความเสีย่ งของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน่ Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ และ สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส รบี แจ้งครหู รือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณมี คี นในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) หรือกลับจากพ้ืนที่เสี่ยง และอยูใ่ นชว่ งกักตวั ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ สาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครัด ๕) ขอคำปรึกษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับการเรียน อุปกรณ์การเรียนเรียน เครื่องใช้ ส่วนตัว หรือพบความผิดปกติของร่างกายที่อาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทันที ๒. บทบาทของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษานน้ั ซงึ่ ถืออยู่ใกล้ชดิ นักเรียน มีหนา้ ที่สำคัญในการจัดการเรยี นรใู้ ห้แก่ นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียน การสอน นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วย โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตาม มาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ควรมีดังน้ี ๑) ประชมุ ออนไลน์(Online) ชีแ้ จงผปู้ กครองนกั เรยี นเพ่ือสรา้ งความเข้าใจร่วมกัน ในการป้องกัน การเฝ้าระวงั การเตรียมตัวของนกั เรียนให้พร้อมกอ่ นเปดิ เรียน ๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอและ สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ๔๕

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ไมร่ ู้รส ให้หยุดปฏบิ ตั งิ าน และรีบไปพบแพทยท์ ันที กรณีมคี นในครอบครัวปว่ ยด้วยโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) หรือกลับจากพืน้ ที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขอยา่ งเครง่ ครดั ๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจาก การแพร่กระจายของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) จากแหล่งขอ้ มลู ที่เชื่อถอื ได้ ๔) จัดหาส่ือประชาสัมพันธ์ในการปอ้ งกันและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัย คำแนะนำการปฏิบัติตัว การเว้นระยะหา่ งทางสังคม การทำความสะอาด หลีกเลี่ยงการทำ กิจกรรมร่วมกนั จำนวนมากเพือ่ ลดจำนวนคน ๕) ปฏบิ ัติตาม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสรมิ ของกระทรวงสาธารณสขุ กำหนดอยา่ งเครง่ ครดั ๖) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยให้เป็นไปตามมมาตรการที่กระทรวง สาธารณสุขกำหนด ได้แก่ (๑) ทำการตรวจคัดกรองสขุ ภาพนักเรียนทุกคนท่เี ข้ามาในโรงเรยี นในตอนเช้า ใช้เคร่อื งวดั อุณหภูมิร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไ่ ด้กล่ิน ไม่รู้รส โดยติดสัญลกั ษณ์ สตกิ เกอร์หรือตราปมั๊ แสดงให้เห็น ชัดเจนวา่ ผ่านการคดั กรองแลว้ (๒) กรณีพบนักเรียนหรือผมู้ อี าการมไี ข้ อณุ หภูมิรา่ งกายตั้งแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซยี สข้นึ ไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ประสานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อตรวจคัดกรองอีกครั้ง หากพบว่าผลตรวจ เบื้องต้นเป็นบวกจึงแจ้งผู้ปกครองมารบั จากนั้นแจง้ ผูบ้ ริหารหรอื ผู้มสี ่วนเก่ียวขอ้ ง เพ่อื ดำเนินการตามแผน เผชิญเหตุ และมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของสถานศกึ ษา (๓) บันทึกผลการคัดกรองและส่งต่อประวัติการป่วย ตามแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ (๔) จดั อุปกรณก์ ารล้างมอื พร้อมใชง้ านอยา่ งเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณ ทางเขา้ สบลู่ ้างมอื บริเวณอา่ งลา้ งมือ ๗) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนกั เรยี นขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุม่ เสี่ยงตอ่ การติดโรคโควิด 19 และรายงานต่อผบู้ รหิ าร ๘) ปรบั พฤติกรรมสำหรับนกั เรียนทไ่ี มร่ ่วมมือปฏบิ ตั ิตามมาตรการทคี่ รูกำหนด ด้วยการแก้ปัญหา การเรยี นรใู้ หม่ให้ถกู ต้อง นนั่ คอื “สรา้ งพฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์” หรอื “ลดพฤตกิ รรมทีไ่ ม่พึงประสงค”์ ๙) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติ ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และนำกระบวนการการจัดการ ความเครียด การฝึกสตใิ ห้กลมกลนื และเหมาะสมกับนกั เรียนแตล่ ะวัยร่วมกบั การฝกึ ทกั ษะชวี ติ ท่ีเสริมสร้าง ความเขม้ แขง็ ทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่ ทักษะชีวิตดา้ นอารมณ์ สงั คม และความคดิ เปน็ ตน้ ๔๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook