Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา รายวิชาสุขศึกษา ระดับชั้น ป.3

สื่อเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา รายวิชาสุขศึกษา ระดับชั้น ป.3

Published by kroobantim Satang, 2021-06-14 12:23:19

Description: บูรณาการสุขศึกษา ป.3

Search

Read the Text Version

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำหรับนกั เรยี น) กลมุ่ บรู ณาการ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เศรษฐนี ้อย ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เล่ม ๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชุดเอกสารส่ือ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ลิขสิทธ์ิของ สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พิมพครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ จํานวน ๒๒,๐๐๐ ชุด จัดพิมพโดย องคการคาของ สกสค.

ก หนา้ สารบญั ๑ ๓ สารบญั ๒๗ เรือ่ ง ๕๓ สารบัญ ๕๕ กหานร่วเรยยีกนารเหู รนียวนยรบู้ ูรณาการหนว่ ยท่ี ๑ เศรษฐนี อ้ ย ๙๗ ๑๑๑ หน่วยย่อยท่ี ๑ ชีวิตพอเพยี ง หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ ออมไว้ไมข่ ดั สน กหานร่วเรยียกนารเหู รนยี วนยรบู้ รู ณาการหนว่ ยท่ี ๒ สุขภาพดชี วี ีเปน็ สุข หน่วยยอ่ ยที่ ๑ รักตวั เราเท่าฟ้า หน่วยยอ่ ยท่ี ๒ สนกุ กับเกมกีฬา หน่วยยอ่ ยท่ี ๓ สขุ ภาพดีมสี ขุ

ชุดการเรียนรหู นวยบรู ณาการ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ หนว ยท่ี ๒ : สขุ ภาพดีชวี เี ปน สขุ

หนวยที่ ๒ : หนวยยอ ยท่ี ๑ รักตวั เราเทา ฟา กหิจนวกยรกรารมเรกยี านรรทูเร่ี ๑ียนเศรชรษดุกู กฐลนีิจุมกอ รยบรชมูรนั้กณปารราเะรกถยี ามนศรรูึก(ชษสําาน้ั หปปรทับี่ร๓นะักเถเลรมมยี นศ๑)กึ (กฉษลบมุ ับาบปปรู รณท บั าป่ี ก๓ราุงร) ๕๕

แบบทดสอบก่อนเรยี น ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ หน่วยย่อยท่ี ๑ รักตวั เราเท่าฟา้ ชื่อ...............................................สกุล..........................................เลขท่ี...........ชน้ั ................ คาชีแ้ จง ใหก้ าเครื่องหมาย  หนา้ คาตอบที่ถกู ที่สุด ๑. ข้อใดตอ่ ไปน้ีกล่าวถงึ อวยั วะภายใน ๖. หญิงชราคนหน่งึ ชื่อดวงพร เธออายุ ๘๐ ปี ตอนเป็น ก. มีหน้าทม่ี องดสู ่ิงตา่ ง ๆ เด็กเลี้ยงง่าย ขอ้ ใดเปน็ ธรรมชาติของชวี ิตมนุษย์ ข. รูปร่างคล้ายเมล็ดถ่ัวแดง ก. ดวงพรเปน็ คนแก่ ค. มี ๒ ข้าง ใชห้ ยบิ จับสิ่งของ ข. ดวงพรเป็นเดก็ เลี้ยงง่าย ค. ดวงพรแตง่ งานแลว้ ๒. พฤตกิ รรมใดต่อไปนี้ทสี่ ่งผลเสียตอ่ ตับ ๗. ถา้ นกั เรียนเป็นพ่ี และตอ้ งการให้น้องเชอื่ ฟัง ก. ด่ืมสรุ าเป็นประจา ควรทาตามขอ้ ใดเหมาะสมที่สุด ข. กนิ ลาบหมทู ่ีทาสกุ แล้ว ก. ช่วยนอ้ งทาการบา้ น ข. ยอมรบั ผดิ แทนน้อง ค. ออกกาลังกายเป็นประจาทุกสัปดาห์ ค. พดู กบั นอ้ งอยา่ งสุภาพไพเราะ ๓. ขอ้ ใดเป็นวิธีดแู ลอวัยวะในระบบหายใจ ๘. “เพ่ือนกนิ หางา่ ย เพือ่ นตายหายาก” พฤตกิ รรมใด ก. กนิ ผกั และผลไมม้ าก ๆ ตรงกบั สานวนนี้ ข. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ก. มีปญั หาแลว้ หลบหน้า ข. ปลอบใจเมอ่ื เสยี ใจ ค. ไมก่ นิ อาหารที่มไี ขมนั มาก ค. ชวนไปดูหนังอยเู่ สมอ ๔. ความเครียดมผี ลต่อการทางานของกระเพาะ ๙. ใครมีพฤติกรรมที่เหมาะสมกบั คาว่า สุภาพบุรุษ อาหารอย่างไร ก. เดก็ ชายอ้นเดนิ จบั มือกบั ตาลขณะเดนิ ข้ามถนน ก. กระเพาะอาหารย่อยอาหารได้มากขน้ึ ข. เดก็ ชายพีระชวนเด็กหญิงนารไี ปบ้าน ข. กระเพาะอาหารดูดซึมอาหารไดด้ ีข้นึ เมือ่ พอ่ แม่ไม่อยบู่ า้ น ค. กระเพาะอาหารหล่ังกรดในการย่อย ค. เดก็ ชายกอ้ งช่วยเด็กหญงิ แจนถือหนงั สือ อาหารมากขึน้ จานวนมากไปคืนห้องสมดุ ๕. ถ้าแมข่ อใหน้ กั เรียนช่วยกวาดบา้ น นกั เรียน ๑๐. พฤตกิ รรมใดท่ีแสดงถึงความภาคภมู ิใจในตนเอง ควรทาอย่างไร ก. เด็กหญิงปลากอดกับเดก็ ชายต้นเม่ือชนะกีฬา ก. ว่ิงหนี ข. รีบเข้าไปช่วย ค. ทาเฉย ๆ ข. ปา่ นเรียกเพ่อื นวา่ แก ค. อมิ่ ช่วยมดยกสมดุ ที่หนัก หนวยกการจิ เรกยี รนรรูทมี่ ๒กาสรุขเภราียพดนีชรชีวุดูกเี ปกลนจิ ุมกสรขุบรชมูรน้ักณปารราเะรกถียามนศรรูกึ (ชษสําา้ันหปปรท ับ่ีร๓นะักเถเลรมมยี นศ๑)ึก(กฉษลบมุ บัาบปปรู รณท ับาปี่ ก๓รางุ ร) ๕๗

บ ๒.๑/ผ ๑-๐๑   ใบงานที่ ๐๑ เรื่อง หนา้ ทแ่ี ละวิธดี ูแลอวัยวะภายนอกของรา่ งกาย คาช้ีแจง ๑. ให้นักเรยี นอา่ นคาถามแตล่ ะขอ้ ให้ถูกตอ้ ง โดยทาความเขา้ ใจ กอ่ นตอบคาถาม ๒. ให้นักเรียนตอบคาถามให้ถกู ตอ้ ง ๓. ตรวจสอบความถูกตอ้ งกับเพ่อื น ๆ ก่อนสง่ ครู ๑. วนั น้ีมีลมพดั แรง ฝนุ่ จึงปลิวเข้าตาของสุดา สดุ าควรดูแลอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. วันน้ฝี นตกหนัก ทาใหเ้ กดิ นา้ ท่วม อ้อยจงึ เดินลุยนา้ เข้าบ้าน เมอ่ื ถึงบ้านออ้ ยควรดแู ลเท้า อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓. วชิ าชว่ ยพ่อปลูกต้นไมใ้ นวันหยดุ แล้วแมเ่ รยี กเขาและพ่อให้มากินขนม วชิ าควรทาอยา่ งไร กอ่ นกนิ ขนม …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔. หลังจากกินขนมหวาน หากวิชาไมส่ ามารถแปรงฟันได้ วิชาควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร เพือ่ ไม่ใหฟ้ นั ผุ …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ชอื่ ...............................................สกลุ ..........................................เลขท.ี่ ..........ชน้ั ................ ๕๘ หชดุนกกวิจจิยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารูทยีรี่ ๒นเรรสูีย(ขุ สนภําาหรพรกู บัดลชีนุมีวกั เี เบปรยีนรู นสณ)ขุ กาชลั้นกุมปาบรรูระณถชามกน้ัศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลึกม ษ๑า(ปฉบทับี่ ป๓รับปรงุ )

เพลง “หัว หู ตา ไหล่” หัว หู ตา ไหล่ แขนซา้ ย แขนขวา นี่ขาเอาไว้ยา่ เดิน นข่ี า แขนขวา แขนซ้าย นี่ไหล่ ตา หู และหัว ดูงามทั้งตัวเมอ่ื เดินไปมา ลนั ลา ลนั ลา ลัน ลา ลา๊ ลัน ลา ลัน ลา ลัน ลา้ ลา ( ซา้ ) หนวยกการจิ เรกียรนรรูทมี่ ๒กาสรขุ เภรายีพดนีชรชวี ดุกูเี ปกลนจิ มุกสรขุบรชมูร้นักณปารราเะรกถยี ามนศรรูึก(ชษสาํา้ันหปปรทบั ี่ร๓นะักเถเลรมมยี นศ๑)ึก(กฉษลบุมับาบปปรู รณทบั าป่ี ก๓ราุงร) ๕๙

เพลง แปรงฟนั ตืน่ เชา้ ลา้ งหน้าแปรงฟนั แปรงทกุ ๆ วนั ฟนั จะสวยดี แปรงขนึ้ แปรงลงเข้าซี วันละ ๒ ที แปรงฟัน แปรงฟนั ๖๐ ชหุดนกกวิจิจยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารทู ียร่ี ๒นเรรสูีย(ุขสนภาํ าหรพรูกับดลชีนุมวีกั เี เบปรียนรู นสณ)ขุ กาชลน้ักุมปาบรรรู ะณถชามกน้ัศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลึกม ษ๑า(ปฉบทับ่ี ป๓รบั ปรงุ )

ใบความรู้ท่ี ๑ เร่ือง อวัยวะในชอ่ งปากและวิธีดูแลอวยั วะในช่องปาก ๑. อวัยวะในช่องปาก ปากเปน็ อวัยวะภายนอกชนดิ หน่งึ ซงึ่ ภายในปากของเรายงั ประกอบด้วยอวัยวะอื่น ๆ รวม เรยี กว่า อวัยวะในช่องปาก ประกอบไปด้วย - ริมฝปี ากบน - เหงอื ก - ฟนั ตดั ดา้ นบน - ฟนั เขย้ี วด้านบน - ฟันกรามด้านบน - ริมฝปี ากลา่ ง - ลน้ิ - ฟนั ตดั ดา้ นล่าง - ฟันเขยี้ วดา้ นลา่ ง - ฟนั กรามด้านล่าง ฟนั ของคนเรามี ๒ ชดุ คือ ฟนั ชุดแรก เรยี กว่า ฟนั นา้ นม และฟนั ชุดทสี่ อง เรียกว่า ฟันแท้ ถ้าฟนั แท้หลดุ ไป ก็จะไมม่ ฟี ัน ๒. อวยั วะในช่องปากมีหน้าที่สาคัญ ไดแ้ ก่ - ปาก ใชพ้ ดู คยุ และรับประทานอาหาร - เหงอื ก เป็นที่ยดึ เกาะของฟนั - ล้นิ ใชร้ บั รสชาตอิ าหาร และช่วยในการออกเสียง - ฟนั ใชก้ ัด บด เคีย้ วอาหาร ๓. การดแู ลอวัยวะในช่องปาก เราควรดแู ลอวยั วะในชอ่ งปาก ดังนี้ - แปรงฟันให้สะอาดอย่างท่ัวถึงและถกู วิธี ทุกซี่ ทุกดา้ น อยา่ งน้อยวนั ละ ๒ คร้งั หรอื หลงั กินอาหาร และควรแปรงลิ้นทกุ ครงั้ หลงั แปรงฟนั ดว้ ย - เราควรเลอื กใช้ยาสีฟนั ท่ีมีส่วนผสมของฟลอู อไรด์ เพอ่ื สรา้ งความแขง็ แรงและ ป้องกันฟนั ผุ หนว ยกการจิ เรกียรนรรูทม่ี ๒กาสรุขเภรายีพดนชี รชีวุดูกเี ปกลนจิ ุมกสรุขบรชมรู น้ักณปารราเะรกถยี ามนศรรูึก(ชษสําานั้ หปปรทบั ่ีร๓นะกั เถเลรมมียนศ๑)กึ (กฉษลบมุ บัาบปปรู รณท บั าป่ี ก๓ราุงร) ๖๑

- กนิ อาหารทมี่ ีประโยชนต์ ่อเหงือกและฟัน เชน่ นม ฝรง่ั ชมพู่ มันแกว แครอต เป็นตน้ - หลังจากกินขนมหวานแลว้ ตอ้ งแปรงฟันให้สะอาดทุกครงั้ - ไม่ใชฟ้ ันผดิ วิธี เช่น เปดิ ฝาขวด ฉีกถุงขนม เป็นตน้ - ไปพบทันตแพทย์ (หมอฟนั ) เพ่ือตรวจสุขภาพในช่องปากอย่างน้อยปีละ ๒ คร้งั ๖๒ หชุดนกกวจิ ิจยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารทู ียรี่ ๒นเรรสูีย(ุขสนภาํ าหรพรูก ับดลีชนุมีวักเี เบปรยีน ูรนสณ)ขุ กาชล้นักมุ ปาบรรูระณถชามก้ันศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลกึ ม ษ๑า(ปฉบท ับ่ี ป๓รบั ปรงุ )

ใบงานท่ี ๐๑ บ ๒.๑/ผ ๒-๐๑  คาชีแ้ จง ๑. ให้นักเรียนจับคู่ เร่ือง คิดแล้วทา  ๒. ใหน้ กั เรียนแต่ละคู่ดูภาพอวยั วะภายในทก่ี าหนดให้ในใบงาน ๓. ให้นักเรียนชว่ ยกันเขยี นชื่ออวยั วะ และหน้าท่ขี องอวยั วะภายในให้ถกู ต้อง ภาพ ชื่ออวยั วะภายใน หนา้ ท่ขี องอวยั วะภายใน ………………………………………………………..……………….. ……………………………….…. ………………………………………………………..……………….. ………………………….………. ………………………………………………………..……………….. ……………………………….…. ………………………………………………………..……………….. ………………………….………. ………………………………………………………..……………….. ………………………………………………………..……………….. ……………………………….…. ………………………………………………………..……………….. ………………………….………. ………………………………………………………..……………….. ………………………………………………………..……………….. ……………………………….…. ………………………………………………………..……………….. ………………………….………. ………………………………………………………..……………….. ………………………………………………………..……………….. ……………………………….…. ………………………………………………………..……………….. ………………………….………. ………………………………………………………..……………….. ………………………………………………………..……………….. ……………………………….…. ………………………………………………………..……………….. ………………………….………. ………………………………………………………..……………….. ………………………………………………………..……………….. ……………………………….…. ………………………………………………………..……………….. ………………………….………. ………………………………………………………..……………….. ………………………………………………………..……………….. จับคูก่ นั นะ ช่ือ................................................................เลขท.่ี ..........ช้ัน................ ชื่อ................................................................เลขท่ี...........ชั้น................ ๖๓ หนว ยกการจิ เรกยี รนรรูทมี่ ๒กาสรขุ เภราียพดนีชรชวี ุดูกีเปกลนิจมุกสรุขบรชมูรน้ักณปารราเะรกถียามนศรรูกึ (ชษสาํา้ันหปปรทับ่ีร๓นะักเถเลรมมียนศ๑)กึ (กฉษลบมุ บัาบปปูรรณท ับาปี่ ก๓ราุงร)

บ ๒.๑/ผ ๒-๐๒  ใบงานที่ ๐๒  เรอ่ื ง พฤติกรรมท่ีมีผลดีหรือผลเสียต่ออวยั วะภายใน คาชีแ้ จง ๑. ใหน้ ักเรียนอา่ นคาถามแตล่ ะขอ้ และตอบคาถาม ๒. ให้นักเรียนเขยี นอธบิ ายวิธดี แู ลอวยั วะภายในใหถ้ กู ตอ้ ง ********************* ๑) น่นุ ชอบกินอาหารทมี่ นั โดยเฉพาะขา้ วขาหมู เธอจะต้องกนิ ทุกวัน พฤติกรรมของนุ่นเปน็ ผลเสยี ตอ่ อวยั วะใด ........................................................................ นนุ่ ควรปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม ดงั นี้ .................................................................................. .......................................................................................................................................... ๒) อนั๋ มักเข้าไปอยู่ใกล้ ๆ พอ่ เสมอขณะทีพ่ ่อสบู บุหร่ี พฤตกิ รรมของอ๋ันเป็นผลเสยี ต่ออวยั วะใด ........................................................................ อน๋ั ควรปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ดงั นี้ ................................................................................... .......................................................................................................................................... ๓) โหน่งชอบกินอาหารไม่ตรงเวลา พฤตกิ รรมของโหน่งเป็นผลเสยี ตอ่ อวัยวะใด ..................................................................... โหน่งควรปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม ดังนี้ ............................................................................... .......................................................................................................................................... ๔) เสรวี ่ิงเลน่ แลว้ ศรี ษะกระแทกกบั เพอื่ น พฤติกรรมของเสรีเปน็ ผลเสยี ต่ออวัยวะใด ........................................................................ เสรีควรปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม ดงั น้ี .................................................................................. .......................................................................................................................................... ๕) ส้มโออยู่ในที่ท่มี ฝี นุ่ ละอองและมลพิษมาก พฤตกิ รรมของสม้ โอเปน็ ผลเสียตอ่ อวัยวะใด .................................................................... ส้มโอควรปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ดังน้ี .............................................................................. .......................................................................................................................................... ๖๔ ชหดุนกกวิจจิยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารทู ยีร่ี ๒นเรรสูยี (ขุ สนภําาหรพรูกบัดลชีนมุีวกั ีเเบปรยีนรู นสณ)ุขกาชลั้นกุมปาบรรูระณถชามกน้ัศากึ ปรษราปะทถ่ี ม๓ศเลกึ มษ๑า(ปฉบท บั ่ี ป๓รับปรงุ )

ภาพอวยั วะภายใน   ปอด หัวใจ   ตบั ไต   กระเพาะอาหาร  ลาไส้เลก็   ลาไสใ้ หญ่ หนว ยกการจิ เรกียรนรรทูมี่ ๒กาสรุขเภราียพดนชี รชีวดุกูเี ปกลนิจุมกสรุขบรชมรู นั้กณปารราเะรกถียามนศรรูึก(ชษสําาัน้ หปปรท บั ่ีร๓นะกั เถเลรมมยี นศ๑)ึก(กฉษลบมุ ับาบปปรู รณท บั าป่ี ก๓ราุงร) ๖๕

เพลง อะไรอยบู่ นใบหน้า หน้าของเธออยไู่ หน ถามจากใจจาไดห้ รือเปลา่ อะไรอยบู่ นหน้าบ้างเลา่ อะไรอยู่บนหน้าบา้ งเลา่ จาไดห้ รอื เปลา่ ไหนลองชดี้ ู หู จมูก แกม้ ปาก ปาก จมกู แกม้ หู ๖๖ หชดุนกกวจิ ิจยกกกรารรรรมเรกมยี านกรรเารูท ยีร่ี ๒นเรรสูยี (ุขสนภําาหรพรูกับดลีชนมุีวักีเเบปรยีน รู นสณ)ขุ กาชลน้ักุมปาบรรูระณถชามกัน้ศากึ ปรษราปะทถี่ ม๓ศเลกึ มษ๑า(ปฉบทบั ่ี ป๓รับปรงุ )

ใบความรูท้ ี่ ๑ เรื่อง ลักษณะ หน้าที่ และวิธีดูแลอวัยวะภายใน อวยั วะภายในรา่ งกาย ๑. สมอง (สมอง อ่านวา่ สะ - หมอง) เป็นอวัยวะที่ถูกหุ้มอย่ภู ายในกะโหลกศรี ษะ มลี กั ษณะ เปน็ กอ้ นเนอ้ื เหลวและมรี อยหยกั สมอง มีหน้าท่คี วบคุมการทางานของร่างกาย เช่น การเคลอื่ นไหว การมองเหน็ การดมกล่ิน เป็นต้น การดแู ลรักษาสมอง ทาได้ดังน้ี ๑) รบั ประทานอาหารท่มี วี ิตามนิ บี ๑ บี ๖ และบี ๑๒ เชน่ ผัก ผลไม้ ถว่ั งา นม เนือ้ สัตว์ ไข่ ขา้ วกล้อง เป็นตน้ ๒) ปอ้ งกนั อันตรายท่ีทาใหส้ มองไดร้ บั ความกระทบกระเทือน เช่น การลน่ื ลม้ ศรี ษะฟาด พ้นื ดว้ ยการเลน่ หรอื ทากิจกรรมดว้ ยความระมัดระวัง ๓) ฝึกการคดิ และความจาอยเู่ สมอ เช่น อ่านหนงั สือ ฝึกคดิ เลขเร็ว เลน่ เกมที่ฝกึ การคดิ เป็นตน้ ๒. หัวใจ หัวใจต้ังอยใู่ นทรวงอกดา้ นซา้ ย มีขนาดประมาณกาปัน้ ของเจ้าของ แบ่งออกเปน็ ๔ หอ้ ง คอื ห้องบน ๒ หอ้ ง ซา้ ยและขวา ห้องลา่ ง ๒ ห้อง ซา้ ยและขวา หัวใจ มีหนา้ ทสี่ บู ฉดี เลือดไปเลย้ี งสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย การดแู ลรักษาหวั ใจ ทาไดด้ งั นี้ ๑) รบั ประทานอาหารท่ชี ว่ ยบารุงเลือด เช่น ตบั ไขแ่ ดง ผักใบเขียว เปน็ ต้น ๒) ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ๓) ไม่รบั ประทานอาหารทมี่ ีไขมนั สูง ๓. ปอด ปอดตงั้ อย่ใู นทรวงอกท้ัง ๒ ข้าง ปอด มหี นา้ ท่ฟี อกเลอื ดเสียให้เปน็ เลอื ดดี เพื่อใหห้ ัวใจใชส้ ูบฉีดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ทวั่ ร่างกาย การดแู ลรักษาปอด ทาได้ดงั นี้ ๑) อยู่ในบริเวณทมี่ ีอากาศปลอดโปร่งถา่ ยเทได้ดี ๒) หลกี เลี่ยงบริเวณทม่ี ฝี ่นุ ละอองหรือควันพษิ ๓) ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ๔) หลีกเลีย่ งการสดู ดมสารเสพตดิ หรือสารอันตราย เชน่ แล็กเกอร์ ควนั บุหร่ี หนว ยกการจิ เรกียรนรรทูม่ี ๒กาสรุขเภรายีพดนชี รชีวุดูกเี ปกลนิจุมกสรุขบรชมูรัน้กณปารราเะรกถียามนศรรูกึ (ชษสําา้นั หปปรท ับี่ร๓นะกั เถเลรมมียนศ๑)ึก(กฉษลบุม ับาบปปูรรณท ับาปี่ ก๓ราุงร) ๖๗

๔. ตับ ตับเปน็ อวยั วะภายในท่ใี หญท่ สี่ ดุ อยภู่ ายในช่องท้อง ค่อนไปทางด้านขวา ตบั มีหนา้ ที่สร้างน้าดี เพ่ือใช้ย่อยอาหาร สร้างความร้อนเพอ่ื ให้ร่างกายอบอุ่น กาจัดสารพษิ (อ่านว่า สาน – พิด) และเป็นแหลง่ สะสมวติ ามนิ ตา่ ง ๆ การดแู ลรกั ษาตบั ทาไดด้ ังนี้ ๑) รบั ประทานอาหารท่มี ปี ระโยชน์ สะอาด และไม่มสี ารเคมเี จอื ปน ๒) ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ ๓) นอนหลับพกั ผ่อนอย่างเพียงพอ ๔) ไม่ดื่มสุราหรือของมึนเมา ๕. ไต ไตเป็นอวัยวะทม่ี ีลักษณะคลา้ ยเมล็ดถ่ัว อยภู่ ายในชอ่ งท้องด้านหลัง โดยต้ังอย่ดู า้ นซา้ ย และด้านขวาของกระดกู สนั หลงั ข้างละ ๑ อัน ไต มหี นา้ ท่ีกรองของเสียออกจากเลอื ดและขับออกมากบั นา้ ในรปู ของปัสสาวะ การดูแลรักษาไต ทาไดด้ ังน้ี ๑) ดมื่ นา้ สะอาดวนั ละไม่นอ้ ยกวา่ ๘ แกว้ ๒) ไมร่ ับประทานอาหารรสเค็มจดั ๓) ไม่กล้นั ปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ ๔) ออกกาลังกายสม่าเสมอ และพักผ่อนอยา่ งเพียงพอ ๖. กระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารเป็นอวยั วะทอ่ี ยู่ภายในช่องท้อง มีลกั ษณะ เป็นถงุ กลา้ มเนอื้ มีความเหนียวและยดื หดตัวได้ กระเพาะอาหาร มีหนา้ ที่ย่อยอาหารและดดู ซึมน้าและสารอาหารใหร้ ่างกาย การดูแลรกั ษากระเพาะอาหาร ทาได้ดังนี้ ๑) เค้ยี วอาหารให้ละเอียดกอ่ นกลนื ๒) รับประทานอาหารใหต้ รงเวลา ๓) ไมร่ บั ประทานอาหารรสจัด ๔) รับประทานอาหารให้พอดี ไมร่ ับประทานจนอิม่ เกินไป ๕) นอนหลับพกั ผอ่ นอยา่ งเพียงพอ ๗. ลาไส้ ลาไส้มลี ักษณะเปน็ ท่อยาวกลวง ขดไปมาอยใู่ นช่องท้อง มี ๒ ประเภท คอื ๑) ลาไส้เล็ก มีหน้าทยี่ ่อยอาหารและดูดซึมสารอาหารให้ร่างกาย ๒) ลาไสใ้ หญ่ มีหนา้ ทดี่ ดู ซึมนา้ และธาตุอาหารจากกากอาหารที่มาจาก ลาไส้เล็ก และขับถ่ายออกมาเป็นอจุ จาระผ่านทางทวารหนัก ๖๘ หชุดนกกว จิ ิจยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารทู ยีรี่ ๒นเรรสูีย(ุขสนภาํ าหรพรกู บัดลชีนมุีวกั เี เบปรียนรู นสณ)ุขกาชลนั้กุมปาบรรรู ะณถชามกน้ัศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลึกมษ๑า(ปฉบทบั ่ี ป๓รับปรงุ )

การดูแลรกั ษาลาไส้ ทาไดด้ งั น้ี ๑) รบั ประทานอาหารท่ีย่อยง่าย เช่น ผกั ผลไม้ เนอ้ื ปลา เป็นต้น ๒) เค้ียวอาหารให้ละเอียดกอ่ นกลนื ๓) นอนหลับพักผ่อนเป็นเวลา และเพียงพอกบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย ๔) ด่ืมน้าสะอาดวันละไม่น้อยกวา่ ๘ แก้ว ๕) ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ  หนว ยกการจิ เรกียรนรรทูมี่ ๒กาสรุขเภรายีพดนีชรชีวดุกูีเปกลนจิ ุมกสรขุบรชมรู ั้นกณปารราเะรกถยี ามนศรรูกึ (ชษสาํานั้ หปปรท บั ี่ร๓นะักเถเลรมมยี นศ๑)กึ (กฉษลบุมบัาบปปรู รณทบั าปี่ ก๓รางุ ร) ๖๙

ใบงาน ท่ี ๐๑  บ ๒.๑/ผ ๓-๐๑  เรือ่ ง วันผู้สูงอายุแห่งชาติ คาชแี้ จง ๑. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อา่ นข้อความเร่อื ง วนั ผู้สงู อายแุ หง่ ชาติ ๒. ให้นักเรียนรว่ มกันสรุปสง่ิ ท่คี วรทาในวนั ผู้สงู อายแุ ห่งชาติ ๓. ให้นกั เรยี นสง่ ตวั แทนออกมาพดู หนา้ ช้นั ใหเ้ พือ่ นและครฟู งั วนั ผู้สูงอายแุ ห่งชาติ วันผูส้ ูงอายแุ หง่ ชาติ ตรงกบั วันที่ ๑๓ เมษายน ของทุกปี โดยมี ดอกลาดวน เปน็ สญั ลักษณข์ องผสู้ งู อายุ นกั เรียนควรทาอยา่ งไร เม่ือถงึ วันผู้สูงอายุ ๗๐ ชหุดนกกว จิ จิยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารูท ียร่ี ๒นเรรสูีย(ขุ สนภาํ าหรพรกู ับดลีชนมุีวกั เี เบปรียน ูรนสณ)ุขกาชลั้นกุมปาบรรรู ะณถชามกน้ัศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลึกม ษ๑า(ปฉบท บั ่ี ป๓รบั ปรุง)

ใบงานท่ี ๐๒  บ ๒.๑/ผ ๓-๐๒  เรื่อง ช่วงวยั ของชีวิตมนุษย์ คาชี้แจง ๑. ใหน้ ักเรยี นอ่านใบงานท่ี ๐๒ เรอื่ ง ช่วงวัยของชวี ติ มนุษย์ ๒. ให้นักเรียนศึกษาข้อมลู เพมิ่ เตมิ จากใบความรทู้ ่ี ๑ เรอื่ ง ชว่ งวยั ต่าง ๆ ของมนุษย์ ๓. ใหน้ ักเรยี นเขียนแผนภาพความคิดแสดงชว่ งวยั ตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ ช่วงวัย ของ ชวี ติ มนษุ ย์ ชอ่ื ...............................................สกุล..........................................เลขที.่ ..........ชน้ั ................ หนว ยกการจิ เรกียรนรรทูมี่ ๒กาสรุขเภราียพดนชี รชวี ดุูกเี ปกลนิจุมกสรุขบรชมรู ้นักณปารราเะรกถียามนศรรูึก(ชษสําานั้ หปปรทบั ี่ร๓นะักเถเลรมมียนศ๑)กึ (กฉษลบุมับาบปปูรรณท บั าป่ี ก๓รางุ ร) ๗๑

ใบงานท่ี ๐๓  บ ๒.๑/ผ ๓-๐๓  เรื่อง น้าหนักของฉนั ตามเกณฑ์มาตรฐาน คาชแ้ี จง ๑. ใหน้ กั เรียนอ่านใบงานท่ี ๐๓ เร่ือง นา้ หนักของฉนั ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒. ให้นักเรียนศึกษาขอ้ มูลเพิ่มเติมจากใบความรู้ท่ี ๒ เรื่อง เกณฑม์ าตรฐาน การเจริญเติบโตของเด็กไทย ๓. ให้นักเรียนเขียนบันทกึ ข้อมูลนา้ หนักและสว่ นสงู ของตนเองเปรียบเทียบ น้าหนกั ส่วนสูงกบั เกณฑ์มาตรฐาน ๔. นักเรยี นสรุปภาวะการเจรญิ เตบิ โต โดยทาเคร่อื งหมาย  ลงใน  หน้าข้อความที่ กาหนด ๕. ตอบคาถามแตล่ ะข้อใหถ้ ูกต้อง .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................. คาถาม ๑) ฉนั ชื่อ........................................................................................................ ๒) ฉนั มนี ้าหนกั .........................กโิ ลกรัม วัดสว่ นสูงได้ .................................เซนตเิ มตร ๓) เมอ่ื เปรียบเทียบน้าหนกั และ ส่วนสงู กับเกณฑม์ าตรฐานแล้ว สรปุ ผลได้ดงั นี้  ฉนั เจริญเติบโตตามเกณฑม์ าตรฐาน  ฉันเจริญเติบโตน้อยกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน  ฉนั เจริญเตบิ โตมากกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน ๔) สรปุ ภาวะการเจริญเติบโตของฉัน น้าหนกั  ปกติ  ตา่  เกนิ สว่ นสูง  ปกติ  เต้ยี  สงู ๕) ปัจจยั ทม่ี คี วามจาเป็นต่อการดารงชีวิตและการเจรญิ เติบโตของมนุษย์ ได้แกอ่ ะไรบ้าง ๕.๑).................................................................................................................... ๕.๒).................................................................................................................... ๕.๓).................................................................................................................... ชือ่ ...............................................สกลุ ..........................................เลขที.่ ..........ชัน้ ................ ๗๒ หชุดนกกว ิจิจยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารทู ยีร่ี ๒นเรรสูยี (ขุ สนภําาหรพรูกบัดลชีนมุวีกั เี เบปรยีนูรนสณ)ขุ กาชลนั้กุม ปาบรรรู ะณถชามกน้ัศาึกปรษราปะทถ่ี ม๓ศเลึกม ษ๑า(ปฉบทับี่ ป๓รับปรุง)

ภาพธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ หนวยกการจิ เรกียรนรรทูม่ี ๒กาสรุขเภราียพดนชี รชวี ุดกูเี ปกลนจิ มุกสรขุบรชมูร้ันกณปารราเะรกถียามนศรรูกึ (ชษสําาั้นหปปรทบั ่ีร๓นะักเถเลรมมียนศ๑)กึ (กฉษลบุมับาบปปรู รณทบั าป่ี ก๓ราุงร) ๗๓

แผนภูมชิ ว่ งวัยตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ เมื่อคลอดออกมาเป็นทารก มนุษยจ์ ะเจริญเตบิ โตและเปลย่ี นแปลงตามวัย ดังน้ี วัยผูใ หญ วัยกอนคลอด วยั ทารก ตอนปลาย การแบง แรกเกดิ วัยผใู หญ วยั ของคน ตอนกลาง วัยแรกรนุ วยั ทารก ตอนปลาย วัยผูใหญ ตอนตน วัยเดก็ ตอนตน วยั รนุ วยั เด็ก ตอนปลาย ตอนปลาย ๗๔ ชหดุนกกวจิ ิจยกกกรารรรรมเรกมยี านกรรเารทู ียรี่ ๒นเรรสูยี (ขุ สนภําาหรพรกู ับดลีชนมุวีักีเเบปรยีนรู นสณ)ขุ กาชลนั้กุม ปาบรรูระณถชามก้ันศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลึกมษ๑า(ปฉบท บั ่ี ป๓รับปรงุ )

ใบความรู้ที่ ๑ เร่อื ง หลักการดแู ลสขุ ภาพ ๑. ออกกาลังกาย ออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาหล์ ะ ๓ ครั้ง ๒. อาหารปลอดภยั รบั ประทานอาหารครบ ๕ หมู่ สะอาดและปลอดภัย ๓. อบายมุข หลีกเล่ยี งสารเสพตดิ ๔. อารมณแ์ จ่มใส รจู้ กั พกั ผอ่ นคลายความเครียดและทาจติ ใจให้แจม่ ใสอย่เู สมอ ๕. อโรคยา หลีกเลย่ี งปจั จัยที่เสี่ยงตอ่ การเกดิ โรค ๖. อนามยั สิง่ แวดล้อม หนวยกการิจเรกยี รนรรทูม่ี ๒กาสรุขเภรายีพดนีชรชวี ดุูกเี ปกลนิจุมกสรขุบรชมูรน้ักณปารราเะรกถยี ามนศรรูึก(ชษสาํา้นั หปปรทบั ่ีร๓นะกั เถเลรมมียนศ๑)ึก(กฉษลบมุ บัาบปปรู รณทบั าป่ี ก๓รางุ ร) ๗๕

อาหารทม่ี ีประโยชน์ต่อรา่ งกาย เราจาเป็นต้องรับประทานอาหาร เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างพอเพียงเพื่อใช้ ในการเจริญเติบโต และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย อาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย คือ อาหารหลกั ๕ หมู่ อาหารหม่ทู ่ี ๑ เนอื้ สัตว์ นม ไข่ ถัว่ เมลด็ แหง้ สรา้ งเสริมการเจรญิ เติบโตและซ่อมแซมส่วนทสี่ กึ หรอ อาหารหมู่ที่ ๒ ข้าว แป้ง น้าตาล ช่วยใหร้ ่างกายทางานเป็นปกติ ใหพ้ ลังงานแกร่ า่ งกาย อาหารหมู่ที่ ๓ ผกั ตา่ ง ๆ สร้างภมู ติ า้ นทานโรค ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง อาหารหมทู่ ่ี ๔ ผลไมต้ า่ ง ๆ สรา้ งภูมติ า้ นทานโรค ชว่ ยใหร้ า่ งกายทางานเป็นปกติ อาหารหมู่ที่ ๕ นา้ มันหรอื ไขมนั จากพชื และสัตว์ ให้พลงั งานและความอบอุน่ แกร่ า่ งกาย ตวั อยา่ งบตั รภาพผลไม้ ตวั อยา่ งบัตรภาพอาหาร ๗๖ ชหุดนกกว จิ จิยกกกรารรรรมเรกมยี านกรรเารูทยีรี่ ๒นเรรสูีย(ุขสนภาํ าหรพรกู บัดลชีนุมวีกั เี เบปรยีน รู นสณ)ขุ กาชลน้ักมุ ปาบรรรู ะณถชามกัน้ศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลกึ ม ษ๑า(ปฉบท บั ี่ ป๓รับปรุง)

ช่วงวัยต่าง ๆ ของมนษุ ย์ การเจรญิ เตบิ โตตามวยั ของมนษุ ย์ ๑. วัยทารก คือ ชว่ งอายุตั้งแตแ่ รกเกดิ ถึง ๑ ปี เป็นวัยทต่ี ้องไดร้ บั การดูแลเอาใจใส่ อย่างใกลช้ ิด เพราะยังช่วยเหลอื ตนเองไม่ได้ ๒. วยั ก่อนเรียน คือ ช่วงอายุ ๑ – ๖ ปี เป็นวัยทเ่ี จรญิ เติบโตรวดเรว็ เดินและวง่ิ ได้ คลอ่ ง มคี วามซกุ ซน ไมช่ อบอย่นู ง่ิ สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองไดบ้ า้ ง เช่น รับประทานอาหาร อาบน้า แปรงฟนั เป็นตน้ ๓. วยั เรียน คอื ชว่ งอายุ ๖ – ๑๒ ปี เปน็ วัยทเี่ ร่ิมมกี ารเปลยี่ นแปลงทางด้านรา่ งกาย มีนา้ หนักและส่วนสูงเพมิ่ ขึ้น สามารถเรียนรูแ้ ละเข้าใจสง่ิ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ดูแลตนเองได้ ๔. วยั รุ่น คอื ช่วงอายุ ๑๒ – ๒๐ ปี เป็นวยั ท่ีมกี ารเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลง ทางเพศอยา่ งชดั เจน มีอารมณ์ออ่ นไหวง่าย ชอบอยู่กับกลมุ่ เพ่ือน ๕. วัยผใู้ หญ่ คอื ช่วงอายุ ๒๐ – ๖๐ ปี เปน็ วัยทีม่ ีการเจริญเติบโตอยา่ งสมบูรณ์ มี อารมณ์ม่นั คง เปน็ วัยทตี่ ้องทางานและมคี รอบครัว ๖. วยั สูงอายุ หรอื วัยชรา คือ อายุตง้ั แต่ ๖๐ ปขี น้ึ ไป สภาพร่างกายจะเสอื่ มลง เดินชา้ คิดช้า สุขภาพไมแ่ ขง็ แรง เป็นวัยท่ีตอ้ งการความรักและการดูแลเอาใจใส่ จากลูกหลาน หนวยกการิจเรกยี รนรรทูมี่ ๒กาสรขุ เภราียพดนชี รชีวดุกูีเปกลนจิ ุมกสรุขบรชมรู ัน้กณปารราเะรกถียามนศรรูกึ (ชษสาําน้ั หปปรทับ่ีร๓นะักเถเลรมมยี นศ๑)ึก(กฉษลบุมบัาบปปูรรณทบั าป่ี ก๓รางุ ร) ๗๗

เกณฑม์ าตรฐานการเจริญเติบโตของเดก็ ไทย เกณฑ์ม าตรฐานการเจริญเติบโตจะเปน็ เกณฑท์ ี่ใชใ้ นการเปรียบเทียบกกาารรเเจจรริญิญเเตติบิบโโตต เกี่ยวกับ ความสงู น้ําหนกั อายุ เพศ วว่าามมีพพี ัฒฒั นนาากกาารรไไดด้มม าาตตรรฐฐาานนสสมมววัยยั หหรรือื ไม่ กกาารรศศึกึกษษาาททาาํ คคววาามมเเขข้าา ใใจจเกี่ยวกับ เร่ืองงนนี้จี้จึงึงมมีคีคววาามมสสําคาัญคัญเพเรพาระาจะะจทะําทใหาสใหา้มสารมถามรีกถามรีกเสาริมเสริมางสตรน้าเงอตงนแเลอะงผแูอล่ืนะผใหู้อม่ืนีกาใรหเจ้มรี ิญเตกิบาโตร ตเจารมญิ เกเตณบิ ฑโตม ตาตามรฐเกาณนทฑ่ีกม์ าํ าหตนรดฐาอนยทางี่กสามหวนัยดอยา่ งสมวัย เกณฑก์ ารเปรยี บเทียบการเจริญเตบิ โตตามสดั สว่ นของนา้ หนกั และส่วนสงู กบั เกณฑม์ าตรฐาน ๑. เกณฑ์อา้ งองิ การเจรญิ เติบโตของเพศชาย ตารางแสดงน้าหนักตามเกณฑ์อายุ อายุ น้าหนัก น้าหนกั ตามเกณฑอ์ ายุ (กิโลกรมั ) นา้ หนัก นา้ หนัก น้าหนกั นา้ หนกั น้อยกวา่ เกณฑ์ คอ่ นขา้ งน้อย ตามเกณฑ์ ค่อนข้างมาก มากเกนิ เกณฑ์ ๖ ๑๕.๔ ลงมา ๑๕.๕ – ๑๖.๕ ๑๖.๖ – ๒๕.๔ ๒๕.๕ – ๒๗.๒ ๒๗.๓ ขึ้นไป ๗ ๑๗.๐ ลงมา ๑๗.๑ – ๑๘.๒ ๑๘.๓ – ๒๘.๘ ๒๘.๙ – ๓๑.๐ ๓๑.๑ ขน้ึ ไป ๘ ๑๘.๕ ลงมา ๑๘.๖ – ๑๙.๙ ๒๐.๐ – ๓๒.๒ ๓๒.๓ – ๓๔.๙ ๓๕.๐ ข้นึ ไป ๙ ๑๙.๗ ลงมา ๑๙.๘ – ๒๑.๔ ๒๑.๕ – ๓๖.๖ ๓๖.๗ – ๓๙.๙ ๔๐.๐ ขึ้นไป ๑๐ ๒๑.๔ ลงมา ๒๑.๕ – ๒๓.๕ ๒๓.๖ – ๔๐.๘ ๔๐.๙ – ๔๔.๕ ๔๔.๖ ขนึ้ ไป ๑๑ ๒๓.๑ ลงมา ๒๓.๒ – ๒๕.๕ ๒๕.๖ – ๔๕.๒ ๔๕.๓ – ๔๙.๔ ๔๙.๕ ขึ้นไป ๑๒ ๒๕.๒ ลงมา ๒๕.๓ – ๒๘.๐ ๒๘.๑ – ๕๐.๐ ๕๐.๑ – ๕๔.๕ ๕๔.๖ ขึ้นไป ตารางแสดงส่วนสูงตามเกณฑอ์ ายุ อายุ เตย้ี ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ (เซนตเิ มตร) สงู ค่อนขา้ งเตี้ย สว่ นสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสงู ๖ ๑๐๕.๓ ลงมา ๑๐๕.๔ – ๑๐๗.๖ ๑๐๗.๗ – ๑๒๑.๓ ๑๒๑.๔ – ๑๒๓.๖ ๑๒๓.๗ ข้ึนไป ๗ ๑๑๐.๓ ลงมา ๑๑๐.๔ – ๑๑๒.๗ ๑๑๒.๘ – ๑๒๗.๔ ๑๒๗.๕ – ๑๒๙.๙ ๑๒๙.๙ ขน้ึ ไป ๘ ๑๑๔.๗ ลงมา ๑๑๔.๘ – ๑๑๗.๓ ๑๑๗.๔ – ๑๓๓.๒ ๑๓๓.๓ – ๑๓๕.๘ ๑๓๕.๙ ขึน้ ไป ๙ ๑๑๘.๙ ลงมา ๑๑๔.๐ – ๑๒๑.๗ ๑๒๑.๘ – ๑๓๘.๓ ๑๓๘.๔ – ๑๔๐.๙ ๑๔๑.๐ ขึน้ ไป ๑๐ ๑๒๓.๒ ลงมา ๑๒๓.๓ – ๑๒๖.๑ ๑๒๖.๒ – ๑๔๓.๔ ๑๔๓.๕ – ๑๔๖.๒ ๑๔๖.๓ ข้ึนไป ๑๑ ๑๒๗.๔ ลงมา ๑๒๗.๕ – ๑๓๐.๔ ๑๓๐.๕ – ๑๔๙.๔ ๑๔๙.๕ – ๑๕๒.๘ ๑๕๒.๙ ข้ึนไป ๑๒ ๑๓๑.๕ ลงมา ๑๓๑.๖ – ๑๓๔.๐ ๑๓๕.๑ – ๑๕๖.๙ ๑๕๗.๐ – ๑๖๐.๗ ๑๖๐.๘ ขึ้นไป ๗๘ ชหุดนกกว ิจิจยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารูทียรี่ ๒นเรรสูีย(ขุ สนภําาหรพรกู ับดลีชนมุวีักเี เบปรียนรู นสณ)ขุ กาชลัน้กุมปาบรรูระณถชามกนั้ศากึ ปรษราปะทถี่ ม๓ศเลึกม ษ๑า(ปฉบท ับี่ ป๓รบั ปรงุ )

๒. เกณฑอ์ ้างองิ การเจรญิ เติบโตของเพศหญงิ ตารางแสดงนา้ หนักตามเกณฑอ์ ายุ อายุ น้าหนกั ตามเกณฑอ์ ายุ (กิโลกรมั ) นา้ หนกั น้าหนัก นา้ หนัก นา้ หนกั น้าหนกั น้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างน้อย ตามเกณฑ์ ค่อนข้างมาก มากเกนิ เกณฑ์ ๖ ๑๔.๙ ลงมา ๑๕.๐ – ๑๖.๐ ๑๖.๑ – ๒๕.๗ ๒๔.๘ – ๒๖.๔ ๒๖.๕ ขึ้นไป ๗ ๑๖.๔ ลงมา ๑๖.๕ – ๑๗.๖ ๑๗.๗ – ๒๘.๗ ๒๘.๘ – ๓๑.๒ ๓๑.๓ ขน้ึ ไป ๘ ๑๗.๘ ลงมา ๑๗.๙ – ๑๙.๒ ๑๙.๓ – ๓๒.๕ ๓๒.๖ – ๓๕.๕ ๓๕.๖ ข้ึนไป ๙ ๑๙.๓ ลงมา ๑๙.๔ – ๒๑.๑ ๒๑.๒ – ๓๗.๔ ๓๖.๕ – ๔๑.๑ ๔๑.๒ ข้ึนไป ๑๐ ๒๑.๒ ลงมา ๒๑.๓ – ๒๓.๓ ๒๓.๔ – ๔๒.๑ ๔๒.๒ – ๔๖.๒ ๔๖.๓ ขนึ้ ไป ๑๑ ๒๓.๓ ลงมา ๒๓.๔ – ๒๖.๐ ๒๖.๑ – ๔๖.๕ ๔๖.๖ – ๕๐.๖ ๕๐.๗ ขึน้ ไป ๑๒ ๒๖.๓ ลงมา ๒๖.๔ – ๒๙.๓ ๒๙.๔ – ๕๐.๒ ๕๐.๓ – ๕๔.๐ ๕๔.๑ ขึน้ ไป ตารางแสดงส่วนสงู ตามเกณฑ์อายุ อายุ เตี้ย สว่ นสงู ตามเกณฑ์อายุ (เซนติเมตร) สงู ค่อนขา้ งเต้ีย ส่วนสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสงู ๖ ๑๐๕.๑ ลงมา ๑๐๕.๒ – ๑๐๗.๓ ๑๐๗.๔ – ๑๒๐.๘ ๑๒๐.๙ – ๑๒๓.๐ ๑๒๓.๑ ขึน้ ไป ๗ ๑๐๙.๘ ลงมา ๑๐๙.๙ – ๑๑๒.๓ ๑๑๒.๔ – ๑๒๖.๘ ๑๒๖.๙ – ๑๒๙.๒ ๑๒๙.๓ ขึ้นไป ๘ ๑๑๔.๓ ลงมา ๑๑๔.๔ – ๑๑๖.๙ ๑๑๗.๐ – ๑๓๒.๕ ๑๓๒.๖ – ๑๓๕.๑ ๑๓๕.๒ ข้ึนไป ๙ ๑๑๙.๐ ลงมา ๑๑๙.๑ – ๑๒๑.๘ ๑๒๑.๙ – ๑๓๙.๑ ๑๓๙.๒ – ๑๔๒.๑ ๑๔๒.๒ ขึ้นไป ๑๐ ๑๒๔.๐ ลงมา ๑๒๔.๑ – ๑๒๗.๐ ๑๒๗.๑ – ๑๔๖.๑ ๑๔๖.๒ – ๑๔๙.๔ ๑๔๙.๕ ขึ้นไป ๑๑ ๑๒๙.๔ ลงมา ๑๒๙.๕ – ๑๓๒.๘ ๑๓๒.๙ – ๑๕๒.๖ ๑๕๒.๗ – ๑๕๕.๙ ๑๕๕.๙ ขึ้นไป ๑๒ ๑๓๕.๓ ลงมา ๑๓๕.๔ – ๑๓๘.๗ ๑๓๘.๘ – ๑๕๖.๙ ๑๕๗.๐ – ๑๕๙.๕ ๑๕๙.๖ ขึ้นไป ท่มี า : เกณฑ์อา้ งองิ น้าหนัก สว่ นสงู และเคร่ืองชวี้ ัดภาวะโภชนาการของประชาชนชาวไทย อายุ ๑ วนั – ๑๙ ปี กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ถ้าเปรียบเทียบน้าหนัก และส่วนสูงของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐานแล้วเป็นไปตามเกณฑ์ แสดง ว่า เรามีการเจริญเติบโตและพัฒนาการ (พัฒนาการ อ่านว่า พัด – ทะ – นา – กาน) ทางร่างกาย เหมาะสมกบั วยั หนวยกการิจเรกียรนรรทูมี่ ๒กาสรขุ เภรายีพดนชี รชวี ดุูกีเปกลนิจมุกสรุขบรชมรู น้ักณปารราเะรกถยี ามนศรรูึก(ชษสําาน้ั หปปรท ับี่ร๓นะกั เถเลรมมยี นศ๑)กึ (กฉษลบุมบัาบปปรู รณท บั าป่ี ก๓รางุ ร) ๗๙

บ ๒.๑/ผ ๔-๐๑  ใบงานท่ี ๐๑  เร่ือง สารวจคน้ หาสมาชกิ ในครอบครัว คาช้ีแจง ๑. ให้นกั เรียนศกึ ษาหาขอ้ มลู จากความร้เู ดมิ และหาขอ้ มลู เพิ่มเติม จากใบความรทู้ ี่ ๑ เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครวั ๒. ให้นกั เรียนเขยี นบนั ทึกขอ้ มลู อยา่ งอสิ ระ ..........งง....................... ชื่อ...............................................สกลุ ..........................................เลขที่...........ชั้น................ ๘๐ หชดุนกกวิจจิยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารูทียร่ี ๒นเรรสูีย(ขุ สนภําาหรพรูกับดลีชนมุีวกั ีเเบปรยีนูรนสณ)ขุ กาชลัน้กุม ปาบรรูระณถชามก้นัศากึ ปรษราปะทถ่ี ม๓ศเลกึ ม ษ๑า(ปฉบทับี่ ป๓รบั ปรงุ )

บ ๒.๑/ผ ๔-๐๒  คาช้แี จง ใบงานที่ ๐๒  เรือ่ ง ความรักความห่วงใยต่อสมาชิกในครอบครัว ๑. ให้นักเรียนนาความรเู้ ดมิ และเช่อื มโยงหาขอ้ มลู จากความร้ใู หม่เพ่มิ เติม จากใบความรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง การปฏิบัตติ นตอ่ สมาชกิ ในครอบครวั ๒. ใหน้ ักเรียนบอกวิธีปฏบิ ตั ติ นตามบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว ท่ีจะทาใหค้ รอบครัวมีความสุข ๓. นักเรยี นสรุปคาตอบเป็นแผนภาพความคิด ………………………… ………………………… ………………………… .……………………… .……………………… .……………………… ….…………………… ….…………………… ….…………………… …….………………… …….………………… …….………………… ……….……………… ……….……………… ……….……………… …………. แม่  พอ่ วิธปี ฏิบัตติ นตามบทบาท หน้าท่ขี องสมาชกิ ในครอบครัว    ………………………… ………………………… ………………………… .……………………… .……………………… .……………………… ….…………………… ….…………………… ….…………………… …….………………… …….………………… …….………………… ……….……………… ……….……………… ……….……………… ชือ่ ...............................................สกุล..........................................เลขท.ี่ ..........ชั้น................ หนว ยกการจิ เรกียรนรรูทมี่ ๒กาสรขุ เภรายีพดนีชรชีวดุูกเี ปกลนิจมุกสรุขบรชมรู ั้นกณปารราเะรกถียามนศรรูกึ (ชษสาํา้ันหปปรท ับี่ร๓นะักเถเลรมมียนศ๑)กึ (กฉษลบุมับาบปปูรรณท ับาป่ี ก๓ราุงร) ๘๑

บ ๒.๑/ผ ๔-๐๓  ใบงานท่ี ๐๓  เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ในครอบครวั คาชแ้ี จง ๑. ใหน้ กั เรียนนาความรเู้ ดมิ และเชือ่ มโยงหาขอ้ มลู จากความรใู้ หมเ่ พิ่มเตมิ จากใบความรู้ท่ี ๒ เรอื่ ง การปฏบิ ัตติ นต่อสมาชกิ ในครอบครวั ๒. นกั เรียนเลอื กเขยี นชอื่ สมาชกิ และหน้าทข่ี องสมาชกิ ในครอบครวั และ ตกแตง่ ผลงานใหส้ วยงาม ช่อื สมาชกิ ในครอบครวั ................................................................................ ................................................................................. หนา้ ท่ขี องสมาชิกในครอบครวั ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... .....................................................................................................  ชื่อ...............................................สกลุ ..........................................เลขท่.ี ..........ช้นั ................ ๘๒ หชุดนกกวจิ จิยกกกรารรรรมเรกมยี านกรรเารทู ยีร่ี ๒นเรรสูีย(ุขสนภาํ าหรพรูกับดลชีนุมีวักีเเบปรยีน รู นสณ)ุขกาชล้นักมุ ปาบรรรู ะณถชามก้ันศาึกปรษราปะทถ่ี ม๓ศเลึกมษ๑า(ปฉบทบั ี่ ป๓รบั ปรุง)

บ ๒.๑/ผ ๔-๐๔  ใบงานท่ี ๐๔  เรื่อง วิธปี ฏิบัติตนต่อเพอื่ น คาช้แี จง ๑. ให้นกั เรียนเขยี นแผนผังความคิด “วธิ ีปฏบิ ัตติ นต่อเพอ่ื น” ๒. ให้นักเรียนตกแต่งผลงานใหส้ วยงาม …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …… …… วธิ ปี ฏิบัติตนตอ เพอื่ น …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …… …… ชื่อ...............................................สกุล..........................................เลขท.่ี ..........ช้นั ................ หนว ยกการิจเรกียรนรรทูม่ี ๒กาสรขุ เภราียพดนชี รชีวดุกูเี ปกลนจิ มุกสรขุบรชมูร้ันกณปารราเะรกถยี ามนศรรูกึ (ชษสาํา้ันหปปรท บั ี่ร๓นะักเถเลรมมยี นศ๑)กึ (กฉษลบมุ ับาบปปรู รณท บั าป่ี ก๓ราุงร) ๘๓

เพลง ครอบครัวสขุ สนั ต์ ครอบครวั หนูมีกันอยู่มากมาย รวมกันได้ไว้เปน็ ครอบครัวเดยี ว อยูด่ ว้ ยกัน กร็ ักใคร่กลมเกลยี ว ใกล้ชดิ กัน ทกุ ๆวนั เรานนั้ มคี วามสขุ รกั ทุกวันตง้ั แตเ่ ช้าจนเข้านอน หนรู กั คุณพอ่ กบั คุณแม่เท่ากัน หวงั โตขน้ั อยากใหเ้ ป็นคนดี รักคุณปู่คุณยา่ ทา่ นเฝา้ คอยสงั่ สอน ชอบเลา่ นทิ านให้ฟังสนุกดี พีน่ ้องลว้ นมีนา้ ใจ หนรู ักคุณตากบั คุณยายเช่นกัน ชว่ ยแบง่ ปันและใหก้ าลงั ใจ ทั้งคุณลงุ คณุ ป้า นา้ อา ก็ใจดี ได้อยู่ใกลๆ้ ชา่ งสบายใจจริง ก็ไมต่ อ้ งใชเ้ งินมามากมี หนูรักครอบครวั ทีม่ ีไมตรีต่อกัน ให้กนั ทกุ วัน พดู ก็ไพเราะ ยิ้มให้กนั ทุกวนั ชน่ื ใจ ความสุขอย่างน้ีไมต่ อ้ งซอ้ื หา แคใ่ หค้ วามรักและทาความดี เน้ือรอ้ ง/ทานอง : ครรชิต สงิ หค์ า ๘๔ ชหุดนกกว จิ จิยกกกรารรรรมเรกมยี านกรรเารทู ยีร่ี ๒นเรรสูีย(ุขสนภาํ าหรพรูกบัดลชีนุมีวักีเเบปรียน รู นสณ)ขุ กาชลัน้กมุ ปาบรรรู ะณถชามกนั้ศาึกปรษราปะทถ่ี ม๓ศเลกึ ม ษ๑า(ปฉบทบั ่ี ป๓รับปรุง)

ภาพครอบครวั หนว ยกการจิ เรกยี รนรรทูมี่ ๒กาสรขุ เภราียพดนีชรชีวุดูกีเปกลนิจุมกสรขุบรชมูรั้นกณปารราเะรกถียามนศรรูกึ (ชษสําา้ันหปปรทบั ่ีร๓นะกั เถเลรมมยี นศ๑)กึ (กฉษลบุม บัาบปปรู รณท ับาปี่ ก๓ราุงร) ๘๕

ภาพตวั ฉนั และคนรอบข้าง ๘๖ หชดุนกกว จิ จิยกกกรารรรรมเรกมยี านกรรเารูทยีร่ี ๒นเรรสูยี (ขุ สนภําาหรพรูกับดลชีนมุวีกั เี เบปรียน รู นสณ)ุขกาชลนั้กมุ ปาบรรรู ะณถชามกั้นศากึ ปรษราปะทถี่ ม๓ศเลกึ มษ๑า(ปฉบท ับ่ี ป๓รบั ปรุง)

ภาพบทบาทหนา้ ท่ีของสมาชกิ ในครอบครัว หนว ยกการิจเรกยี รนรรทูม่ี ๒กาสรขุ เภรายีพดนชี รชวี ดุกูเี ปกลนิจมุกสรุขบรชมูร้นักณปารราเะรกถยี ามนศรรูึก(ชษสําา้นั หปปรทบั ่ีร๓นะกั เถเลรมมียนศ๑)กึ (กฉษลบมุ บัาบปปรู รณท ับาป่ี ก๓รางุ ร) ๘๗

แผนภูมิโครงสร้างสมาชิกในครอบครัว ๑. สมาชิกในครอบครวั เราอาศัยอยใู่ นบ้าน ภายในบ้านมีพอ่ แม่ ลกู หรอื อาจมีญาตผิ ใู้ หญ่ เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา เปน็ ต้น มาอาศัยอยรู่ วมกนั เรียกว่า ครอบครัว ๒. ความรักความผกู พนั ของสมาชิกในครอบครวั ครอบครัวอาจประกอบไปด้วยสมาชิกหลายคน ซ่ึงเกี่ยวข้องเป็นญาติกัน และทุกคน ในครอบครัวสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ด้วยความรักและความผูกพันที่มีให้แก่กัน สมาชิกในครอบครัวสามารถแสดงความรักต่อกันด้วยการบอกรัก การโอบกอด การจบั มอื ใหก้ าลังใจกนั การแบ่งปนั ส่ิงของต่าง ๆ ให้กัน การใหค้ วามช่วยเหลอื กนั และการ ใหอ้ ภัยซ่ึงกนั และกนั เมอ่ื อกี ฝ่ายทาผดิ ๘๘ ชหุดนกกวิจจิยกกกรารรรรมเรกมยี านกรรเารทู ียรี่ ๒นเรรสูีย(ขุ สนภําาหรพรกู ับดลชีนมุีวักเี เบปรยีนูรนสณ)ขุ กาชลน้ักุมปาบรรูระณถชามกนั้ศาึกปรษราปะทถ่ี ม๓ศเลึกมษ๑า(ปฉบท ับ่ี ป๓รับปรุง)

ใบความรู้ที่ ๑ เร่ือง บทบาทหนา้ ท่ขี องสมาชิกในครอบครัว ๑. บทบาทหน้าทข่ี องตนเอง ๑) เชอื่ ฟังคาสง่ั สอนของพอ่ แม่ ผูป้ กครอง และผใู้ หญใ่ นบ้าน ๒) ช่วยเหลอื งานในบ้านเทา่ ที่ทาได้ ๓) ขยันและต้ังใจเรียนหนังสอื ๔) รูจ้ ักดูแลและชว่ ยเหลือตนเอง ๕) พดู จาไพเราะ อ่อนหวาน ไมพ่ ดู โกหก ๖) ชว่ ยครอบครัวประหยดั และรูจ้ กั อดออม ๒. บทบาทหน้าท่ีของพอ่ ๑) เปน็ ผู้นาครอบครวั ปกป้องและดแู ลความเป็นอยูข่ องสมาชิกในครอบครัว ๒) หารายไดม้ าเล้ยี งครอบครัว ๓) ทางานในบ้านทตี่ ้องใชแ้ รงมาก ๔) แกไ้ ขปัญหาตา่ ง ๆ ร่วมกบั สมาชกิ ในครอบครัว ๕) อบรมเลยี้ งดูลกู ให้เป็นคนดแี ละปฏบิ ัติเป็นแบบอยา่ งที่ดขี องลูก ๓. บทบาทหน้าที่ของแม่ ๑) ดูแลความสะอาดและความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อยในบ้าน ๒) ดูแลเอาใจใส่ลกู และทุกคนในครอบครวั ๓) อบรมเลย้ี งดลู ูกใหเ้ ปน็ คนดี และปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีของลกู ๔) ชว่ ยแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ในบา้ น ๕) ชว่ ยพ่อหารายได้มาเล้ียงครอบครัว ๔. บทบาทหนา้ ทขี่ องพ่นี ้อง ๑) มีความรกั ความสามัคคีกัน ไม่ทะเลาะกัน ๒) มีนา้ ใจเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ต่อกัน ๓) แบ่งหนา้ ท่แี ละชว่ ยกันทางานบา้ น ๔) ใช้คาพดู ทสี่ ภุ าพ ไมพ่ ูดหยาบคายต่อกัน ๕) พต่ี ้องดูแลและรูจ้ กั เสยี สละใหน้ ้อง ๖) น้องตอ้ งให้ความนบั ถอื และเชอื่ ฟังสิง่ ที่พส่ี อน ๗) เมือ่ ทาผิดต้องขอโทษ และร้จู กั ให้อภยั ซงึ่ กนั และกัน หนวยกการจิ เรกยี รนรรูทมี่ ๒กาสรขุ เภราียพดนีชรชวี ดุกูเี ปกลนิจมุกสรขุบรชมูรั้นกณปารราเะรกถียามนศรรูกึ (ชษสาํา้ันหปปรท บั ี่ร๓นะกั เถเลรมมยี นศ๑)ึก(กฉษลบุมบัาบปปรู รณท ับาป่ี ก๓รางุ ร) ๘๙

๕. บทบาทหนา้ ทีข่ องญาติ ๑) ช่วยดแู ลความเรยี บรอ้ ยและช่วยเหลอื งานในบ้าน ๒) อบรมเลี้ยงดลู กู หลานให้เป็นคนดี ๓) ให้คาปรึกษาและช่วยแกไ้ ขปัญหาในครอบครัว ๔) ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งที่ดแี กล่ ูกหลาน ๕) มนี ้าใจเออื้ เฟือ้ เผื่อแผ่ ไม่เบยี ดเบยี นสมาชิก ในครอบครวั ๖) มีสว่ นรว่ มกับกจิ กรรมในครอบครัว การปฏิบตั ติ นตอ่ สมาชิกในครอบครัว เมอื่ เราอยูร่ ว่ มกันเปน็ ครอบครัว สมาชกิ ทกุ คนต้องปฏิบตั ิตามหนา้ ท่ขี องตนเองและ ปฏิบตั ติ นต่อสมาชิกในครอบครวั อยา่ งเหมาะสม พ่อ เปน็ แบบอยา่ งที่ดีแกล่ ูก ดแู ลปกปอ้ งสมาชิกในบา้ น ช่วยทางานบ้าน และดแู ล อบรมสง่ั สอนลูก ๆ แม่ ต้องเป็นแบบอยา่ งท่ีดแี ก่ลกู คอยเอาใจใสส่ มาชิกในบา้ น มีความเคารพในตวั พอ่ และอบรมส่งั สอนลกู ๆ ลูก ต้องเคารพเชื่อฟังพ่อแม่และสมาชิกที่มีอายุมากกว่า มีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ต่อทุกคน พูดจาสภุ าพกบั ทกุ คน และเป็นตวั อยา่ งท่ดี ีต่อสมาชิกท่มี ีอายุนอ้ ยกวา่ ญาติผู้ใหญ่ ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสมาชิกที่มีอายุน้อยกว่า คอยดูแลเอาใจใส่ ทกุ คน มีความเออื้ เฟื้อเผอ่ื แผ่และมีความเมตตาต่อสมาชิกในบ้าน เมื่อสมาชิกทุกคนในครอบครัวต่างปฏิบัติต่อกันด้วยดีแล้วก็จะทาให้ครอบครัว มคี วามสุข ๙๐ หชุดนกกว ิจิจยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารูทยีร่ี ๒นเรรสูีย(ขุ สนภาํ าหรพรกู บัดลีชนมุวีักเี เบปรยีนูรนสณ)ขุ กาชล้ันกุมปาบรรูระณถชามกน้ัศาึกปรษราปะทถ่ี ม๓ศเลึกมษ๑า(ปฉบทบั ่ี ป๓รับปรุง)

ใบงานที่ ๐๑  บ ๒.๑/ผ ๕-๐๑  เร่ือง ความภาคภมู ใิ จในตนเอง คาชีแ้ จง ๑. ให้นักเรียนนาความรูเ้ ดิมและคน้ หาความรู้ใหมเ่ กี่ยวกบั ความภาคภมู ิใจตนเอง ๒. ให้นักเรียนวาดภาพตนเองและเพอ่ื นตา่ งเพศลงในใบงาน ๓. จากน้ันเขยี นแผนผงั แสดงพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมกับเพศ และความภาคภูมิใจในเพศของตนเอง ๔. ตกแต่งผลงานให้สวยงาม พฤตกิ รรมทีเ่ หมาะสมกับเพศ ความภาคภูมใิ จในเพศของตนเอง ตนเอง  ................................................. ................................................. ................................................. ................................................. ................................................. ................................................. ................................................. ................................................. ชอ่ื ...............................................สกลุ ..........................................เลขที่...........ช้ัน................ หนวยกการจิ เรกยี รนรรูทมี่ ๒กาสรขุ เภรายีพดนชี รชวี ุดกูเี ปกลนจิ มุกสรุขบรชมรู ้นักณปารราเะรกถยี ามนศรรูกึ (ชษสาํา้นั หปปรท บั ่ีร๓นะกั เถเลรมมยี นศ๑)กึ (กฉษลบมุ บัาบปปรู รณทับาป่ี ก๓รางุ ร) ๙๑

บ ๒.๑/ผ ๕-๐๒  ใบงานท่ี ๐๒  เร่ือง วิธีปอ้ งกันจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ คาช้แี จง ๑. ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาใบความรู้ที่ ๒ เรือ่ ง การลว่ งละเมดิ ทางเพศ และวธิ ีหลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมท่ีนาไปสกู่ ารถูกล่วงละเมิดทางเพศ ๒. นักเรยี นรว่ มกนั คดิ แลว้ สรปุ ความคิดเหน็ ทาเปน็ แผนภาพความคิด เรอื่ ง วธิ ีปอ้ งกันจากการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ ๓. ตกแตง่ ผลงานให้สวยงาม ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... . . ...................................... วธิ ีปอ งกนั จากการ ...................................... ...................................... ถูกลวงละเมดิ ทางเพศ ...................................... . . ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... . . กลมุ่ ........................... ช่ือ..........................................เลขที.่ ..........ชัน้ ................ ชื่อ..........................................เลขที่...........ช้นั ................ ชอ่ื ..........................................เลขท่ี...........ชน้ั ................ ชอ่ื ..........................................เลขท่ี...........ชน้ั ................ ๙๒ ชหุดนกกวจิ จิยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารูทยีร่ี ๒นเรรสูีย(ขุ สนภาํ าหรพรูก ับดลีชนมุวีักเี เบปรยีนรู นสณ)ุขกาชลัน้กมุ ปาบรรรู ะณถชามกั้นศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลกึ มษ๑า(ปฉบทบั ี่ ป๓รบั ปรงุ )

เพลง จะบอกเธอว่ารกั - The Parkinson และใครจะรู้ รักท่มี ีอยู่ เก็บในใจมาแสนนาน เกบ็ มนั อยูจ่ นลน้ ใจ กเ็ ธอนนั้ อยูส่ ูง สงู เกินไป ไม่มีทางท่ีหวั ใจ มนั จะไดพ้ ดู ไป ใหฟ้ ัง แตใ่ นนาทีนี้ แคใ่ นตอนน้ี มนั เก็บไม่ไหวแล้ว Oh baby ใหเ้ ธอ ได้รู้ * จะบอกเธอว่ารกั หมดไปท้งั หัวใจ เธอได้ยนิ ไหม หยุดมันไมไ่ หว ตง้ั แตแ่ รกเจอ ออ่ นแอทกุ คร้งั แค่เพยี งได้เห็นแววตาของเธอ Oh baby Oh baby แคเ่ พยี งต้องการให้เธอได้รู้ เรม่ิ มากแ็ สนนาน ครัง้ ท่ีเราไดเ้ จอ ก็มแี ตว่ นั ทีส่ วยงาม เมอ่ื มีเธออยใู่ นหัวใจ ไม่เคยให้ใครรู้ รกั ที่มใี ห้ แตเ่ ชือ่ เถดิ เธอท้งั หัวใจ หมดทงั้ ขา้ งใน ใหเ้ ธอ และตอ้ งจากวนั นี้ จากนาทีนี้ ไมอ่ ยากจะเกบ็ แลว้ Oh baby ใหเ้ ธอ ได้รู้ หนวยกการจิ เรกยี รนรรูทม่ี ๒กาสรขุ เภราียพดนชี รชีวุดูกีเปกลนจิ ุมกสรขุบรชมูรน้ักณปารราเะรกถยี ามนศรรูึก(ชษสําา้นั หปปรทบั ี่ร๓นะักเถเลรมมียนศ๑)ึก(กฉษลบุมับาบปปูรรณท ับาปี่ ก๓ราุงร) ๙๓

ใบความร้ทู ี่ ๑ เรอื่ ง วิธกี ารสร้างสัมพนั ธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพ่อื น วธิ กี ารสร้างสมั พันธภาพในครอบครัวและกลมุ่ เพอ่ื น สัมพันธภาพ (สมั พันธภาพ อ่านว่า สา – พนั – ทะ – พาบ) คือ ความสมั พนั ธ์ท่ีดีระหวา่ ง บคุ คล (บคุ คล อ่านวา่ บกุ – คน) การอยรู่ ่วมกันในครอบครัวและกลุ่มเพือ่ นจงึ ตอ้ งอาศยั การสร้าง สัมพนั ธภาพ เพื่อใหใ้ ช้ชีวติ อยรู่ ่วมกนั อย่างมคี วามสขุ ๑) วธิ ีสรา้ งสมั พันธภาพในครอบครัว ๑.๑ ให้ความเคารพ เชื่อฟังคาสงั่ สอนของผ้ใู หญ่ ๑.๒ ช่วยเหลืองานในบ้านเทา่ ทสี่ ามารถทาได้ ๑.๓ ใชค้ าพูดทสี่ ภุ าพ อ่อนหวาน หน้าตาย้ิมแย้มแจม่ ใสเสมอ ๑.๔ ใชเ้ วลาว่างทากิจกรรมรว่ มกับสมาชิกในครอบครัว ๑.๕ ยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่นื ไม่ทาอะไรตามใจตนเอง ๑.๖ ให้กาลงั ใจและรว่ มมือหาทางแก้ไขเมือ่ ครอบครัวมปี ญั หา การอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ ม เปน็ วิธกี ารหน่ึงของการใช้เวลาว่างทากิจกรรมร่วมกบั สมาชกิ ใน ครอบครวั ด้วยการนาสง่ิ ของเหลือใช้ในบ้านมาชว่ ยกันประดิษฐ์เปน็ ของใชต้ กแตง่ บ้าน ชว่ ยสรา้ ง สมั พันธภาพทด่ี ีและทาให้บ้านน่าอยู่ ๒) วธิ ีสรา้ งสัมพันธภาพในกลุ่มเพือ่ น ๒.๑ ไม่เอาเปรยี บหรอื รงั แกเพือ่ น ๒.๒ มนี ้าใจ ร้จู ักแบ่งปัน และเอือ้ เฟอ้ื เผอื่ แผต่ อ่ เพอ่ื น ๒.๓ ใชค้ าพดู ท่สี ุภาพกบั เพ่ือนและย้ิมแยม้ แจม่ ใสเสมอ ๒.๔ ใหค้ วามช่วยเหลือเม่ือเพอื่ นเดอื ดรอ้ นหรือมีปัญหา ๒.๕ มคี วามจรงิ ใจ ไม่โกหกหลอกลวงเพ่อื น ๒.๖ รจู้ กั ยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อน การปฏิบัติตนเพ่ือสร้างสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวและกลุ่มเพื่อนเป็นส่ิงที่สาคัญ ท่ีจะทาใหส้ ามารถปรบั ตวั ใช้ชวี ติ ร่วมกับผอู้ น่ื ในสงั คมได้อยา่ งปกติสุข ๙๔ หชุดนกกว จิ ิจยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารทู ยีร่ี ๒นเรรสูีย(ขุ สนภําาหรพรกู ับดลีชนมุวีักีเเบปรียน รู นสณ)ุขกาชลน้ักุม ปาบรรรู ะณถชามก้นัศาึกปรษราปะทถ่ี ม๓ศเลกึ มษ๑า(ปฉบท ับ่ี ป๓รบั ปรงุ )

ใบความรู้ท่ี ๒ เร่อื ง การล่วงละเมิดทางเพศและวธิ กี ารหลีกเล่ยี ง ๑) พฤติกรรมที่นาไปสู่การถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ การล่วงละเมิดทางเพศ หมายถงึ การกระทาท่ีทาให้ผู้อืน่ เกิดความเสื่อมเสียทางเพศ ดว้ ยการโอบกอด การจับหรอื แตะตอ้ งร่างกาย ซ่ึงทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่รา่ งกาย และส่งผล กระทบต่อจติ ใจของผถู้ กู ล่วงละเมดิ ทางเพศ พฤติกรรมทนี่ าไปสกู่ ารถกู ล่วงละเมิดทางเพศ มดี ังนี้ ๑. การแตง่ กายล่อแหลมด้วยเสอื้ ผ้ารัดรปู โดยเฉพาะเพศหญิง เช่น สวมเสือ้ คอลกึ สวม กระโปรงสัน้ ๒. พูดคยุ รบั สง่ิ ของ หรือหลงเชือ่ คาชักชวนของคนแปลกหนา้ ๓. อย่ใู นทีล่ บั ตาคนสองต่อสองกับคนต่างเพศหรือเพอ่ื นต่างเพศ ๔. เขา้ ไปอย่ใู นสถานทเี่ ปลย่ี ว รกร้างไม่มคี น เชน่ อาคารร้าง หลังหอ้ งนา้ โรงเรียน ๕. คบเพอ่ื นท่ีไมด่ ี และถกู ชักชวนไปทาในสิ่งทไ่ี ม่ถูกต้อง เช่น ออกไปเท่ยี วกลางคืน อา่ น การต์ ูนลามก ดคู ลปิ วดิ โี อลามก ๖. ติดสารเสพติด (สารเสพตดิ อ่านวา่ สาน – เสบ – ตดิ ) หรือด่มื เครือ่ งด่ืมทม่ี ี แอลกอฮอล์ ทาให้ขาดสตแิ ละความยบั ยัง้ ชัง่ ใจ ๒) วธิ หี ลีกเล่ียงพฤติกรรมทนี่ าไปสกู่ ารถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ การหลีกเลี่ยงและปอ้ งกันตนเองให้ปลอดภยั จากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ทาได้ดังน้ี ๑. ไมห่ ลงเช่อื คาชักชวนหรอื ไมร่ บั สง่ิ ของจากคนทไ่ี ม่รูจ้ ัก และใชค้ าพูดปฏเิ สธอยา่ งสภุ าพ เชน่ “ไม่ไปคะ่ /ไมไ่ ปครบั ” “ขอบคุณค่ะ/ขอบคุณครับ แตห่ นไู มอ่ ยากได้” แลว้ รบี เดนิ หนไี ปจากบริเวณน้นั ๒. ไมอ่ ยใู่ นสถานทเ่ี ปลีย่ วหรือลับตาคนเพยี งลาพัง ๓. แต่งกายใหเ้ รยี บร้อยและเหมาะสมกบั กาลเทศะ (กาลเทศะ อ่านว่า กา–ละ–เท–สะ) โดยเฉพาะเพศหญงิ ตอ้ งแต่งกายมดิ ชิด ไมโ่ ป๊ หรอื เปิดเผยให้เห็นรปู ร่าง สดั ส่วน ๔. ไม่อ่านหนังสือหรอื ดสู ือ่ ลามก และไม่อยกู่ ับเพ่อื นหรือคนต่างเพศสองต่อสองในห้อง หรือทลี่ ับตาคน ๕. ไม่ดม่ื เคร่อื งดืม่ ทมี่ แี อลกอฮอลแ์ ละไมเ่ สพสารเสพติด ๖. หากมีคนที่ไมน่ ่าไว้ใจ ทง้ั ที่รู้จักและไมร่ จู้ ัก มาพูดคุยและถกู เนื้อตัว หรอื โอบกอด บ่อยคร้ัง ควรรบี บอกพอ่ แม่ ผู้ปกครองให้ทราบ การปฏิบตั ิตนทเี่ หมาะสมกับเพศและวยั รวมท้ังรูจ้ กั วิธกี ารหลกี เลยี่ งการถกู ล่วงละเมิด ทางเพศ จะทาให้อยู่ในสังคมอยา่ งปลอดภัย ไมเ่ กดิ อนั ตรายทางเพศ หนวยกการิจเรกียรนรรูทม่ี ๒กาสรุขเภรายีพดนชี รชวี ดุูกเี ปกลนจิ ุมกสรขุบรชมรู น้ักณปารราเะรกถยี ามนศรรูกึ (ชษสําา้นั หปปรทับ่ีร๓นะกั เถเลรมมียนศ๑)กึ (กฉษลบุมบัาบปปูรรณท บั าปี่ ก๓ราุงร) ๙๕

แบบทดสอบหลังเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ หนว่ ยย่อยท่ี ๑ รกั ตัวเราเท่าฟ้า ชอื่ ...............................................สกลุ ..........................................เลขท.ี่ ..........ชนั้ ................ คาช้ีแจง ใหก้ าเครอื่ งหมาย  หนา้ คาตอบทีถ่ ูกท่ีสุด ๑. ข้อใดต่อไปน้กี ลา่ วถงึ อวยั วะภายใน ๖. หญิงชราคนหนึง่ ช่ือดวงพร เธออายุ ๘๐ ปี ตอนเปน็ ก. มีหน้าท่ีมองดสู ่งิ ต่าง ๆ เด็กเล้ยี งง่าย ข้อใดเป็นธรรมชาตขิ องชีวติ มนุษย์ ข. รูปร่างคลา้ ยเมล็ดถ่ัวแดง ก. ดวงพรเป็นคนแก่ ค. มี ๒ ข้าง ใช้หยบิ จับส่ิงของ ข. ดวงพรเป็นเด็กเลย้ี งง่าย ค. ดวงพรแต่งงานแล้ว ๒. พฤติกรรมใดต่อไปนที้ สี่ ่งผลเสียตอ่ ตบั ๗. ถ้านกั เรียนเปน็ พ่ี และต้องการให้นอ้ งเชอ่ื ฟัง ก. ดม่ื สรุ าเป็นประจา ควรทาตามขอ้ ใดเหมาะสมที่สุด ข. กินลาบหมูทท่ี าสกุ แล้ว ก. ชว่ ยนอ้ งทาการบ้าน ข. ยอมรบั ผดิ แทนน้อง ค. ออกกาลังกายเป็นประจาทกุ สัปดาห์ ค. พูดกบั น้องอย่างสภุ าพไพเราะ ๓. ข้อใดเปน็ วธิ ดี ูแลอวยั วะในระบบหายใจ ๘. “เพื่อนกนิ หาง่าย เพื่อนตายหายาก” พฤติกรรมใด ก. กนิ ผกั และผลไม้มาก ๆ ตรงกับสานวนนี้ ข. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ก. มีปัญหาแล้วหลบหน้า ข. ปลอบใจเม่อื เสยี ใจ ค. ไม่กนิ อาหารทม่ี ีไขมนั มาก ค. ชวนไปดูหนงั อยู่เสมอ ๔. ความเครยี ดมผี ลตอ่ การทางานของกระเพาะ ๙. ใครมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสมกบั คาวา่ สุภาพบรุ ุษ อาหารอยา่ งไร ก. อ้นเดนิ จับมอื กบั ตาลขณะเดนิ ขา้ มถนน ก. กระเพาะอาหารย่อยอาหารไดม้ ากขึน้ ข. เตย้ ชวนหญิงไปบ้านเมอ่ื พ่อแม่ไมอ่ ยู่บา้ น ข. กระเพาะอาหารดูดซมึ อาหารได้ดีขึ้น ค. ก้องชว่ ยแนนถอื กองหนังสือไปคนื ห้องสมดุ ค. กระเพาะอาหารหล่ังกรดในการย่อย อาหารมากข้นึ ๕. ถา้ แมข่ อให้นกั เรียนช่วยกวดบ้าน นักเรยี น ๑๐. พฤติกรรมใดทแี่ สดงถึงความภาคภมู ใิ จในตนเอง ควรทาอย่างไร ก. หนงิ กอดกบั ต้นเม่อื ชนะกีฬา ก. ว่งิ หนี ข. รีบเขา้ ไปชว่ ย ค. ทาเฉย ๆ ข. ปา่ นเรียกเพอื่ นวา่ แก ค. อิ่มช่วยมดยกสมดุ ท่ีหนกั ๙๖ หชุดนกกว ิจจิยกกกรารรรรมเรกมยี านกรรเารูทียร่ี ๒นเรรสูีย(ขุ สนภาํ าหรพรูกับดลีชนุมวีักีเเบปรยีน รู นสณ)ขุ กาชล้นักุมปาบรรรู ะณถชามกนั้ศากึ ปรษราปะทถี่ ม๓ศเลกึ มษ๑า(ปฉบทบั ่ี ป๓รบั ปรุง)

หนว ยที่ ๒ : หนวยยอยที่ ๒ สนุกกับเกมกีฬา

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ สนุกกับเกมกฬี า ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นกาเครอ่ื งหมาย  ทบั ข้อทถ่ี ูกทีส่ ดุ เพียงขอ้ เดียว ๑. กิจกรรมใดเกีย่ วขอ้ งกบั การทรงตัวมากท่ีสุด ๖. สว่ นใดท่อี อกแรงมากท่ีสดุ ในการวงิ่ ก. วิ่งไลจ่ ับ ก. เท้า ข. เดินบนถงั น้ามนั ข. สน้ เท้า ค. โยนลกู บอลลงห่วง ค. ปลายเท้า ๒. ขอ้ ใดไม่เกีย่ วขอ้ งกบั การเคลือ่ นไหว ๗. ข้อใดสาคัญท่สี ุดในการปรบมือให้เข้ากบั ตามจังหวะเพลง จังหวะ ก. ฝึกเดนิ - จงั หวะเพลง ก. ความพร้อมเพรียง ข. ฝกึ วิง่ - จงั หวะการปรบมือ ข. เสยี งให้ดังพอเหมาะ ค. ฝึกกระโดด - จังหวะการร้องเพลง ค. เสียงกลองทีน่ ามาประกอบ ๓. ขอ้ ใดเรียงลาดับความเร็วในการเคลอ่ื นที่ ๘. ข้อใดเปน็ สิง่ ทค่ี วรคานึงถึงในการเล่นโลดโผน ก. เดิน เหยาะ ๆ ว่งิ ก. ความอดทน ข. เหยาะ ๆ ว่ิง เดนิ ข. ความรับผดิ ชอบ ค. ว่งิ เดนิ เหยาะ ๆ ค. ความปลอดภยั ๔. การปาเป้าควรใชแ้ ขนข้างใด ๙. การเล่นโลดโผนท่ีดีชว่ ยฝกึ ตัวเราให้เป็นคน ก. ข้างขวา อย่างไร ข. ข้างท่ีถนดั ก. มคี วามออ่ นโยน ค. ขา้ งซ้าย ข. มคี วามละเอียดอ่อน ค. มคี วามคล่องแคล่ววอ่ งไว ๕. ข้อใดเป็นการออกกาลังขอ้ เท้า ก. กระโดดกบ ๑๐. การกระโดดในขอ้ ใดใช้วธิ ีกระโดดเทา้ สองข้าง ข. โยนบอล ก. กระโดดเขย่งปรบมือ ค. ขว้างสิ่งของ ข. กระโดดเทา้ คู่ ค. กระโดดเขย่งปรบมือใต้ขา หนวยกการิจเรกียรนรรูทม่ี ๒กาสรุขเภราียพดนชี รชีวุดูกีเปกลนจิ มุกสรุขบรชมรู น้ักณปารราเะรกถยี ามนศรรูกึ (ชษสําานั้ หปปรท บั ี่ร๓นะักเถเลรมมียนศ๑)ึก(กฉษลบมุ ับาบปปูรรณท บั าปี่ ก๓ราุงร) ๙๙

บ ๒.๒/ผ ๑-๐๑ ใบงานท่ี ๐๑ เรอื่ ง ประโยชน์จากการเคล่ือนไหวร่างกาย คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นแผนผังความคดิ วธิ ีการเคลือ่ นไหวร่างกายประกอบอปุ กรณ์ พรอ้ มทง้ั ตกแต่งและระบายสีให้สวยงาม ๑……………………………........... ๒……………………………........... .....................................……... .....................................……... ๓……………………………........... .....................................……... วิธีการเคล่ือนไหว ประกอบอุปกรณ ๔……………………………........... ๖……………………………........... .....................................…….. .....................................……... ๕……………………………........... .....................................……... ชือ่ …………………………........................................……………………….ช้นั ……………….………………… วนั ท่ี…………..........................……………………….กลุ่ม………….....…….............................…………… ๑๐๐ ชหดุนกกวจิ ิจยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารูทียรี่ ๒นเรรสูยี (ุขสนภาํ าหรพรกู ับดลชีนมุีวักเี เบปรยีนูรนสณ)ุขกาชล้นักมุ ปาบรรรู ะณถชามกน้ัศาึกปรษราปะทถี่ ม๓ศเลึกมษ๑า(ปฉบทบั ี่ ป๓รับปรงุ )

บ ๒.๒/ผ ๒-๐๑ ใบงานที่ ๐๑  เรือ่ ง ประโยชน์ของการเคล่อื นไหวแบบโลดโผน ชน้ั ……...............................…………… วนั ท่ี .......................………………………………………………………. คาช้ีแจง แบ่งกลมุ่ รว่ มกันคิดหรอื คน้ หาการเลน่ แบบผลัดมา ๑ ชนดิ (ไมซ่ ้ากับทเ่ี รียน) แล้วผลัดกนั ออกมาสาธติ วิธกี ารเลน่ ช่ือเกม................................................................................. ๑. วิธกี ารเล่นเกม ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๒. ประโยชน์ของการเล่นเกม ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................... สมาชิกกลุม่ ๑....................................................... ๒............................................................ ๓....................................................... ๔............................................................ ๕....................................................... ๖............................................................ หนว ยกการิจเรกียรนรรูทมี่ ๒กาสรุขเภราียพดนชี รชวี ดุูกีเปกลนิจุมกสรขุบรชมรู นั้กณปารราเะรกถยี ามนศรรูกึ (ชษสาําน้ั หปปรทบั ี่ร๓นะกั เถเลรมมยี นศ๑)กึ (กฉษลบุมับาบปปรู รณท ับาป่ี ก๓รางุ ร) ๑๐๑

ใบงานท่ี ๐๑ บ ๒.๒/ผ ๓-๐๑ เร่ือง เกม ชือ่ กลมุ่ ......................................................................................... ช้ัน .............................. คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนแบ่งกล่มุ โดยคละชาย - หญิง กลุม่ ละ ๔ คน ร่วมกันคดิ แลว้ เขยี นแผนผังความคิด ความรู้ และประโยชนข์ องการเล่นเกม ประโยชน์ของการเลน่ เกม ................................................ ...................................................... ความรทู้ ี่ไดร้ บั ..................................................... ......................................... ชือ่ เกม ................................................ ............................................. ......................................... ....................................... ............................................. ........................................ ...................................... ............................ ............................ ๑๐๒ หชดุนกกวิจจิยกกกรารรรรมเรกมียานกรรเารูทียร่ี ๒นเรรสูยี (ุขสนภําาหรพรูกับดลีชนมุีวกั เี เบปรยีน รู นสณ)ขุ กาชล้ันกุมปาบรรูระณถชามกั้นศากึ ปรษราปะทถี่ ม๓ศเลึกมษ๑า(ปฉบท บั ่ี ป๓รบั ปรุง)