Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทยม.ปลาย

ภาษาไทยม.ปลาย

Published by 420st0000049, 2020-05-10 02:11:29

Description: ภาษาไทยม.ปลาย

Search

Read the Text Version

ห น า | 101 (นางญานศิ า เจรีรตั น) (นางสาวสุรภี สกลุ รตั น) (นายชีวิต อจุ วาท)ี อาจารย 2 ระดบั 6 ผชู วยผอู าํ นวยการ ศนภอ. ผูอาํ นวยการ ศนภอ. การเขยี นคาํ กลา วรายงาน การเขยี นคํากลา วรายงานในการเปดหรอื ปด การประชุมสัมมนานัน้ จะมี 2 สวน คือ คํากลาวรายงานของเจา ของงาน และคาํ กลา วเปดของประธานการเปด หรอื ปด การประชุม คํากลา วรายงานและคํากลาวเปด 1. คํากลา วรายงานพิธีเปด การประชุมสัมมนาจะกลา วถึงรายละเอียด หรือมีแนวทางการเขียน ดงั น้ี 1.1 คาํ ขึน้ ตนนยิ มใชคาํ วา “เรยี น….” และขอบคุณ 1.2 บอกกลาวผูเขาประชุมและหนว ยงานหรือสถานะของผูเขาประชุม พรอ มท้ังบอก จํานวนผเู ขารวมประชมุ 1.3 บอกวตั ถุประสงคข องการประชุม 1.4 บอกระยะเวลาของการประชุม 1.5 บอกวิทยากรบุคคล หนวยงานทมี่ สี วนรวม มสี ว นเก่ียวขอ งชวยเหลอื สนบั สนนุ 2. คํากลาวเปดการประชุมมีแนวทางในการเขยี นดงั น้ี 2.1 คาํ ข้ึนตน หรอื คาํ ทักทาย จะเอยชื่อบุคคลตาํ แหนง ของผูเขาประชุม 2.2 บอกถึงความรูส ึกขอบคณุ บคุ คล วทิ ยากรหรอื หนว ยงานที่เก่ยี วของชว ยเหลอื 2.3 บอกขอเสนอแนะแนวทางขอ คดิ เหน็ ที่เปน ประโยชนต อการประชุม 2.4 อ ว ย พ ร แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม ป ร า ร ถ น า ดี ที่ จ ะ ใ ห ก า ร ป ร ะ ชุ ม บ ร ร ลุ ผ ล ต า ม วตั ถุประสงค สวนคํากลาวรายงานและคํากลา วปดการประชุม ก็จะมีลักษณะคลา ยกันแตจะมี รายละเอยี ดเกี่ยวกบั ผลของการดาํ เนนิ งานการประชุมเพ่ิมเขา มา และมีการมอบวุฒิบัตรหรือของทีร่ ะลึกอีก เทา นน้ั

102 | ห น า ตวั อยา ง คํากลา วรายงานในพธิ เี ปดการประชุมสมั มนา คณะกรรมการบรหิ ารองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล (อบต.) ภาคตะวันออก ปง บประมาณ 2551 ณ โรงแรมสตาร อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ระยอง วันที่ 26 สิงหาคม 2551 .................................... เรยี นทา นประธาน ผูอ าํ นวยการศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก ผูอ ํานวยการศูนยก าร ศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด หัวหนา ศูนยบ ริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอปลัด อบต. ประธาน อบต. เจา หนาทศี่ นู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ดิฉัน นางสาวสุรภี สกุลรัตน ในฐานะผูจ ัดการประชุมสัมมนารูส ึกเปน เกียรติอยา งยิง่ ท่ีทา นได ใหเ กียรติมาเปนประธานในการประชุมสัมมนาคร้งั นี้ การประชุมสัมมนาคร้ังนป้ี ระกอบดวยผปู ระชุมสัมมนาจาํ นวน 99 คน ดงั น้ี - ผอู าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 9 ทาน - หวั หนาศนู ยบริการการศึกษานอกโรงเรยี นอาํ เภอในภาคตะวนั ออก 27 ทา น - ปลดั อบต.จากจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 27 ทาน - ประธาน อบต. จากจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 27 ทา น - เจาหนา ทศี่ นู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 9 ทาน วตั ถุประสงคข องการประชุมสัมมนา 1. เพอ่ื ใหคณะกรรมการบริหาร อบต. มีความรูค วามเขา ใจเกีย่ วกบั งานการศึกษานอกโรงเรยี น โรงเรยี น2. เพ่ือใหคณะกรรมการบริหาร อบต. มีสว นรว มในการวางแผนและจัดกิจกรรมการศึกษานอก 3. เพอ่ื ใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีความเขา ใจเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ในสวน ของการพฒั นาสังคม เดก็ สตรี และครอบครัว รวมกบั หนวยงานการศึกษานอกโรงเรยี น วิทยากรในการประชุมสัมนาประกอบดวย - ผอู าํ นวยการศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก - ผูต รวจราชการสวนถอ งถนิ่ จงั หวดั ระยอง - รองประธานคณะกรรมการพฒั นาสตรีภาคตะวนั ออก ในโอกาสน้ี ดิฉันขอเรียนเชิญทานประธานไดกรุณากลาวเปด การประชุมและบรรยายพิเศษ ตามทที่ า นเหน็ สมควร ขอเรยี นเชญิ

ห น า | 103 ตําอยาง คํากลา วของประธาน พิธเี ปดการประชมุ สมั มนาคณะกรรมการบรหิ ารองคการบรหิ ารสว นตาํ บล (อบต.) ภาคตะวนั ออก ปงบประมาณ 2551 วันที่ 26 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรมสตาร อาํ เภอเมือง จังหวดั ระยอง ................................................ ทานผูอ ํานวยการศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด ทานหัวหนา ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียน อาํ เภอ ทา นปลดั อบต. ทา นประธาน อบต. เจา หนาทศี่ นู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ทุกทา น ผมมีความยินดีท่ีไดมาเปน ประธานในการประชุมสัมมนาคณะกรรมการบริหารองคก ารสวน ตําบล (อบต.) ภาคตะวันออก ปง บประมาณ 2551 ในวันน้ี นับวาเปน โอกาสท่ีดีที่งานการศึกษานอก โรงเรียนไดม ีโอกาสรวมประชุมสัมมนากับหนวยงานทางดานการปกครอง โดยเฉพาะเปนหนวยงาน การปกครองสวนทองถิ่นที่สามารถนําประโยชนที่ไดจากการประชุมสัมมนาไปใชในการพัฒนาทอง ถิ่นไดโดยตรง ในปจจุบันการศึกษาเปน สิง่ จาํ เปน อยางยิง่ ตอการพัฒนาทุกดา น เนื่องจากเปนส่ิงท่ีจะชว ย ใหเรามีความรูค วามเขา ใจท่ีถูกตอ งไดงายโดยเฉพาะในชุมชน ถา สมาชิกไดรับการศึกษานอ ยอาจจะเป นสาเหตุหน่ึงทําใหชุมชนประสบกับปญ หาตา งๆ ทั้งทางดา นความปลอดภัย ดา นสุขภาพ และปญหา สังคมอ่ืนๆ ท่จี ะตามมาโดยไมค าดคิด หนว ยงานของทางราชการไมว าจะเปนหนว ยงานทางการศึกษา หรือหนวยงานทางการปกครอง ยอ มตองมีภาระรับผิดชอบในการวมกันพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ ดังน้ันถาหนวยงานของเรามี การรว มมือกันเปน อยา งดียอ มจะกอ ใหเกดิ ประโยชนมหาศาลแกสังคมและประเทศชาติได ในการประชุมสัมมนาครั้งน้ี ผมหวังเปนอยา งยิ่งวา ผูเ ขาประชุมสัมมนาทุกทานคงจะต้ังใจและ ใหค วามสนใจตลอดระยะเวลาของการประชุมสัมมนา เพ่ือนําความรูและประสบการณที่ไดไ ปปรับใชใน การพฒั นาทอ งถน่ิ ตามความเหมาะสมและศกั ยภาพของชุมชน ขอขอบคุณวิทยากร เจา หนา ที่ศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออก ผูอํานวยการศูนยก าร ศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั และผูท เี่ กยี่ วของทุกทาน ท่ีชวยทําใหโครงการน้ีดําเนินไปดวยความเรียบรอย ในโอกาสน้ีผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัว จงดล บันดาลใหผ ูเ ขา ประชุมสัมมนาทุกทา นจงประสบแตความสุข ความเจริญ และขอใหการประชุมสัมมนา คร้งั นด้ี าํ เนนิ ไปอยา งสมั ฤทธิผล ผมขอเปด การประชุมสัมมนาคณะกรรมการบริหารองคก ารบริหารสวนตําบล (อบต.)

104 | ห น า ภาคตะวนั ออก ปงบประมาณ 2551 ณ บดั น้ี การเขยี นตวั เลขไทย ตัวเลขไทยเกิดพรอมอักษรไทยมานานนับ 700 ป แตป จจุบันมีผูใ ชต ัวเลขไทย นอ ยมาก ดว ยเหตุน้ีจึงมีการรณรงคเ พื่อใหเ ห็นคุณคา และศิลปะของตัวเลขไทย ซึ่งคนไทยควรภูมิใจและ ใชอักษรไทยกบั เลขไทยเพื่อดาํ รงไวซ ง่ึ เอกลักษณทางภาษาไทยและเปนมรดกของชาตสิ บื ไป ลักษณะการเขียนตวั เลขไทย การเขยี นตวั เลขไทยเขยี นคลายกับการเขยี นอกั ษรคือมหี วั มหี างแทบทุกตวั บางตวั คลายตัวอักษร เชน เลข ๓ คลา ย ตัว ต เลข ๘ คลาย ๘ (ไมไตค ู) เปนตน การเขียน เลข ๙ ก็เขียนคลา ยกับตัวอักษรขอม คนจึงไมนิยมเขียนเพราะมีความรูสึกเขียนยาก ไมคอยมีโอกาสไดใ ช ประกอบกับแบบฟอรม ตางๆ ท่ีให กรอกขอ มลู มกั ใชเลขอารบคิ เปนสว นใหญ เพอ่ื เปน การสรา งจิตสํานึกของคนไทยในการอนุรักษการใชเลขไทยและเอกลักษณของชาติไทย ควรดาํ เนนิ การดงั น้ี 1. สง เสริมใหเ ด็กเขียนเลขไทยต้ังแตร ะดับอนุบาลขึ้นไปจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เชน การเขียน วันท่ี เดือน พ.ศ. ในแบบฟอรม การกรอกขอ มูลตา งๆ แลว ฝก ใหเขียนเลขไทย ๑-๑o แลวเพ่ิม จาํ นวนถงึ ๑o 2. ในการเขียนรายงานตา งๆ ไมวา จะเปน รายงานแบบเปน ทางการหรือไมเ ปนทางการ ก็ใชเลขไทยรวมทั้งการกรอกขอ มูลในบัตรประจําตัวประชาชน หรือการไปติดตอ ธุรกิจธนาคารควรใช เลขไทย 3. เขยี นตวั เลขทพ่ี บเหน็ ในชวี ิตประจาํ วันเปน ตวั เลขไทย เชน บา นเลขท่ี เลขท่ีซอย เลขทะเทียน รถเบอรโทรศพั ท ฯลฯ ควรเขยี นเปนเลขไทย ฉะน้นั บคุ คลทุกระดบั ทกุ เพศทกุ วยั ท้ังหนว ยงานของรัฐและ เอกชนควรหันมาใชเ ลขไทยพรอ มเพรียงกัน ซ่ึงเราคนไทยควรภูมิใจที่จะใชอ ักษรไทยกับเลขไทยคูก ัน เพอื่ เปน การสรา งจติ สาํ นึกและแสดงเอกลักษณทางภาษาและวฒั นธรรมอนั ดีของชาตไิ ทย 4. รัฐบาล สวนราชการ และหนว ยงานที่เก่ียวขอ งไมมีการกําหนดนโยบาย สัง่ การใหส ว น ราชการและหนวยงานเอกชนใชตวั เลขไทยในหนงั สอื ราชการและหนงั สอื ตดิ ตอ ราชการดว ยแสง 5. รณรงคใหประชาชนคนไทยใชเ ลขไทยในการเขียนและสื่อสารทุกประเภทตลอดเวลา ท้ังรณ รงคใหส อื่ สารมวลชนใชต วั เลขไทยดวย การสงเสริมการใชเลขไทย ภาษาไทย เพื่อเนนการสรางจิตสํานึกและอนุรักษเอกลักษณไทย น้ัน กระทรวงศึกษาธิการไดม หี นังสือขอความรว มมือสวนราชการในกระทรวงศึกษาธิการตามหนังสือที่ ศธ.o๒o๑ ๒/๔๓o ลงวันท่ี 10 มกราคม 2546 ขอความรว มมือ

ห น า | 105 จากสว นราชการ เรื่องการใชเลขไทย เลขศักราช เลขปพุทธศักราช และอนุรักษภ าษาไทยเพ่ือสรา งจิก สํานึกของคนไทยในการอนรุ กั ษเอกลกั ษณของชาติ ขอใหหนวยงานราชการใชเ ลขไทยในหนังสือราชการ ใชเลขศักราชเปน พุทธศักราช ในกิจกรรมทุกดา น ซ่ึงเปนนโยบายของรัฐบาลตัง้ แตป  2543 ในฐานะที่เป นคนไทยคนหนง่ึ จงึ ตอ งรว มอนรุ กั ษเ อกลักษณไ ทยภาษาไทยดว ยการใชเลขไทย

106 | ห น า เรือ่ งท่ี 2 หลักการแตงคาํ ประพนั ธ คําประพันธห รือรอยกรองมีหลายประเภท เชน โคลง กลอน กาพย ฉันท และ รา ยบทรอ ยกรองเปนขอความท่ปี ระดดิ ประดอยตกแตงคําภาษาอยา งมแี บบแผนและมีเงื่อนไขพิเศษบังคับ ไว เชน บังคับจาํ นวนคํา บังคับวรรค บังคับสัมผสั เรียกวา “ฉนั ทลกั ษณ” แนวทางการเขยี นบทรอยกรองมีดงั น้ี 1. ศึกษาฉันทลกั ษณของคําประพนั ธนน้ั ๆ ใหเ ขา ใจอยา งแจมแจง 2. คิดหรอื จนิ ตนาการวา จะเขยี นเรอ่ื งอะไร สรางภาพใหเกดิ ขึ้นในหวงความคิด 3. ลําดบั ภาพหรอื ลาํ ดับขอ ความใหเ ปนอยา งสมเหตผุ ล 4. ถา ยทอดความรูสึกหรอื จนิ ตนาการน้ันเปน บทรอยกรอง 5. เลอื กใชคาํ ทสี่ ือ่ ความหมายไดช ัดเจน ทําใหผ ูอา นเกิดภาพพจนและจินตนาการรว มกับผูประ พนั ธ 6. พยายามเลอื กใชคาํ ท่ไี พเราะ เชน คิด ใชคําวา ถวลิ ผูหญงิ ใชคาํ วา นารี 7. แตง ใหถ กู ตอ งตามฉนั ทลักษณข องคําประพนั ธ การเขยี นโคลงสี่สภุ าพ มีหลักการเขยี นดงั น้ี บทหนง่ึ มี 4 บาท บาทหนง่ึ มี 2 วรรค เรียกวรรคหนา กับวรรคหลัง วรรคหนา มี 5 พยางคท ุกบาท วรรคหลังของบาทที่หน่ึงที่สองและท่ีสามมี 2 พยางค วรรคหลังของบาทที่ส่ีมี 4 พยางค และอาจมีคําสร อยไดใ นวรรคหลงั ของบาทท่หี นึง่ และบาทท่ีสาม มีสัมผัสบังคับตามที่กําหนดไวในผังของโคลง ไมนิยม ใชสัมผัสสระ ใชแตส ัมผัสอักษร โคลงบทหน่ึงบังคับใชค ําท่ีมีวรรณยุกตเ อก 7 แหง และวรรณยุกตโ ท 4 แหง คาํ เอกผอนผนั ใหใชค ําตายแทนได

ห น า | 107 การเขยี นกลอนสภุ าพ มีหลกั การเขยี นดังน้ี บทหน่ึงมี 4 วรรคหรือ 2 บาทๆ ละ 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ วรรครอง วรรคสง แตละ วรรคมี 8 พยางค หรอื 7 หรอื 9 พยางคก ไ็ ด สัมผสั ใชพยางคสดุ ทายของวรรคทหี่ นึ่งสมั ผสั กับพยางคท ี่ 3 หรอื 5 ของวรรคท่ีสองและพยางค สุดทายของวรรคท่ีสอง สัมผัสกับพยางคสุดทายของวรรคท่ีสาม พยางคสุดทายวรรคที่สามสัมผัสกับ พยางคท ่ี 3 หรือ 5 ของวรรคท่ีสี่ และพยางคส ุดทา ยของวรรคที่ส่ี สัมผัสกับพยางคสุดทา ยของวรรคที่สอง ในบทตอไป เรียกวา สมั ผสั ระหวา งบท เสียงวรรณยุกตท ี่นิยมในการแตง กลอนมีดังน้ี คือ พยางคส ุดทายของวรรคที่สองตอ งใชเสียง จัตวา หรือเสียงเอก หรือเสียงโท และพยางคสุดทา ยของวรรคท่ีส่ี นิยมใชวรรณยุกตสามัญหรือเสียงตรี และพยางคน้ีไมนิยมใชเ สียงวรรณยุกตท ี่ซ้ํากับพยางคสุดทายของวรรคที่สองหรือพยางคสุดทา ยของ วรรคทีส่ าม

108 | ห น า การเขียนจะเกิดประสิทธิภาพอยางแทจ ริงจําเปน อยางยิง่ ท่ีผูเรียนจะตอ งมีความรูความเขา ใจใน งานเขียนทุกประเภท ทั้งงานเขียนท่ีเปน รอ ยแกว และรอยกรอง โดยเฉพาะอยา งยิง่ งานท่ีเขียนเปนรอ ยก รองน้ัน ผูเขียนตองพยายามจดจําฉันทลักษณข องรอ ยกรองแตล ะชนิดใหถูกตองแมม ยํา จึงจะสามารถ ส่อื สารกับผูอน่ื ไดอ ยางสมบูรณ การเขียนกาพย แบง ออกเปน กาพยย านี กาพยฉบัง กาพยสุรางคนางค กาพยขับไม (1) กาพยย านี 11 มีลักษณะบังคับของบทรอ ยกรอง ดงั น้ี คณะ คณะของกาพยยานีมีดังน้ี กาพยบทหน่ึงที่ 2 บาท บาทท่ี 1 เรียกวา บาทเอก บาทท่ี 2 เรยี กวา บาทโท แตล ะบาทมี 2 วรรค คอื วรรคแรกและวรรคหลงั พยางค พยางคห รือคําในวรรคแรกมี 5 คํา วรรคหลังมี 6 คํา เปน เชน น้ีท้ังบาทเอกและบาท โท จงึ นบั จาํ นวนไดบาทละ 11 คํา เลข 11 ซ่ึงเขยี นไวหลงั ชือ่ กาพยยานนี ้นั เพอื่ บอกจาํ นวนคาํ

ห น า | 109 ผงั ของกาพยยานี 1 บท สัมผัส มสี ัมผสั เสนอระหวา งคําสดุ ทา ยในวรรคหนง่ึ ไปคาํ ทสี่ ามอกี วรรคหน่ึง ดังผังขางบน สว น สัมผัสในนัน้ ยึดหยุน ได เสยี งวรรณยกุ ต มีขอ สงั เกตเก่ยี วกับการใชเสยี งวรรณยกุ ตใ นกาพยย านอี ยบู างประการคือ 1.1 คําสดุ ทายของวรรคหลงั ของบาทโท ใชเ สยี งวรรณยกุ ตสามญั และจตั วาสว นใหญ 1.2 ท่ใี ชค ําตายเสยี งตรี หรอื เอกก็มีบาง แตไ มค อ ยพบมากนกั วชิ าเหมอื นสนิ คา อน มีคา อยูเมอื งไกล ตองยากลําบากไป จงึ จะไดส ินคา มา จงตั้งเอากายเจา เปนสาํ เภาอันโสภา ความเพียรเปนโยธา แขนซายเปนเสาไป นว้ิ เปน สายระยาง สองเทาตางสมอใหญ ปากเปนนายงานไป อัชฌาสยั เปน เสบียง สตเิ ปน หางเสอื ถือทายเรือไวใหเทยี่ ง ถือไวอ ยา ใหเ อยี ง ตัดแลนเลี่ยงขามคงคา ปญ ญาเปน กลอ งแกว สอ งดแู ถวแนวหนิ ผา เจา จงเอาหตู า เปนลาตา ฟง ดูลม ขี้เกียจคอื ปลาราย จะทาํ ลายใหเ รอื จม เอาใจเปนปนคม ยิงระดมใหจมไป จงึ จะไดสินคามา คอื วชิ าอนั พศิ มัย จงหมั้นมั่นหมายใจ อยาไดครานการวิชาๆ 2. กาพยฉบัง 16 มีลกั ษณะบังคับของบทรอ ยกรอง ดงั น้ี

110 | ห น า คณะ กาพยฉบังบทหน่ึงมีเพียง 1 บาท แตม ี 3 วรรค คือ วรรคตน วรรคกลาง และวรรคทาย พยางค พยางคห รือคําในวรรคตน มี 6 คํา วรรคกลางมี 4 คํา วรรคทา ยมี 6 คํา รวมทัง้ บทมี 16 คาํ จงึ เขยี นเลข 16 ไวห ลงั ชอ่ื กาพยฉ บัง ฉบังสิบหกความหมาย หนึ่งบทเรียงราย นับไดสิบหกพยางค เพอ่ื เปน แนวทาง สัมผัสรัดตรึง สมั ผสั ชดั เจนขออาง รอ ยรัดจัดทํา ใหห นไู ดค ดิ คาํ นงึ จงจํานําไป พยางคสุดทายวรรคหนึ่ง สุดทายวรรคสองตองจํา สุดทายวรรคสามงามขํา สัมผสั รัดบทตอ ไป บทหนึ่งกับสองวองไว เรยี งถอยรอ ยกาพยฉ บงั อ.ภาทิพ ศรีสุทธิ์ 3. กาพยส รุ างคนางค มีลกั ษณะบังคับของบทรอ ยกรอง ดงั น้ี คณะ บทหนง่ึ มี 7 วรรค เรยี งได 2 วธิ ีตามผัง ดงั น้ี

ห น า | 111 สุรางคนางคนางค เจด็ วรรคจกั วาง ใหถ กู วธิ ี วรรคหนงึ่ สีค่ ํา จงจาํ ไวใ หด ี บทหนึ่งจึงมี ย่ีสิบแปดคาํ หากแตง ตอ ไป สัมผัสตรงไหน จงใหแ มน ยาํ คําทายวรรคสาม ตดิ ตามประจาํ สัมผสั กับคํา ทายบทตนแล อ.ฐปนยี  นาครทรรพ ประพันธ พยางค จํานวนคําในวรรค มีวรรคละ 4 คํา 7 วรรค รวมเปน 28 คํา จึงเขียนเลข 28 ไวหลัง ช่ือ กาพย สุรางคนางค สมั ผสั 1. มสี มั ผัสบังคับหรอื สมั ผัสนอก ดงั แสดงไวในผงั 2. เฉพาะหมายเลข (4) เปน สมั ผัสระหวา งบท 3. สัมผัสในยืดหยุนได บางทีก็เปนสัมผัสสระ บางทีก็เปน สัมผัสอักษร บางทีก็ไมม ีสัมผัสใน เลย มงุ เอาคาํ ที่มีความหมายเปนใหญ ฉันท แบง เปนหลายชนิด เชน อินทรวิเชียรฉันท ภุชงคประยาตฉันท วิชชุมมาลาฉันท มาณวก ฉันท วสันตดิลกฉันท อิทิ ฉันท เปน ตน และยังมีฉันทท ่ีมีผูป ระดิษฐข ึ้นใหมอีก เชน สยามมณีฉันท ของ น.ม.ส. เปน ตน 1. อนิ ทรวิเชยี รฉันท 11 อนิ ทรวเิ ชยี รฉนั ท 11 มีความหมายวา “ฉันทท่มี ลี ลี าดจุ สายฟาของพระอนิ ทร เปนฉันทท ี่นิยมแตง กันมากที่สุด มลี ักษณะและจาํ นวนคําคลายกบั กาพยยานี 11 แตต า งกันเพยี งที่วาอินทร วเิ ชยี รฉนั ทนี้มีขอบงั คับ ครแุ ละลหุ

112 | ห น า 1. อินทรวิเชยี รฉนั ท 11 มีลกั ษณะบังคับของรอยกรอง ดงั น้ี ตวั อยา งคําประพนั ธ พศิ เสนสรีรร ัว ยลเน้อื กเ็ นื้อเตน กร็ ะรกิ ระรวิ ไหว หติ โอเลอะหลงั่ ไป ทัว่ รา งและทัง้ ตัว ระกะรอยเพราะรอยหวาย และหลังละลามโล- เพง ผาดอนาถใจ จาก สามัคคีเภทคาํ ฉนั ท - ชติ บุรทตั คณะและพยางค อินทรวเิ ชยี รฉนั ทบทหนง่ึ มี 2 บาท เรยี กบาทเอกและบาทโท แตล ะบาทมี 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คาํ วรรคหลงั มี 6 คาํ รวมเปน 11 คํา ในแตละบาทเทากบั กาพยย านี สัมผสั บังคับสัมผสั 3 แหง คอื 1. คําสดุ ทา ยของวรรคแรกในบาทเอก สมั ผัสกบั คําที่ 3 ในวรรคหลงั 2. คําสดุ ทา ยของวรรคหลงั ในบาทเอก สมั ผสั กับคําสดุ ทา ยในวรรคแรกของบาทโท 3. คําสุดทา ยของวรรคหลังในบาทโทสัมผัสกับคําสุดทา ยในวรรคหลังของบาทเอกของฉันท บทตอไป ครุ-ลหุ มีการเรียง ครุ ลหุ ตามท่ีเขียนไวในแผน ถาจะดูเฉพาะลหุก็จะเห็นไดวา อยูที่คําที่ 3 ของ วรรคแรกและคําท่ี 1,2,4 ของวรรคหลงั เปนเชนน้ีทุกวรรคไป แตละบาทจะมีครุ 7 ลหุ 4 อยูในตําแหนงที่ แนนอนไมเปลย่ี นแปลง 2. ภุชงคประยาตฉนั ท 12 มีลกั ษณะบังคับของรอยกรอง ดงั น้ี ภุชงประยาต หรือ ภุชงคปยาต “ภุชงค” แปลวา งู หรือ นาค “ประยาต” แปลวาอาการหรือ อาการเลื้อยของงู ภุชงคประยาต จงึ แปลวา ฉันทที่มีลีลางดงามประดุจอาการเลื้อยของงู

ห น า | 113 ผังภมู ิ ตวั อยา ง นรินทรไทยมทิ อ ถอน มนัสไทยประณตไท มผิ ูกรักมิภกั ดิบ ร มิพึ่งบารมีบุญ ถลนั จว งทะลวงจ้ํา บรุ ุษนาํ อนงคหนุน บรุ ุษรุกอนงคร นุ ประจญรวมประจัญบาญ ฉนั ทย อเกยี รตชิ าวนครราชสมี า คณะและพยางค ภุชงคประยาฉันท บทหน่ึงมี 2 บาท แตล ะบาทมี 2 วรรค วรรคแรกและวรรค หลังมีจํานวนคําเทา กัน คือ มีวรรคละ 6 คํา รวม 2 วรรค เปน 12 คํา มากกวาอินทรวิเชียรฉันท เพียง 1 คํา เทา นนั้ สัมผัสบังคับเหมอื นอินทรวเิ ชียรฉนั ท แตก าํ หนดครุ ลหุ ตางกันไปเลก็ นอย สัมผัส บังคับสัมผัสตามผังดังที่โยงไวใ หด ู จึงเห็นไดวา บังคับสัมผัสเหมือนอินทรวิเชียรฉันท บางแหงกวีอาจใชส มั ผัสอักษรได ครุ-ลหุ มีการเรียน ครุ ลหุ ตามที่เขียนไวใ นผัง ถา จะดูเฉพาะ ลหุ ก็จะเห็นไดว า อยูท ่ีคําท่ี 1 และ คาํ ที่ 4 ทุกวรรค และเปน ระเบียบเชน น้ไี มเปลย่ี นแปลง 5. รา ย แบงเปน รายโบราณ รายสขุ ภาพ รายดน้ั และรา ยยาว รายยาวทเี่ รารูจ ักดี คือ รา ยยาว มหา เวสสนั ดรชาดก รายยาว คือรายไมมีกําหนดจํานวนคําในวรรคหนึ่งๆ วรรคทุกวรรคในรายอาจมีจํานวนคํา แตกตา งกนั คือมากบางนอยบาง ใชแตงขึ้นเปนบทเทศน เชน รายยาวมหาเวสสันดรชาดกเปนตนและราย ชนดิ นไี้ มต อ งอาศัยคําประพันธชนิดอ่ืน เรอื่ งใดประพันธเปนรา ยยาว ก็ใหเปน รายยาวตลอดทงั้ เรอ่ื ง ตัวอยาง อถ มหาสตฺโต ปางนัน้ สมเด็จพระเวสสันดรอดุลดวงกษัตริย ตรัสทอดพระเนตรเห็น พระอัครเรสถึงวิสัญญีภาพสลบลงวนั นน้ั พระทัยทาวเธอสําคัญวาพระนางเธอวางวาย จัดเอาวารีมาโสรจ สรงลงที่พระอุระพระมัทรี หวังวาจะใหชุม ชื่นฟน สมปฤดีคืนมา แหงนางพระยานั้นแล(รายยาวมหา เวสสนั ดรชาดก กัณฑม ทั รี)

114 | ห น า บัญญตั ิรายยาว คณะ คาํ ในวรรคหนง่ึ ๆ ไมจ าํ กดั จาํ นวนแนน อน วรรคหน่ึงจะมีกคี่ าํ ก็ได สัมผัส คําสุดทายวรรคหนา สงสัมผัสไปยังคําใดคําหนึง่ ในวรรคตอไปและสงรับกันเชนนี้ ตลอดไปจนจบรา ย คาํ สรอ ย สดุ ทา ยบทรา ยยาว ลงดวยคําสรอ ย เชน นน้ั เถดิ นน้ั แล นเ้ี ถิด เปน ตน คณะและพยางค รายสภุ าพบทหนง่ึ ๆ มตี ้ังแต 5 วรรคขึน้ ไป แตละวรรคมีคาํ 5 คํา จะแตง สักกีว่ รรค ก็ได แตตอนตบตองจบดวยโคลงสอง สัมผัส มสี ัมผัสสง ทายวรรค และมีสัมผัสรับเปนเสียงวรรณยุกตเดียวกันตรงคําที่ 1-2-3 คําใดคํา หนง่ึ จนถงึ ตอนทาย พอจะจบก็สงสัมผสั ไปยงั บาทตน ของโครงสองสุขภาพตอ จากนัน้ ก็บังคับสัมผัสตาม แบบของโคลงสองสุภาพ จึงถือวาคบรายแตละบท สว นสัมผัสในน้ันไมบ ังคับตรวจสอบอีกคร้ัง มีท้ัง สมั ผัสตรวจสอบอีกครงั้ คําเอก-คําโท มีบังคับคําเอก คําโท เฉพาะที่โคลงสองสุภาพตอนทายบทเทาน้ัน

ห น า | 115 คณะและพยางค รา ยสภุ าพบทหนึง่ ๆ มตี ง้ั แต 5 วรรคขึ้นไป แตละวรรคมีคํา 5 คาํ จะแตง สักก่วี รรค กไ็ ด แตต อนตบตองจบดวยโคลงสอง สมั ผสั มีสมั ผัสสงทายวรรค และมีสัมผัสรับเปน เสียงวรรณยุกตเ ดียวกันตรงคําท่ี 1-2-3 คําใดคํา หนง่ึ จนถงึ ตอนทา ย พอจะจบก็สง สัมผัสไปยังบาทตน ของโครงสองสุขภาพตอจากนัน้ ก็บังคับสัมผัสตาม แบบของโคลงสองสุภาพ จึงถือวา คบรายแตละบท สวนสัมผัสในน้ันไมบังคับตรวจสอบอีกครัง้ มีท้ัง สมั ผัสตรวจสอบอีกคร้งั คาํ เอก-คําโท มีบังคับคําเอก คําโท เฉพาะที่โคลงสองสภุ าพตอนทายบทเทาน้ัน คําสรอ ย รางสุขภาพแตละบท มีคําสรอ ยไดเพียง 2 คํา คือสองคําสุดทา ยของบทตอจากคําสุดท ายของโครงสองสุภาพ ตวั อยางรา ยสุภาพ ขาเการายอยาเอา อยารกั เหากวา ผม อยา รักลมกวา นา้ํ อยา รกั ถาํ้ กวา เรอื น อยา รกั เดอื นกวาตะวนั สบสง่ิ สรรพโอวาท ผูเ ปนปราชญพ ึงสดบั ตรับตรองปฏิบัติ โดยอรรถอนั ถอ งถว น (โคลงสอง) แถลงเลศเหตุเลือกลว น เลิศอางทางธรรม แลนา ฯ (สุภาษติ พระรว ง)

116 | ห น า เรอ่ื งที่ 3 มารยาทและนสิ ยั รกั การเขยี น มารยาทในการเขียน 1. ไมควรเขียนโดยปราศจากความรูเกีย่ วกับเรื่องนั้นๆ เพราะอาจเกิดความ ผดิ พลาด หากจะเขียนก็ควรศึกษาคนควาใหเกิดความพรอมเสียกอน 2. ไมเขียนเรื่องที่สงผลกระทบตอความมั่นคงของชาติหรือสถาบันเบื้องสูง 3. ไมเ ขยี นเพ่ือมงุ เนน ทําลายผูอ นื่ หรอื เพอ่ื สรา งผลประโยชนใ หแ กตน พวกพอ งตน 4. ไมเขยี นโดยใชอ ารมณส วนตวั เปนบรรทัดฐาน 5. ตองบอกแหลงที่มาของขอมูลเดิมเสมอ เพ่ือใหเกยี รตเิ จาของขอมลู นน้ั ๆ การสรา งนสิ ยั รกั การเขยี น ในการเร่ิมตนของการเขียนอะไรก็ตาม ผูเ ขียนจะเขียนไมออกถา ไมต ้ังเปา หมายในการเขียน ไวล วงหนา วาจะเขยี นอะไร เขยี นทาํ ไม เพราะการเขยี นเรอ่ื ยเปอยไมท าํ ใหง านเขยี นนา อา นและถาทําใหงาน ช้ินน้ันไมมีคุณคา เทา ที่ควร งานเขียนที่มีคุณคาคืองานเขียนอยา งมีจุดหมาย มีขอ มูลขา วสารไรพรมแดน ดงั เชนในปจ จบุ นั การมขี อมลู มากยอ มทําใหเ ปนผไู ดเปรยี บผูอ ่นื เปนอนั มาก เพราะยคุ ปจ จุบันเปนยุคแหง การแขงขันกันในทุกทางโดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจ ใครมีขอ มูลมากจะเปนผูไ ดเ ปรียบคูแ ขง ขันอ่ืนๆ เพราะการนําขอ มูลมาใชป ระโยชนไ ดเ ร็วกวา น้ันเอง การหม่ันแสวงหาความรูเ พื่อสะสมขอมูล ตา งๆ ใหต วั เองมากๆ จงึ เปน ความไดเปรยี บ และควรกระทําใหเปนนสิ ยั ตดิ ตวั ไป เพราะการกระทําใดๆ ถ าทําบอยๆ ทาํ เปน ประจาํ ในวนั หนง่ึ ก็จะกลายเปน นสิ ยั และความเคยชินท่ตี อ งทาํ ตอไป การคนควา รวบรวมขอ มูลเปน กิจกรรมท่ีจะทําใหเกิดความสนุกสนานทางวิชาการเพราะยิ่งค นควา ก็จะย่งิ ทาํ สงิ่ ท่ีนา สนใจมากขึ้น ผทู ่ฝี ก ตนใหเ ปน ผูใครรู ใครเ รียน ชอบแสวงหาความรูจะมีความสุข มากเมอ่ื ไดศึกษาคน ควา และไดพ บส่งิ แปลกๆใหมๆ ในภาษาไทย หรือในความรูแ ขนงอ่ืนๆ บางคนเมื่อค นควาแลวจะรวบรวมไวอยา งเปนระบบ สรปุ

ห น า | 117 การสรางนิสัยรักการเขียนและการศึกษาคนควา ตอ งเร่ิมจากเปนผูห ม่ันแสวงหา ความรู มีใจรกั ทจี่ ะเขยี น เหน็ ประโยชนก ารเขยี นและหม่นั ฝกฝนการเขยี นบอยๆ กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. การเขยี นอะไร มีความสําคัญอยา งไร 2. การจะเขยี นเพ่อื สง สารไดดีจะตองทาํ อยางไร กิจกรรมท่ี 2 1. ใหผูเ รียนศึกษารายละเอียดของจดหมายแตละประเภท ทั้งรูปแบบคําขึ้นตน คําลงทาย แบบ ฟอรม ฯลฯ จากจดหมายจริงขององคกร บริษัทและหนว ยราชการ แลว เขียนรายงานเสนอ กศน.ที่สอน เพ่อื ตรวจสอบและประเมินผลระหวางภาค 2. ใหวิเคราะหก ารเขียนจดหมายในยุคปจ จุบันวามีการสือ่ สารดวยวิธีอ่ืนอีกหรือพรอมท้ังยกตัวอย างประกอบดวย กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ ูเรียนหาโอกาสไปฟงการประชุมสาธารณะที่จัดขึ้นในชุมชน โดยอาจ นัดหมายไปพรอมกันเปนกลุม สังเกตวิธีการดําเนินการประชุม การพูดในที่ประชุม จดบนั ทกึ สง่ิ ท่ีรบั ฟง จากท่ีประชมุ แลวนํามาพดู คยุ แลกเปล่ียนความคิดเหน็ กบั เพอ่ื นๆ เมื่อมกี ารพบกลุม กจิ กรรมท่ี 4 ใ ห ผ ู เ รีย น เ ลือ ก จ ด บัน ทึ ก เห ตุ ก าร ณ ใ น ชีวิ ต ป ระ จํ า วัน โ ด ย เร่ิ ม ต้ั งแ ต วั นน้ี ไ ป จ น สิ้นสุดภาคเรียนพรอ มจัดลงใหก ับครู กศน. ตรวจ เพือ่ ประเมินใหเปนผลงานระหวาง ภาคเรยี น กจิ กรรม 5 ใหผ ูเขยี นเลขไทยตั้งแต ๑-o กจิ กรรม 6

118 | ห น า ใหผ ูเ รียนเขียนบทรอยกรองประเภทใดประเภทหนึ่งทีค่ ิดวาเพือ่ ถา ยทอดอารมณค วามรูสึก แลว นํามาเสนอตอกลุม หรอื ปด ปายประกาศใหเ พอ่ื นๆ อา นและตชิ ม กจิ กรรม 7 ใหผ ูเรียนศึกษาบทรอ ยกรองประเภทตา งๆ ท่ีไดร ับการยกยอ งหรือชนะการประกวด นําไป อภปิ รายรวมกบั ครูหรอื ผูเรยี น ในวนั พบกลุม กจิ กรรม 8 ใหผเู รยี นแบงกลุม แลวรวบรวมตวั อยางบทรอ ยกรองที่แตงดวยคําประพันธที่จับฉลากไดตอ ไปนี้ พรอ มทง้ั เขยี นแผนภูมปิ ระกอบใหถ ูกตอง และสงตวั แทนออกมาอธิบายในครั้งตอไปเมื่อพบกลุม 1. โคลงสีส่ ุภาพ 2. กลอนสภุ าพ 3. กาพยย านี 11 4. รา ยสภุ าพ

ห น า | 119 บทท่ี 5 หลกั การใชภาษา สาระสาํ คญั การเขา ใจธรรมชาติและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษาจะชว ยให ใชภ าษาแสวงหาความรู เสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ เกิดความภาคภูมิใจและรักษาภาษาไทยไวเ ป นสมบัติของชาติ ผลการเรยี นรูที่คาดหวัง เม่ือศึกษาบทน้ีจบคาดหวงั วาผูเ รยี นจะสามารถ 1. เขา ใจธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย 2. เขา ใจอทิ ธพิ ลของภาษาถิ่นและภาษาตา งประเทศทีม่ ีตอ ภาษาไทย 3. เขาใจความหมายใชศพั ทบ ญั ญตั ิ คําสมาส คําสนธแิ ละคาํ บาลี สันสฤต 4. ใชค าํ ราชาศัพทและคาํ สุภาพไดเหมาะสมกับบุคคล 5. เขาใจและใชส าํ นวน คาํ พังเพย สภุ าษติ 6. ใชพ จนานกุ รมและสารานกุ รมไดถกู ตอง ขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งที่ 1 ธรรมชาติของภาษา เรอ่ื งท่ี 2 ถอ ยคาํ สาํ นวน สุภาษติ คําพังเพย เรอ่ื งที่ 3 การใชพจนานกุ รมและสารานกุ รม เรอ่ื งท่ี 4 คําราชาศัพท

120 | ห น า เร่อื งท่ี 1 ธรรมชาติของภาษา ความหมายของภาษา ภาษา เปน คําที่เรายืนมาจากภาษา สันสกฤต ถา แปลตามความหมายของคําศัพทภาษา แปลวา ถ อยคาํ หรอื คาํ พูดทีใ่ ชพ ดู จากนั คาํ วา ภาษา ตามรากศพั ทเดมิ จงึ มีความหมายแคบคือหมายถึงคําพูดแตเ พียง อยางเดียว ความหมายของภาษาตามความเขาใจของคนท่วั ไป เปน ความหมายที่กวาง คือภาษา หมายถึง สื่อ ทกุ ชนดิ ทส่ี ามารถทําความเขาใจกันได เชน ภาษาพูดใชเสียงเปนส่ือ ภาษาเขียนใชต ัวอักษรเปน สื่อ ภาษา ใบใชก ริยาทา ทางเปนส่ือ ภาษาคนตาบอดใชอักษรท่ีเปนจุดนูนเปนส่ือ ตลอดท้ัง แสง สี และอาณัติ สญั ญาณตา งๆ ลวนเปน ภาษาตามความหมายน้ีท้ังสิ้น ความหมายของภาษาตามหลักวิชา ภาษา หมายถึง สัญลักษณท ี่มีระบบระเบียบและมีแบบแผน ทํ า ใ ห ค น เ ร า ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย กั น ไ ด  ภ า ษ า ต า ม ค ว า ม ห ม า ย น้ี จ ะ ต อ ง มี สว นประกอบสาํ คญั คอื จะตองมี ระบบสัญลักษณ + ความหมาย + ระบบการสรางคํา + ระบบไวยากรณ ในภาษาไทยเรามีระบบสัญลักษณ ก็คือ สระ พยัญชนะและวรรณยุกต ระบบการสรางคํา ก็คือ การนําเอา พยัญชนะ สระ และวรรณยุกตมาประกอบกันเปนคํา เชน พ่ี นอง พอ แม ฯลฯ ระบบไวยากรณ หรือเรา เรียกวา การสรางประโยคคอื การนาํ คาํ ตา งๆ มาเรียงกันใหส ัมพันธก ันใหเ กิดความหมายตางๆ ซึ่งเปน หน วยใหญข ึน้ เมื่อนาํ สวนประกอบตา งๆ สมั พนั ธกนั แลว จะทําใหเ กิดความหมาย ภาษาตองมีความหมาย ถา หากไมมีความหมายกไ็ มเ รียกวาเปน ภาษา ความสาํ คัญของภาษา 1. ภาษาเปน เครื่องมือในการติดตอสือ่ สาร ท่ีมนุษยใ ชส ่ือความเขา ใจกัน ถา ยทอดความรู ความคิด อารมณ ความรูสกึ ซึ่งกนั และกนั 2. ภาษาเปนเครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู ความคิดและความเพลิดเพลนิ 3. ภาษาเปน เคร่ืองมือในการประกอบอาชีพและการปกครอง โดยมีภาษากลางหรือภาษา ราชการใชใ นการสือ่ สารทําความเขาใจกันไดทงั้ ประเทศ ทั่วทุกภาค 4. ภาษาชว ยบันทึกถายทอดและจรรโลงวฒั นธรรมใหด าํ รงอยู เราใชภาษาบันทึกเรอ่ื งราวและเหตุ การณตา งๆ ในสังคม ตลอดทงั้ ความคิด ความเชอื่ ไวใ หค นรุนหลงั ไดท ราบและสบื ตออยางไมขาดสาย เมื่อทราบวา ภาษามีความสําคัญอยา งยิ่งสําหรับมนุษยแ ละมนุษยก็ใชภาษาเพ่ือการดําเนินชีวิต ประจําแตเ ราก็มีความรูเก่ียวกบั ภาษากนั ไมม ากนกั จงึ ขอกลาวถึงความรูเกยี่ วกบั ภาษาใหศึกษากันดงั น้ี 1. ภาษาใชเสยี งส่ือความหมาย ในการใชเ สยี งเพอ่ื สอื่ ความหมายจะมี 2 ลกั ษณะ คือ

ห น า | 121 1.1 เสยี งท่ีสมั พันธกบั ความหมาย หมายความวา ฟงเสียงแลว เดาความหมายไดเสียงเหลาน้ี มักจะเปน เสยี งที่เลยี นเสยี งธรรมชาติ เชน ครนื เปร้ียง โครม จกั ๆ หรอื เลยี น เสยี งสตั วรอ ง เชน กา อึง่ อา ง แพะ เจี๊ยบ ตุก แก 1.2 เสียงท่ีไมส ัมพันธกับความหมาย ในแตล ะ ภาษาจะมีมากกวาเสียงท่ีสัมพันธ กับความ หมาย เพราะเสยี งตางๆ จะมีความหมายวา อยางไรนนั้ ข้ึนอยูกับขอ ตกลงกันของคนที่ใชภ าษาน้ันๆ เชน ในภาษาไทยกาํ หนดความหมายของเสยี ง กิน วา นาํ ของใสป ากแลว เค้ียวกลืนลงคอ ภาษาอังกฤษใชเ สียง eat (อ๊ีท) ในความหมายเดยี วกันกับเสยี งกนิ 2. ภาษาจะเกดิ จากการรวมกันของหนวยเลก็ ๆ จนเปน หนว ยท่ีใหญข้นึ หนวยในภาษา หมายถึง สว นประกอบของภาษาจะมีเสียงคําและประโยค ผูใชภาษาสามารถ เพิ่มจาํ นวนคาํ จาํ นวนประโยคขน้ึ ไดม ากมาย เชน ในภาษาไทยเรามีเสียงพยัญชนะ 21 เสียง เสียงสระ24 เสียง เสียงวรรณยุกต 5 เสียง ผูเ รียนลองคิดดูวาเม่ือเรานําเสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกตมา ประกอบกันก็จะไดคํามากมาย นําคํามาเรียงตอ กันก็จะไดวลี และประโยค เราจะสรา งประโยคข้ึนได มากมาย และหากเรานําประโยคที่สรา งข้ึนมาเรียงตอกันโดยวิธีมารวมกัน มาซอนกันก็จะทําใหได ประโยคท่ยี าวออกไปเรอ่ื ยๆ 3. ภาษามกี ารเปล่ียนแปลง สาเหตุของการเปล่ียนแปลง 1. การพูดกนั ในชวี ิตประจาํ วัน สาเหตุน้อี าจจะทาํ ใหเ กดิ การกลมกลืนเสยี ง เชน เสยี งเดมิ วา อยางน้ี กลายเปน อยา งงี้ มะมว งอกพรอ ง กลายเปน มะมวงอกรอ ง สามแสน กลายเปน สามเสน สจู นเยบ็ ตา กลายเปน สจู นยบิ ตา 2. อทิ ธิพลของภาษาอน่ื จะเหน็ ภาษาองั กฤษมีอทิ ธพิ ลในภาษาไทยมากที่สดุ อยูในขณะน้ี เชน มาสาย มกั จะใชว ามาเลท(late) คําทักทายวา สวัสดี จะใช ฮัลโล (ทางโทรศัพท) หรือเปนอิทธิพลทางดานสํานวน เชน สาํ นวนทน่ี ยิ มพูดในปจจบุ นั ดงั น้ี “ไดรับการตอ นรับอยา งอบอุน” นา จะพูดวา “ไดร ับการตอนรับอยา งดี” “จับไข” นา จะพูดวา “เปนไข” นันทิดา แกว บัวสาย จะมาในเพลง “เธอ” นาจะพูดวา นันทิดา แกวบัวสาย จะมารองเพลง “เธอ” 3. ความเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดลอ ม เมื่อมีความเจริญขึ้น ของเกา ก็เลิกใช ส่ิงใหมก ็เขา มา แทนท่ี เชน การหุงขาวสมัยกอ นการดงขา วแตป จจุบันใชห มอ หุงขางไฟฟา คําวา ดงขาว ก็เลิกใชไ ปหรือ บา นเรือนสมัยกอนจะใชไ มไผป ูพื้นจะเรียกวา “ฟาก” ปจ จุบันใชกระเบื้อง ใชป ูน ปูแทนคําวา ฟากก็เลิก

122 | ห น า ใชไปนอกจากน้ียังมีคําอกี พวกทเี่ รียกวา คําแสลง เปน คําท่ีมีอายใุ นการใชส้นั ๆ จะนิยมใชเฉพาะวัยเฉพาะ คนในแตละยุคสมยั เม่ือหมดสมยั หมดวยั น้นั คาํ เหลาน้กี ็เลกิ ใชไ ป เชน กิก๊ จาบ ตัวอยา งคาํ แสลง เชน กระจอก กิ๊กกอ ก เจา ะแจะ ซา เวอ จาบ ฯลฯ ลักษณะเดนของภาษาไทย 1. ภาษาไทยมีตวั อักษรเปนของตนเอง เปน ที่ทราบวาภาษาไทยมีตัวอักษรมาต้ังแตคร้ังกรุงสุโขทัยแลว วิวัฒนาการตามความ เหมาะสมมาเรอ่ื ยๆ จนถึงปจ จบุ นั โดยแบงเปน 3 ลักษณะ คือ 1. เสยี งแท มี 24 เสยี ง ใชรปู สระ 32 รปู 2. เสยี งแปรมี 21 เสยี ง ใชร ูปพยัญชนะ 44 ตวั 3. เสยี งดนตรีหรอื วรรณยกุ ตม ี 5 เสยี ง ใชร ปู วรรณยกุ ต 4 รปู 2. ภ า ษ า ไ ท ย แ ท ม ี พ ย า ง ค เ ดี ย ว ห รื อ เ ป น ภ า ษ า คํ า โ ด ด แ ล ะ เ ป น คํ า ท่ี มี อิ ส ร ะ ใ น ตวั เอง ไมต องเปล่ียนรปู คาํ เม่อื นําไปใชในประโยค เชน เปนคาํ ทมี่ พี ยางคเดยี ว สามารถฟงเขาใจทันที คือ คาํ กริยา กิน นอน เดนิ นัง่ ไป มา ฯลฯ คาํ เรยี กเครอื ญาติ พอ แม ลุง ปา นา อา ปู ยา ฯลฯ คาํ เรยี กซ่ือสตั ว นก หนู เปด ไก มา ชาง ฯลฯ คําเรยี กช่อื ส่งิ ของ บาน เรอื น นา ไร เสอื้ ผา มีด ฯลฯ คําเรยี กอวยั วะ ขา แขน ตนี มอื หู ตา ปาก ฯลฯ เปนคาํ อสิ ระไมเปลีย่ นแปลงรปู คาํ เม่ือนาํ ไปใชใ นประโยค เชน ฉันกินขาว พอ ตีฉนั คําวา “ฉัน” จะเปนประธานหรือกรรมของประโยคก็ตามยังคงใชร ูปเดิมไมเ ปล่ียนแปลง ซึ่งตา ง ภาษาอังกฤษ ถา เปนประธานใช “I” แตเปน กรรมจะใช “ME” แทน เปน ตน คําทุกคําในภาษาไทยมี ลักษณะเปน อสิ ระในตวั เอง ซึ่งเปนลกั ษณะของภาษาคําโดด 3. ภาษาไทยแทมีตัวสะกดตามตรา ซึ่งในภาษไทยน้ันมีมาตราตะวสะกด 8 มาตรา คอื แม กก ใช ก สะกด เชน นก ยาก มาก เดก็ แม กด ใช ด สะกด เชน ผดิ คดิ ราด อด แม กบ ใช บ สะกด เชน กบ พบ ดาบ รบั แม กง ใช ง สะกด เชน จง ขัง ลิง กาง

ห น า | 123 แม กน ใช น สะกด เชน ขน ทนั ปาน นอน แม กม ใช ม สะกด เชน ดม สม ยาม ตาม แม เกย ใช ย สะกด เชน ยาย ดาย สาย เคย แม เกอว ใช ว สะกด เชน เรว็ หวิ ขา ว หนาว 4. คําคําเดียวกัน ในภาษาไทยทําหนาท่ีหลายหนาที่ในประโยคและมีหลายความหมาย ซ่ึงในหลัก ภาษาไทยเรียกวา คําพอ งรปู พอ งเสยี ง เชน ไกข นั ยามเชา เขาเปนคนมอี ารมณข นั เธอนาํ ขนั ไปตกั นํ้า ขนั ในประโยคท่ี 1 เปน คาํ กริยาแสดงอาการของไก ขันในประโยคท่ี 2 หมายถึงเปน คนทอี่ ารมณสนกุ สนาน ขันในประโยคท่ี 3 หมายถงึ ภาชนะหรอื สง่ิ ของ เธอจกั ตอก แตเ ขา ตอกตะปู ตอกคาํ แรกหมายถงึ สงิ่ ของ ตอกคําท่ี 2 หมายถึง กริยาอาการ จะเหน็ วาคําเดยี วกันในภาษาไทยทาํ หนา ท่ีหลายอยางในประโยคและมีความหมายไดหลายความ หมาย ซึง่ เปนลักษณะเดน อกี ประการหนง่ึ ของภาษาไทย 5. ภาษาไทยเปน ภาษาเรียงคํา ถาเรียงคําสลับกันความหมายจะเปลี่ยนไปเชน หลอนเปน นอ ง เพอ่ื นไมใ ชเพอ่ื นนอ ง คําวา “นอ งเพ่ือน” หมายถึงนอ งของเพ่ือน สว น “เพ่ือนนอง” หมายถึงเปนเพ่ือนของนอ งเรา (เพื่อนนอง ของเรา) โดยปกติ ประโยคในภาษาไทยจะเรียงลาํ ดบั ประธาน กริยา และกรรม ซ่งึ หมายถึงผูท ํา กริยาท่ีทํา และผถู ูกกระทํา เชน แมวกัดหนู ถา จะมคี ําขยายจะตอ งเรยี งคาํ ขยายไวห ลงั คําท่ีตอ งการขยาย เชน แมวดาํ กดั หนูอว น “ดาํ ” ขยายแมว และอวนขยายหนู แตถาจะมีคําขยายกริยา คาํ ขยายนัน้ จะอยหู ลงั กรรมหรอื อยูทายประโยค เชน หมูอวนกนิ ราํ ขา วอยางรวดเรว็ คําวา อยางรวดเรว็ ขยาย “กิน” และอยูหลงั ราํ ขาว ซึง่ เปน กรรม 6. ภาษาไทยมคี าํ ตามหลงั จาํ นวนนบั ซง่ึ ในภาษาไทยเรียกวา ลักษณะนาม เชน

124 | ห น า หนงั สอื 2 เลม ไก 10 ตวั ชา ง 2 เชอื ก แห 2 ปาก รถยนต 1 คัน คําวา เลม ตัว เชือก ปาก คัน เปน ลักษณะนามที่บอกจํานวนนับของส่ิงของ ซึ่งเปน ลักษณะเดน ของ ภาษาไทยอกี ประการหนง่ึ 7. ภาษาไทยเปนภาษาดนตรี หมายถึง มีการเปลี่ยนระดับเสียงได หรือเรียกกันวา “วรรณยุกต” ทําใหภาษาไทยมลี ักษณะพเิ ศษ คือ 7.1 มีคําใชมากขึ้น เชน เสือ เส่ือ เส้ือ หรือ ขาว ขาว ขาว เม่ือเติมวรรณยุกต ลงไปในคําเดิม ความหมายจะเปลี่ยนไปทันที 7.2 มีความไพเราะ จะสังเกตไดวา คนไทยเปน คนเจาบทเจากลอนมาแตโ บราณแลวก็เพราะ ภาษาไทยมวี รรณยุกตสงู ตํา่ เหมอื นเสยี งดนตรี ที่เออ้ื ในการแตงคําประพนั ธ เปนอยา งดี เชน “ชะโดดุกระดีโ่ ดด สลาดโลดยะหยอยหยอย กระเพอ่ื มนาํ้ กระพราํ่ พรอย กระฉอกฉานกระฉอนชล” จะเห็นวา เสียงของคําในบทประพันธน ้ีทําใหเ กิดจินตนาการหรือภาพพจนดังเหมือนกับเห็นปลาตา งๆ กระโดดขนึ้ ลงในนาํ้ ท่เี ปนละลอก 7.3 ภาษาไทยนิยมความคลองจอง ไมวาจะเปนสํานวนหรือคําพังเพยในภาษาไทยจะมีคํา คลอ งจอง เปน ทํานองสั่งสอนหรอื เปรียบเทียบอยูเ สมอ เชน รกั ดีหามจวั่ รกั ช่วั หามเสา นาํ้ มาปลากนิ มด น้ําลดมดกนิ ปลา ขา วยาก หมากแพง 7.4 คาํ ในภาษาไทยเลยี นแบบเสยี งธรรมชาติได เพราะเรามีเสยี งวรรณยุกตใ หใชถ ึง 5 เสียง เชน เลยี นเสยี งภาษาตางประเทศ เชน ฟตุ บอล วอลเลยบ อล เปาฮ้อื เตา เจย้ี ว ฯลฯ เลยี นเสยี งธรรมขาติ เชน ฟา รอ งครนื ๆ ฝนตกจก้ั ๆ ขาวเดอื ดคั่กๆ ระฆงั ดงั หงา งหงา ง ฯลฯ 8. ภาษาไทยมคี ําพองเสยี ง พองรปู คาํ พอ งเสยี ง หมายถึง คําทมี่ เี สยี งเหมอื นแตความหมายและการเขยี นตา งกัน เชน การ หมายถึง กิจ งาน ธรุ ะ กาน หมายถงึ ตดั ใหเ ตยี น กาฬ หมายถึง ดาํ

ห น า | 125 กาล หมายถึง เวลา การณ หมายถงึ เหตุ กานต หมายถงึ เปน ที่รกั กานท หมายถึง บทกลอน กาญจน หมายถึง ทอง คําพองรปู หมายถึง คาํ ท่รี ปู เหมอื นกันแตอ อกเสยี งและมีความหมายตา งกัน เชน - เพลา อา น เพ-ลา แปลวา เวลา - เพลา อา น เพลา แปลวา เบาๆ หรอื ตกั - เรอื โคลงเพราะโคลง อาน เรอื โคลงเพราะโค-ลง 9. ภาษาไทยมกี ารสรา งคาํ เปนธรรมชาติของภาษาทุกภาษาท่ีจะมีการสรางคําใหมอยูเ สมอ แตภาษาไทยมีการสรา งคํา มากมายซ่งึ ตางกับภาษาอนื่ จงึ ทําใหม ีคําใชใ นภาษาไทยเปนจาํ นวนมาก คือ 9.1 สรางคําจากการแปรเสยี ง เชน ชมุ -ชอมุ 9.2 สรางคําจาการเปลยี่ นแปลงเสยี ง เชน วธิ ี-พิธี วหิ าร-พหิ าร 9.3 สรา งคําจากการประสมคาํ เชน ตู+ เยน็ เปน ตูเยน็ , พดั +ลม เปนพดั ลม 9.4 สรางคําจากการเปลยี่ นตาํ แหนงคาํ เชน ไกไข-ไขไ ก, เดนิ ทาง-ทางเดนิ 9.5 สรางคําจากการเปลย่ี นความเชน นยิ าม-เรอ่ื งทีเ่ ลาตอๆ กันมา, นยิ าย-การพดู เท็จ 9.6 สรางคําจาการนาํ ภาษาอ่ืนมาใช เชน กวยเต๋ยี ว เตา หู เสวย ฯลฯ 9.7 สรา งคําจากการคิดต้งั คําขึ้นใหม เชน โทรทัศน พฤตกิ รรม โลกาภิวตั น 10. ภาษาไทยมีคําสรอยเสริมบทเพ่ือใชพูดใหเสียงล่ืนและสะดวกปากหรือใหเ กิดจังหวะนาฟง เพิ่มข้นึ ซึ่งในหลักภาษาไทยเราเรยี กวา “คาํ สรอ ย หรอื คําอุทานเสรมิ บท” เชน เรอ่ื งบาบอคอแตก ฉันไมช อบฟง ฉันไมเออออหอหมกดวยหรอก ไมไปไมเปยกนั ละ คาํ แปลกๆ ทข่ี ดี เสนใตน นั้ เปน คําสรอ ยเสริมบทเพราะใชพ ูดเสริมตอ ใหเ สียงล่ืนสะดวกปากและ นาฟง ซึ่งเราเรียกวา คําสรอยหรอื อุทานเสรมิ บท จาก 1 ถึง 10 ดังกลาว เปนลักษณะเดน ของภาษาไทย ซึ่งจริงๆ แลว ยังมีอีกหลายประการ ซ่ึง สามารถจะสงั เกตจากการใชภ าษาไทยโดย ทวั่ ๆ ไปไดอกี การยมื คาํ ภาษาอนื่ มาใชใ นภาษาไทย

126 | ห น า ภาษาไทยของเรามีภาษาอ่ืนเขามาปะปนอยูเ ปนจํานวนมาก เพราะเปนธรรมชาติของภาษาท่ีเปน เครือ่ งมือในการสื่อสาร ถา ยทอดความรูค วามคิดของมนุษยและภาษาเปน วัฒนธรรมอยา งหน่ึง ซึ่ง สามารถหยิบยืมกนั ไดโดยมีสาเหตจุ ากอทิ ธิพลทางภูมิศาสตร คือ มีเขตแดนติดตอ กันอิทธิพลทางประวัติ ศาสตรท มี่ กี ารอพยพถิน่ ทอี่ ยู หรือยใู นเขตปกครองของประเทศอ่ืน อิทธิพลทางดานศาสนาไทยเรามรการ นบั ถือศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต และอนื่ ๆ นอกจากน้ีอิทธิพลทางการศึกษา การคาขาย แลกเปลย่ี นเทคโนโลยี จงึ ทําใหเ รามีการยมื คาํ ภาษาอืน่ มาใชเ ปนจาํ นวนมาก เชน 1. ภาษาบาลี สนั สกฤต ไทยเรารบั พุทธศาสนาลัทธหิ ายาน ซ่งึ ใชภาษาสันสกฤตเปนเครือ่ งมือมา กอนและตอมาไดรบั พุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศม าอีกซ่ึงในภาษาบาลีเปน เครือ่ งมือในการเผยแพรไ ทยจึง รบั ภาษาบาลีสันสกฤตเขา มาใชในภาษาไทยเปนจาํ นวนมาก เชน กติกา กตเวทติ า กตัญู เขต คณะ จารีต ญตั ติ ทุจริต อารมณ โอวาท เกษียณ ทรมาน ภกิ ษุ ศาสดา สงเคราะห สตั ว อทุ ศิ เปนตน 2. ภาษาจีน ไทยกับจีนมีความสัมพันธก ันอยางใกลช ิดทางดา นเชื้อชาติ ถ่ินท่ีอยูการติดตอ ค าขาย ปจจุบันมีคนจีนมากมายในประเทศไทยจึงมีการยืมและแลกเปลีย่ นภาษาซึ่งกันและกัน ภาษาจีนที่ ไทยยืมมาใชเปน ภาษาพูดไมใ ชภ าษาเขียน คําที่เรายืมจากภาษาจีนมีมากมายตัวอยางเชน กวยจ๊ับ ขิม จบั กัง เจง ซวย ซอี ว้ิ ตวั๋ ทูชี้ บะหมี่ หา ง ยีห่ อ หวย บงุ ก้ี อง้ั โล เกาเหลา แฮก ึ้น เปนตน 3. ภาษาอังกฤษ ชาวอังกฤษ เขา มาเกี่ยวขอ งกับชาวไทยต้ังแตส มัยอยุธยา มีการคิดตอ คาขาย และในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการยกเลกิ อํานาจศาลกงสุลใหแกไ ทย และภาษาอังกฤษเปน ทีย่ อมรับกันทั่วโลก วา เปนภาษาสากลที่สามารถใชส่ือสารกันไดท ั่วโลก ประเทศไทยมีการสอนภาษาอังกฤษต้ังแต ประถมศึกษาจึงทําใหเ รายืมคําภาษาอังกฤษมาใชใ นลักษณะคําทับศัพทอ ยา งแพรหลาย เชน โฮเตล ลอตเตอรี่ เปอรเ ซ็นต บอย โนต กอลฟ ลิฟท สวิตช เบียร ชอลก เบรก กอก เกม เช็ค แสตมป โบนัส เทคนิค เกรด ฟอรม แท็กซ่ี โซดา ปม คอลัมน เปนตน และปจจบุ นั ยังมภี าษาอนั เกดิ จาการใชค อมพิวเตอร จาํ นวนหนง่ึ 4. ภาษาเขมร อาจดวยสาเหตุความเปน เพื่อนบา นใกลเคียงและมีการติดตอกันมาชา นานปะปน อยูในภาษาไทยบา ง โดยเฉพาะราชาศัพทและในวรรณคดีเชน บังคัล กรรไตร สงบ เสวย เสด็จ ถนอม เป นตน กจิ กรรม 1. ใหผูเรียนสังเกตและรวบรวม คําภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ภาษาจีน ภาษา อังกฤษ และภาษาอ่ืนๆ และเราใชกันในการพูดคุยและใชใ นการสือ่ สารมวลชนแลว บันทึกไว เพ่ือนําไป ใชใ นการรายงานและการสือ่ สารตอ ไป 2. แบงผูเรียนเปน 2-3 กลุม ออกมาแขงกันเขียนภาษาไทยแทบ นกระดาษกลุม ละ15-20 คํา พร อมกบั บอกขอสงั เกตวา เหตุผลใดจงึ คดิ วา เปน คาํ ไทย

ห น า | 127 การสรางคําข้ึนใชในภาษาไทย การสรา งคําในภาษาไทยมีหลายวธิ ี ท้งั วธิ ีเปนของเราแทๆ และวิธีท่ีเรานํามาจากภาษาอ่ืน วิธีท่ีเป นของเราไดแ ก การผันเสียงวรรณยุกต การซํ้าคํา การซอนคําและการประสมคํา เปน ตน สว นวิธีท่ีนํามา จากภาษาอน่ื เชน การสมาส สนธิ การเตมิ อปุ สรรค การลงปจจยั ดงั จะไดก ลา วโดยละเอยี ดตอไปน้ี 1. การผันเสียงวรรณยุกต วิธีการน้ีวรรณยุกตที่ตางออกไปทําใหไ ดค ําใหม เพ่ิมขน้ึ เชน เสอื เส่ือ เสือ้ นา นา นา นอง นอ ง นอ ง 2. การซํ้าคํา คือการสรา งคําดว ยการนําเอาคําที่มีเสียงและความเหมือนกันมาซ้ํากันเพื่อเปลี่ยน แปลงความหมายของคําแตกตางไปหลายลกั ษณะคือ 2.1 ความหมายคงเดมิ เขาก็ซนเหมอื นเดก็ ท่ัวๆ ไปลกู ยังเลก็ อยาใหน ่ังรมิ ๆไมป ลอดภัย 2.2 ความหมายเดนชดั ข้ึน หนกั ขึน้ หรอื เฉพาะเจาะจงขน้ึ กวาความหมายเดมิ สอนเทา ไหรๆ ก็ไมเช่อื กินอะไรๆ ก็ไมอ รอ ย บางคําตองการเนนความของคําใหม ากทีส่ ุดก็จะซ้ํา 3 คําดว ยการเปล่ียนวรรณยุกตของ คาํ กลาง เชน ดดี ๊ีดี บางบา งบาง รอรอรอ หลอ ลอหลอ เปนตน 2.3 ความหมายแยกเปนสดั สวนหรอื แยกจาํ นวน เชน เก็บกวาดเปนหอ งๆไปนะ(ทลี ะหอ ง) พูดเปน เรอ่ื งๆ ไป (ทลี ะเรอ่ื ง) 2.4 ความหมายเปน พหูพจนเมื่อซา้ํ คาํ แลวแสดงใหเหน็ วา มีจาํ นวนเพ่มิ ข้ึน เชน เขาไมเ คยกลบั บานเปนปๆ แลว เดก็ ๆ ชอบเลน ซน ใครๆ ก็รู ชา ๆ ไดพ ราสองเลมงาม กนิ ๆ เขา ไปเถอะ จะเห็นวา คําที่ซํ้ากันจะมีทั้งคํานาม กริยา คําสรรพนาม และจะมีการบอกเวลา บอก จาํ นวนดวย 2.5 ความหมายผดิ ไปจากเดมิ หรอื เมอ่ื ซาํ้ แลว จะเกดิ ความหมายใหมห รือมีความหมายแฝง เช น เรอ่ื งหมๆู แบบน้สี บายมาก (เรอ่ื งงายๆ) อยๆู ก็รอ งขนึ้ มา (ไมมีสาเหต)ุ

128 | ห น า จะเห็นไดวาการนําคํามาซํ้ากันน้ันทําใหไดค ําที่มีรูปและความหมายแตกตางออกไป ดังน้ันการ สรางคําซา้ํ จงึ เปนการเพม่ิ คาํ ในภาษาไทยใหมีมากขึ้นอยางหนง่ึ 3. การซอ นคํา คือการสรางคําโดยการนําเอาคําต้ังแตส องคําข้ึนไปซึ่งมีเสียงตา งกันแตมี ความหมายเหมือนกันหรือคลายคลึงกันหรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย รัก ใคร หลงใหลบา นเรือน เปนตน ปกติคําที่นํามาซอนกันน้ันนอกจากจะมีความหมายเหมือนกันหรือใกล เคียงกันแลว มักจะมีเสียงใกลเ คียงกันดวย ทั้งน้ีเพ่ือใหอ อกเสียงไดงา ย สะดวกปาก คําซอ นทําใหเ กิดคํา ใหมห รือคําที่มีความหมายใหมเ กิดขึน้ ในภาษา ทําใหม ีคําเพ่ิมมากขึน้ ในภาษาไทย อันจะชวยใหการส่ือ ความหมายและการสื่อสารในชีวิตประจําวันมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน คําที่นํามาซอนกันแลวทําใหเกิด ความหมายน้นั แบง เปน2 ลักษณะ คอื 3.1 ซอนคําแลว มีความหมายคงเดิม การซอ นคําลักษณะน้ีจํานําคําท่ีมีความหมายเหมือน กันมาซอนกันเพ่ือไขความหรอื ขยายความซ่ึงกันและกัน เชน วางเปลา โงเ ขลา รูปรา ง ละทิง้ อิดโรย บาด แผล เปนตน 3.2 ซอนคําแลวมีความหมายเปลีย่ นแปลงไปจากเดมิ คําซอ นทเ่ี ปน คําทเ่ี กิดความหมายใหมน ้ี ลกั ษณะคอื ก. ความหมายเชงิ อุปมา เชน ยุงยาก ออ นหวาน เบิกบาน เปนตน ข. ความหมายกวา งออก เชน เจบ็ ไข พน่ี อง ทุบตี ฆาฟน เปน ตน ค. ความหมายแคบเขา เชน ใจดาํ ปากคอ ญาตโิ ยม หยิบยืม นํ้าพักนํ้าแรง สม สุกลูก ไม เปนตน การแยกลกั ษณะคําซอ นตามลกั ษณะการประกอบคําน้ันจะมีลักษณะคําซอ น 2 คําและคําซอนมา มากกวาสองคํา เชน บา นเรือน สวยงาม ยากดีมีจน เจ็บไขไ ดป วย อดตาหลับขับตานอน จับไมไดไ ลไ ม ทนั เปน ตน 4. การสรา งคาํ ประสม การสรางคําขึน้ ใชในภาษาไทยสว นหนง่ึ จะใชว ิธีประสมคําหรือวิธีการ สรา งคําประสม โดยการนําเอาคําท่ีมีใชอยูในภาษาไทย ซ่ึงมีรูปคําและความหมายของคําแตกตา งกันมา ประสมกันเพื่อใหเกิดคําใหม และมีความหมายใหมในภาษาไทย เชน พัดลม ไฟฟา ตูเย็น พอ ตา ลูกเสือ แมน าํ้ เรอื รบ นาํ้ หอม นํา้ แขง็ เมอื งนอก เปน ตน คาํ ทีน่ ํามาประสมกันจะเปน คําไทยกบั คําไทยหรอื คาํ ไทยกับคาํ ตา งประเทศก็ได เชน - คาํ ไทยกับคาํ ไทย โรงเรยี น ลกู เขย ผีเสื้อ ไมเทา เปน ตน - คําไทยกับคาํ บาลี หลกั ฐาน (หลกั คาํ ไทย ฐานคําบาล)ี สภากาชาด พลเมอื ง ราชวงั ฯลฯ - คาํ ไทยกับคําสันสกฤต ทุนทรพั ย (ทนุ คาํ ไทย ทรพั ยค ําสันสกฤต) - คาํ ไทยกบั คาํ จนี เยน็ เจี๊ยบ (เยน็ คําไทย เจยี๊ บคําภาษาจีน) หวย

ห น า | 129 ใตด นิ นายหาง เกง จนี กินโตะ เขาหนุ ฯลฯ - คาํ ไทยกับคาํ เขมร ละเอยี ดลออ (ละเอยี ดคาํ ไทย ลออคําเขมร) ของ ขลงั เพาะชํา นายตรวจ - คาํ ไทยกับคําองั กฤษ เส้อื เช้ติ (เสอ้ื คาํ ไทย เช้ติ คําองั กฤษ) พวงหรดี เหยือกนํ้า ตูเ ซฟ นายแบงค ไขกอก แปป นํ้า ฯลฯ 5. การสรางคําไทยโดยการนําวิธีการของภาษาอื่นมาใช การสรา งคําของภาษาอ่ืนท่ีนํามาใชใน ภาษาไทย ไดแก 5.1 การสรางคําของภาษาบาลแี ละสนั สกฤต คือ ก. วิธีสมาส สมาสเปนวิธีสรา งศัพทอ ยางหน่ึงในภาษาบาลี สันสกฤตโดยการนําคํา ศัพทต ้ังแต2 คําขึ้นไปรวมเปน ศัพทใหมศัพทเดียว จะมีลักษณะคลา ยกับคําประสมของไทย แตค ําสมาส น้ันเปนคําท่ีมาขยาย มักจะอยูห นา คําหลัก สวนคําประสมของไทยน้ันคําขยายจะอยูขา งหลัง เชน คําวา มหาบุรุษ คาํ วามหาบุรุษ คําวามหา แปลวา ยิ่งใหญ ซ่ึงเปน คาํ ขยาย จะอยูหนา คําหลกั คือ บรุ ษุ ดงั น้ัน คําวา มหาบุรุษ แปลวา บรุ ุษผยู ่งิ ใหญ ซงึ่ ตางจากภาษาไทย ซง่ึ สว นมากจะวางคาํ ขยายไวหลงั คําท่ถี กู ขยาย ตวั อยา งคาํ สมาสในภาษาไทย พลศึกษา ประวตั ิศาสตร ปรยิ ัติธรรม กามเทพ เทพบุตร สนุ ทรพจน วิศวกรรม วิศวกร อากาศ ยาน สวสั ดกิ าร คหกรรมศาสตร วิทยาศาสตร วิทยากร พิธีกร ชีพจร มหกรรม ประวัติศาสตร โทรทัศน โทรเลข วารสาร นิตยสาร จุลสาร พิพิธภัณฑ วินาศกรรม อุบัติเหตุ ปญ ญาชน รมณียสถาน สังฆทาน กจิ กรม อุทกภัย วทิ ยุศึกษา หตั ถศกึ ษา เปน ตน (ข) วิธีลงอุปสรรค วิธีสรา งคําในภาษาบาลีและสันสกฤตน้ันมีวิธีลงอุปสรรค (หรือบทหนา) ประกอบขางหนาศพั ทเพื่อใหไ ดคําทมี่ ีความหมายแตกตา งออกไป ซึ่งไทยเราไดนํามาใชจาํ นวนมาก เชน อธิ+การ เปน อธกิ าร(ความเปน ประธาน) อนุ+ญาต เปน อนญุ าต (การรบั รู) อธิ+บดี เปน อธบิ ดี (ผเู ปน ใหญ) อน+ุ ทิน เปน อนทุ นิ (ตามวนั ,รายวนั ) อป+มงคล เปน อปั มงคล(ไมม ีมงคล) วิ+กฤต เปน วกิ ฤต (แปลกจากเดมิ ) อป+ยศ เปน อปั ยศ (ไมม ียศ) ว+ิ เทศ เปน วเิ ทศ (ตางประเทศ) คําที่ลงอุปสรรคดังกลาวน้ีจัดวาเปนคําสมาส ทั้งนี้เพราะวิธีลงอุปสรรคเปนการรวบรวมศัพท ภาษาบาลีและสันสกฤตเขาดวยกันและบทขยายจะวางอยูหนา บทที่ถูกขยายในภาษาบาลีและสันสกฤต การลงอปุ สรรคเขาขา งหนา คํา เปนวิธกี ารสมาสวธิ ีหนง่ึ นอกจากนี้ การลงอุปสรรคของภาษาบาลี ถูกนํามาใชในภาษาไทยแลว ไทยเรายังนําวิธีการลง อปุ สรรคมาใชก ับคําไทยและคาํ อนื่ ๆ ในภาษาไทยอกี ดว ย เชน

130 | ห น า สมรู หมายความวา รว มคิดกนั สมทบ หมายความวา รว มเขาดวยกัน ค. การสนธิ การสรางคําในภาษาบาลี สันสกฤต ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปคํา อันเนื่องมาจากการ เปลย่ี นแปลงทางเสยี ง ซง่ึ เราเรียกวา “สนธิ” สนธิ เปนการเปล่ียนแปลงเสยี ง การสนธเิ ปนวิธีการสมาส โดยการเชื่อมคําใหกลมกลืนกัน คือท ายเสียงคําตน กับเสียงของคําที่นํามาตอ จะกลมกลืนกัน เปน วิธีสรา งคําใหมในภาษาวิธีหน่ึง วิธีสนธิมี 3 วธิ ีคือ 1. สระสนธิ คือการรวมเสียงสระตัวทายของคํานําหนากับสระตัวหนา ของคําหลังใหก ลมกลืน สนทิ กันตามธรรมชาติการออกเสยี ง อะ+อ เปน อา เชน สขุ +อภิบาล = สุขาภิบาล อะ+อุ หรอื อู เปน อุ อู หรอื โอ เชน อรณุ +อทุ ัย = อรุโณทัย ราช+อปุ โภค = ราชูปโภค ฯลฯ 2. พยัญชนะสนธิ เปนลักษณะการเชื่อมและกลมกลืนเสียงระหวา งคําที่สุดศัพทดวยพยัญชนะ กับคําท่ขี ้นึ ตน ดว ยพยญั ชนะหรอื สระ เม่ือเสยี งอยูใกลกัน เสยี งหนง่ึ จะมอี ทิ ธิพลดึงเสียงพยัญชนะอีกเสียง หนง่ึ ใหมีลกั ษณะเหมอื นหรอื ใกลเคียงกัน พยัญชนะสนธิน้ีจะมีเฉพาะในภาษาสันสกฤตเทาน้ัน ในภาษา บาลีไมม ีเพราะศัพทใ นภาษาบาลีทกุ คาํ ตองสุดศัพทด ว ยสระ ตวั อยา ง เชน ธต เปลย่ี น เปน ทธ เชน พุธ+ต = พุทธ ราชน+บตุ ร = ราชบุตร ไทยใช ราชบุตร กามน-เทว = กามเทว ไทยใช กามเทพ 3. นฤคหติ สนธิ สนธนิ ิคหิตจะมีลักษณะการตอเช่ือมและกลมกลืนเสียงระหวางคําตน ท่ีลงทายด วยนิคหิต กับคําท่ีข้ึนตนดวยสระหรือพยัญชนะนิคหิตเทียบไดกับเสียงนาสิก ดังน้ัน นิคหิตจะกลายเปน นาสิกของพยัญชนะตัวที่ตามมา คือ ง ญ น ณ ม ถาตัวตามนิคหิตอยูวรรคเดียวกับ ง ก็จะเปลี่ยนเปน ง ถา อยูวรรคเดยี วกบั ญ หรอื น หรอื ณ หรอื ม ก็จะเปลย่ี นเปน ญ น ณม ตามวรรค เชน สํ + เกต = สงั เกต (เครื่องหมายรู) สํ + ถาร = สันถาร (การปูลาด) สํ + พนธ = สัมพันธ การนําวิธีการสรา งคําแบบคําสมาส คําลงอุสรรคและวิธีสนธิในภาษาบาลีสันสกฤตมาใชใ น ภาษาไทย ถอื วา เปนการสรางคําหรอื เพิ่มคําในภาษาไทยมีมาก

ห น า | 131 5.2 การสรา งคําของภาษาเขมร ไทยไดนําเอาวิธีสรา งคําของเขมรคือการแผลงคํามาใชใน ภาษาไทย ซง่ึ วธิ ีแผลงคาํ ในภาษาเขมรมหี ลายวธิ ีแตไ ทยเรานํามาใชบางวธิ เี ทาน้ัน คําแผลง คือ คําที่เปล่ียนแปลงตัวอักษรใหม ีรูปลักษณะตา งไปจากคําเดิมแตย ังคงรักษาความ หมายเดมิ หรอื เคา เดมิ เอาไวใ หพ อสงั เกตได วิธแี ผลงคําในภาษาไทย ท่ีนํามาจากภาษาเขมรบางวิธคี อื 1. ใชว ธิ ีเติม อํา ลงหนา คําแผลงใหมแ ตค งรปู สระเดมิ ไวท ีพ่ ยางคห ลงั เชน ตรวจ เปน ตาํ รวจ เกดิ เปน กําเนิด เสรจ็ เปน สาํ เรจ็ เสยี ง เปน สาํ เนยี ง 2. ใชว ิธีเติมอุปสรรค (หนวยหนาศัพท) บํ (บ็อม) ลงหนา คําแผลงสวนใหญ ไทยนาํ เอามาออกเสยี ง บงั บนั บํา เชน เกดิ ลงอปุ สรรค บํ เปน บํเกดิ ไทยใชบงั เกิด ดาล ลงอปุ สรรค บํ เปน บํดาล ไทยใชบนั ดาล การแผลงคําเปนวิธีสรางคําข้ึนใชใ นภาษาวิธีหน่ึงซึ่งไทยเอาแบบอยา งมาจากภาษาเขมรและ ภาษาอน่ื เชน ภาษาบาลี สันสกฤต เชน อายุ เปน พายุ อภริ มย เปน ภริ มย ไวปลุย เปน ไพบูลย มาต เปน มารดา การแผลงคําของภาษาบาลี สันสกฤต สว นใหญเพ่อื จะไดออกเสยี งในภาษาไทยไดง ายและไพเราะขน้ึ ศพั ทบัญญัติ ศพั ทบญั ญตั ิ หมายถงึ คาํ เฉพาะวงการหรอื คาํ เฉพาะวชิ าที่ผูคิดขน้ึ เพือ่ ใชส ื่อความหมายในวงการ อาชีพหรือในวิชาการแขนงใดแขนงหน่ึงโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะการศึกษาของเราไดข ยายตัวกวางขวาง มากขึน้ การศึกษาจากตา งประเทศก็มีมากขึ้น เราตองรับรูค ําศัพทของประเทศเหลาน้ันโดยเฉพาะคําศัพท ภาษาอังกฤษ ปจจบุ นั มีศัพทบญั ญตั ทิ ่ใี ชกนั แพรห ลายโดยทัว่ ไปจาํ นวนมากซ่งึ ผเู รยี นคงจะเคยเหน็ และเคยไดฟ  งจากสอ่ื มวลชน ซึง่ จะเปนคําศพั ทเก่ยี วกบั ธรุ กิจ กฎหมาย วทิ ยาศาสตร ฯลฯ จะขอยกตัวอยางเพยี งบางคําดงั น้ี สินเช่อื Credit หมายถึง เงนิ ทเ่ี ปนหนไ้ี วด ว ยความเช่ือถือ เงนิ ฝด Deflation หมายถึง ภาวะเศรษฐกิจท่ีมีปริมาณเงินหมุนเวียน ในประเทศมีนอ ย การใชจ ายลดนอ ยลงทาํ ใหสนิ คา ราคาตก

132 | ห น า เงนิ เฟอ Inflation หมายถึง ภาวะเศรษฐกิจท่ีปริมาณเงินหมุนเวียนใน ประเทศมีมากเกินไป ทําใหราคาสินคา แพงและเงินเสื่อมคา ทุนสาํ รอง ตกตํ่า ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมีนอยการใชจ าย ทนุ สํารองเงนิ ตรา ลดนอ ยลง ทําใหสนิ คาราคาตก เงนิ ปน ผล Reserve fund หมายถึง เงินท่ีกันไวจากผลกําไรของ กลอ งโทรทรรศน หางหุนส วนบริษัทตามที่กําหนดไวใ นก ฎหมาย หรือขอ บังคับ กลอ งจลุ ทรรศน ของหา งหุน สว น บรษิ ัทนน้ั ๆ จรวด Reserve หมายถึงทองคํา เงินตราตางประเทศหรือหลักทรัพย ขปี นาวธุ ตางๆ ซึ่งใชเ ปนประกนั ในการออกธนบตั รหรอื ธนาคารบตั ร Dividend หมายถงึ สว นกําไรทบี่ ริษทั จํากัดจา ยใหแ กผูถ อื หุน จรวดนาํ วิถี Telescope กลอ งท่ีสอ งดูทางไกล Microscope กลองขยายดูของเลก็ ใหเหน็ เปนใหญ Rocket หมายถึง อาวุธหรือยานอวกาศที่ขับเคลื่อนดว ย ความเร็วสูงโดยไดเชื้อเพลิงในตัวเองเผาไหมเปน แกส พุง ออกมา จากสวนทา ยมที ้ังชนดิ ทใ่ี ชเชอ้ื เพลงิ แขง็ และชนดิ เชอ้ื เพลงิ เหลว Missile หมายถึง อาวุธซึ่งถูกสง อกไปจากผิวพิภพเพ่ือใช ประหัตประหารหรือทําลายในสงคราม โดยมีการบังคับทิศทาง ในตัวเอง เพ่ือนําไปสูเปา หมายการบังคับทิศทางนีบ้ ังคับเฉพาะ ตอนข้ึนเทานน้ั Guided Rocket หมายถึง ขีปนาวุธนําวิธีซึ่งขับเคลื่อน ดวยจรวด จานบิน Flying Saucer หมายถึง วัตถุบิน ลักษณะคลา ยจาน 2 ใบ ดาวเทยี ม ควํ่ าป ร ะ ก บ กัน มีผู อ า ง ว า เ คย เ ห็น บิ นบ นท อ งฟ า แล ะมี บ าง ค น เชื่อวาเปน ยานอวกาศมาจากนอกโลกหรือจากดาวดวงอ่ืน บาง คร้ังก็เรียกวา จานผี Satellite หมายถึง วัตถุท่ีมนุษยส รา งข้ึนเลียนแบบดาวบริวาร ของดาวเคราะห เพ่ือใหโ คจรรอบโลกหรือรอบเทหฟากฟาอ่ืน มีอุปกรณโทรคมนาคมดวย เชน การถายทอดคลื่นวิทยุและ โทรทัศนข ามประเทศขามทวปี เปน ตน

ห น า | 133 แถบบันทึกเสยี ง Audiotape หมายถึง แถบเคลือบสารแมเหล็กใชบ ันทึก สญั ญาณเสยี ง แถบบันทึกภาพ,แถบวีดิทัศน Videotape หมายถึง แถบเคลือบสารแมเหล็กใช บันทึกสัญญาณภาพ โลกาววิ ัตน Globalization หมายถงึ การทาํ ใหแพรหลายไปทัว่ โลก คาํ ศัพทบ ัญญัติที่ยกมาลว นมีความหมายท่ีตองอธิบายและมักจะมีความหมายเฉพาะดานท่ีแตกต างไปจากความเขาใจของคนทัว่ ไป หากผูเ รียนตอ งการทราบความหมายท่ีถูกตองควรคนควา จาก พจนานุกรมเฉพาะเร่ือง เชน พจนานุกรมศัพทแพทย พจนานุกรมศัพทธ ุรกิจ พจนานุกรมชางและ พจนานุกรมศัพทก ฎหมาย เปน ตน หรือติดตามขา วสารจากส่ือตางๆท่ีมีการใชค ําศัพทเ ฉพาะดา นจะชวย ใหเ ขาใจดีขนึ้ เพราะคําศัพทบญั ญตั เิ หมาะสมทีจ่ ะใชเฉพาะวงการและผมู ีพื้นฐานพอเขาใจความหมายเทา นัน้ กิจกรรม 1. ใหผ ูเ รียนรวบรวมคําศัพทบัญญัติจากหนังสือพิมพแ ละหนังสืออ่ืนๆ แลว บันทึกไวในสมุด เพอ่ื จะไดนาํ ไปใชใ นการพูดและเขยี นเม่ือมีโอกาส 2. ผสู อนยกคํามาถามที่เหน็ สมควรใหผูเ รยี นชว ยกนั แยกวาเปนคําสมาสหรอื คําประสม ประโยคในภาษาไทย ประโยคตอ งมีความครบ สมบูรณ ใหรูวา ใครทําอะไร หรือกลา วอีกอยา ง หนง่ึ วา ประโยคตอ งประกอบดว ยประธานและกริยาเปน อยา งนอย เราสามารถแยกประโยคไดเ ปน 3 ชนดิ คือ ก. ประโยคแจง ใหท ราบ หรือประโยคบอกเลา ประโยคชนิดน้ีอาจจะเปน ประโยคส้ันๆ มีเพียง คาํ นามทําหนา ทป่ี ระธาน คํากริยาทําหนาที่เปนตัวแสดง เชน คนเดิน นกบิน แตบางทีอาจจะเปน ประโยค ยาวๆ มคี วามสลบั ซบั ซอ นย่งิ ข้นึ ซง่ึ มคี ํานาม คํากรยิ า หลายคํา กไ็ ด ถา ประโยคแจง ใหท ราบนนั้ มเี นือ้ ความปฏิเสธก็จะมีคําปฏิเสธ เชน ไมมี หามิได อยูดวย เชน เขา ไมม ารวมประชุมในวนั น้ี ข. ประโยคถามใหตอบหรอื ประโยคคาํ ถาม เปนประโยคที่ผูพูดใชถามขอความเพื่อใหผูฟ งตอบ รูปประโยคคําถามจะมีคํา หรือไหม ใคร อะไร ท่ีไหน ก่ี เมื่อไร อยางไร ฯลฯ แตถา ประโยคถามใหตอบ เปนประโยคถามใหต อบท่ีมีเนอ้ื ความปฏิเสธก็จะมคี ําปฏิเสธอยดู ว ย

134 | ห น า ค. ประโยคบอกใหท ําหรือประโยคคําส่ัง เปนประโยคที่ผูพูดใชเ พ่ือใหผูฟ งกระทําอาการบางอย างตามความตองการของผูพูด การบอกใหผูอ ่ืนทําตามความตอ งการของตนน้ันอาจตอ งใชวิธีขอรอ งออน วอน วงิ วอน เชญิ ชวน บังคับ ออกคําสัง่ ฯลฯ การเรียงลําดับในประโยค การเรียงลําดับในภาษาไทยมีความสําคัญมากเพราะถา เรียงลําดับตางกันความสัมพันธ ของคาํ ในประโยคจะผิดไป เชน สนุ ขั กดั งู สุนัขเปน ผทู าํ งูเปนผูถ ูกกระทํา งูกัดสนุ ขั งเู ปน ผูท าํ สนุ ัขเปน ผูถ ูกกระทํา โครงสรา งของประโยค ประโยคในภาษาไทยแบง เปน 3 ชนดิ คอื ก. ประโยคความเดยี ว คอื ประโยคทีม่ งุ กลา วถงึ สิ่งใดสิง่ หน่ึงเพียงส่ิงเดียวและส่ิงน้ันแสดงกิริยา อาการหรอื อยใู นสภาพอยา งใดอยา งหนง่ึ แตเ พยี งอยา งเดียว ประโยคความเดยี วแบงออกเปนสว นสําคัญ 2 สว น คอื ภาคประธานและภาคแสดง เชน ผูหญิงชอบดอกไม ถึงแมจ ะมีรายละเอียดเขาไปในประโยค ก็ยังเปน ประโยคความเดียว เชน ผู หญงิ คนนนั้ ชอบดอกไมส วย ข. ประโยคความซอ น คือ ประโยคความเดียวท่ีเพิ่มสวนขยายภาคประธานหรือภาคแสดงดว ย ประโยค ทําใหโครงสรา งของประโยคเปลีย่ นไปแตถ าประโยคที่เพ่ิมข้ึนน้ันเปนประโยคชวยจํากัดความ หมายของคาํ ถามหรอื คาํ กริยา ก็เปน ประโยคซอ น เชน ผหู ญงิ ทีน่ ่งั ขางๆ ฉันชอบดอกไมท อี่ ยูใ นแจกนั ประโยคท่ีชว ยจํากัดความหมายของคํานาม “ดอกไม” คือประโยคท่ีวา “ท่ีอยูใน แจกัน” เปน ตน ค. ประโยคความรวม คือ ประโยคที่มสี ว นขยายเพ่ิมขึ้นและสวนที่ขยายสัมพันธก ับประโยคเดิม โดยมีคําเชื่อม และ แตถา ฯลฯ อยูขา งหนาหรืออยูข างในประโยคเดิมหรือประโยคที่เพิ่มขึ้น ทําใหรูวา ประโยคทัง้ สองสัมพนั ธก ันอยางไร เชน ผหู ญงิ ชอบดอกไมส ว นเดก็ ชอบของเลน เปน ประโยคความรวม ประโยคท่เี พมิ่ ขนึ้ และสมั พนั ธกบั ประโยคเดมิ โดยมคี ําเชอ่ื ม “สว น” มาขางหนาคือประโยค “เด็ก ชอบของเลน ” เปนตน

ห น า | 135 เรื่องที่ 2 ถอยคําสํานวน สภุ าษติ คาํ พงั เพย 1. ถอยคําภาษาไทยมีลักษณะพิเศษหลายประการ สามารถเลือกใชใหเหมาะสม ในการสื่อสาร เพ่อื ความเขา ใจในสง่ิ ตางๆ ไดอยางชดั เจน และตรงเปา หมาย 2. ถอยคาํ ภาษาไทยมีลกั ษณะเปน ศิลปะท่มี ีความประณตี สละสลวย ไพเราะ ลกึ ซ้งึ นาคิด นา ฟง รน่ื หู จงู ใจ และหากนาํ ไปใชไ ดเ หมาะกับขอความเรอ่ื งราวจะเพ่ิมคุณคาใหขอความหรือเรือ่ งราวเหลา น้ัน มนี าํ้ หนกั นาคิด นา ฟง นา สนใจ นาตดิ ตามย่งิ ขน้ึ 3. ถอ ยคําภาษาไทย ถา รูจักใชใ หถ ูกตองตามกาลเทศะและบุคคลนับวา เปน วัฒนธรรมอันดีงาม ของชาตแิ ละของผูปฎิบัติ ถอ ยคําสํานวน ถอยคําสํานวนหมายถึง ถอยคําท่ีเรียบเรียง บางทีก็ใชวา สํานวนโวหาร คําพูดของมนุษยเ ราแยก ออกไปอยา งกวางๆ เปน 2 อยา ง อยา งหนง่ึ พูดตรงไปตรงมาตามภาษาธรรมดา พอพูดออกมาก็เขาใจทันที อกี อยางหนง่ึ พดู เปนเชงิ ไมตรงไปตรงมา แตใหม ีความหมายในคําพูดน้ันๆ คนฟง เขา ใจความหมายทันที ถาคําพูดน้ันใชก ันแพรหลาย เชน คําวา “ปากหวาน” “ใจงาย” แตถา ไมแพรห ลายคนฟง ก็ไมอาจเขา ใจ ทันที ตองคิดจงึ จะเขาใจหรอื บางทคี ิดแลว เขา ใจเปนอยา งอืน่ ก็ไดห รอื ไมเ ขา ใจเอาเลยก็ไดคําพูดเปน เชิงน้ี

136 | ห น า เราเรียกวา “สํานวน” การใชถอยคําที่เปนสํานวนน้ัน ใชในการเปรียบเทียบบาง เปรียบเปรยบา ง พูด กระทบบา ง พูดเลนสนกุ ๆ บา ง พูดเตอื นสติใหไดคิดบา ง สํานวนไทย หมายถงึ ถอ ยคําที่เรียบเรียงไวตายตัว เนือ่ งจากใชกันมาจนแพรห ลายอยูตัวแลว จะ ตดั ทอนหรอื สลับท่ีไมไ ด เชน สาํ นวนวา “เกบ็ เบ้ียใตถ นุ รา น”หมายความวาทํางานชนิดท่ีไดเงินเล็กนอยก็ เอา ถา เราเปลี่ยนเปน “เก็บเงินใตถ ุนบาน” ซ่ึงไมใ ชสํานวนที่ใชก ัน คนฟง อาจไมเขาใจหรือเขา ใจเปนอย างอ่นื เชน เกบ็ เงนิ ฝง ไวใตถุนบา น ลักษณะชองสํานวนไทย 1. สํานวนไทยมีลักษณะท่ีมีความหมายโดยนัย โดยปกติความหมายของคํามีอยา งนอย 2 ประการ คือ 1.1 ความหมายโดยอรรถ ไดแก ความหมายพื้นฐานของคําน้ันๆ โดยตรงเชน คําวา “กิน” ความหมายพ้นื ฐานทที่ ุกคนเขาใจกค็ ืออาการที่นาํ อะไรเขาปากเคี้ยวแลวกลืนลงไปในคอ เชน กินขาว กิน ขนม เปน ตน 1.2 ความหมายโดยนยั ไดแ ก การนําคํามาประกอบกันใชใ นความหมายท่ีเพิม่ จากพื้นฐานเช น คําวา กนิ ดบิ - ชนะโดยงา ยดาย กนิ โตะ - รมุ ทําราย กนิ แถว - ถูกลงโทษทุกคนในพวกนนั้ กินปรู อ นทอ ง - ทาํ อาการพริ ธุ ขนึ้ เอง 2. สํานวนไทยมีลักษณะมีความหมายเพื่อใหตีความ มีลักษณะติชมหรือแสดงความเห็นอยูใน ตวั เชน เกลอื เปน หนอน กนิ ปนู รอ นทอง ตกบนั ไดพลอยโจน งมเขม็ ในมหาสมุทร เปนตน 3. สํานวนไทย มีลกั ษณะเปน ความเปรยี บเทยี บหรือคําอุปมา เชน ใจดําเหมือนอีกา เบาเหมือน ปยุ นุน รกั เหมอื นแกวตา แขง็ เหมอื นเพชร เปนตน 4. สํานวนไทยมีลักษณะเปนคําคมหรือคํากลาว เชน หนา ชื่นอกตรม หาเชา กินค่ํา หนาซื่อใจคด เปน ตน 5. สํานวนไทย มีลักษณะเปนโวหารมีเสียงสัมผัสคลองจองกัน หรือบางทีก็ยํ้าคํา เชน ชาวแดง แกงรอน ขุนขอ งหมองใจ จับมือถือแขน บนบานศาลกลาว กินจุบกินจิบ ประจบประแจง ปากเปยกปาก แฉะ อ่ิมอกอิม่ ใจ เปนตน ตัวอยา งสํานวนไทย

ห น า | 137 1. สํานวนท่ีมีเสียงสัมผัส สํานวนเหลาน้ีมักจะมีจํานวนคําเปนจํานวนคู ต้ังแต 4 คํา จนถงึ 12 คําดงั น้ี 1.1 เรยี ง 4 คาํ เชน ขาวแดงแกงรอ น คอขาดบาดตาย โงเ งาเตาตนุ ฯลฯ 1.2 เรยี ง 6 คํา เชน คดในขอ งอในกระดูก ยุใหราํ ตาํ ใหร ั่ว นกมีหหู นมู ปี ก ฯลฯ 1.3 เรียง 8 คําเชน กินอยูกับปาก อยากอยูกับทอง ไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง , ความรูท วมหวั เอาตวั ไมรอด เปนตน 1.4 เรียง10 คํา เชน คนรักเทา ผืนหนัง คนชังเทาผืนส่ือ คบคนใหดูหนา ซอื้ ผา ใหดูเนอื้ ดกั ลอบตองหมน่ั กู เจาชูตองหัน่ เก้ยี ว เปน ตน 1.5 เรียง 12 คํา เชน ปลูกเรือนตามใจผูอยู ผูกอูต ามใจผูนอน มีเงินเขานับเปนนอง มีมอง เขานบั เปนพ่ี เลน กบั หมาหมาเลยี ปาก เลนกบั สากสากตอ ยหวั 2. สาํ นวนท่ไี มม เี สยี งสมั ผสั สาํ นวนเหลาน้ีมีมากมาย สว นมากมี่ต้ังแต 2 คําข้ึนไป จนถึง 8 คํา เช น 2.1 เรยี ง 2 คาํ เชน กนั ทา แกเผ็ด เขา ปง ตกหลมุ ตายใจ ฯลฯ 2.2 เรยี ง 3 คํา กวา งขวางคอ เกลอื เปนหนอน คลมุ ถงุ ชน ควา น้ําเหลว ฯลฯ 2.3 เรยี ง 4 คาํ เชน ก่ิงทองใบหยก กิง้ กา ไดทอง กินปูรอนทอ ง น้ําผึ้งหยดเดียว นอนตายตา หลบั ขา วใหมปลามัน เปนตน 2.4 เรยี ง 5 คาํ เชน ขนหนาแขงไมรว ง ตีงูใหหลงั หกั จบั ปูใสก ระตงั ฯลฯ 2.5 เรียง 6 คํา เชน กลืนไมเขา คายไมอ อก น้ิวไหนรา ยตัดน้ิวน้ัน บา นเมืองมีข่ือมีแป พลิกหนามือเปนหลงั มอื 2.6 เรยี ง 7 คาํ เชน กนิ บนเรอื นขร้ี ดหลังคา นกนอยทํารังแตพ อตัว ตําน้ําพริกละลายแมนํ้า สบิ ปากวาไมเ ทาตาเหน็ เรอ่ื งข้หี มรู าขห้ี มาแหง ฯลฯ สํานวน หมายถึง กลุมของวลี คําหรือกลุมคําท่ีนํามาใชใ นความหมายที่แตกตางไปจากความ หมายเดมิ ความหมายท่ีเกิดขึน้ มักจะเปน ความหมายในเชิงอุปมา หรือเชิงเปรียบเทียบ ไมไ ดใหค ติธรรม แตจะเปน ความหมายท่ีกระชับและลึกซึ้ง เชน สํานวนวา เรื่องกลว ยๆ คําวา กลวยๆ ไมไ ดห มายถึงผลไม แตห มายถึง งา ยๆ เรื่องไมย ากเปน เรื่องงา ยๆ สํานวนภาษไทยอาจจะประกอบคําตัง้ แต 1 คําข้ีนไปจึงถึง หลายคาํ หรอื เปนกลุม ตวั อยา งเชน ปากหวาน = พูดเพราะ ลกู หมอ = คนเกาของสถานทีใ่ ดสถานทหี่ นึ่ง หญา ปากคอก = เรอ่ื งงา ยๆท่ีคดิ ไมถึง

138 | ห น า กงกรรมกงเกวียน = กรรมสนองกรรม พกหนิ ดกี วาพกนุน = ใจคอหนกั แนนดกี วาหเู บา การใชสํานวนไปประกอบการสื่อสารน้ัน ผูใ ชตอ งรูค วามหมายและเลือกใชใหเหมาะสม กบั เพศ โอกาส และสถานการณ เชน เฒา หวั งู = มักจะใชเปรียบเทียบ หมายถึงผูช ายเทานั้น ไกแ กแ มป ลาชอ น = มกั ใชเ ปรยี บเทียบกับผูหญงิ เทานั้น ขบเผาะ = มักใชกับผูหญงิ เทาน้นั ไมใ ชก บั ผชู าย คําพังเพย มีความหมายลึกซึ้งกวาสํานวน ซึ่งจะหมาถึงถอยคําท่ีกลา วข้ึนมาลอยๆเปน กลางๆ มี ลักษณะติชมหรือแสดงความเห็นอยูใ นตัว มีความหมายเปนคติสอนใจคําพังเพยเมื่อนําไปตีความแลว สามารถนาํ ไปใชประกอบการพดู หรอื เขยี นใหเหมาะสมกับเรอ่ื งท่เี ราตอ งการถา ยทอดหรือส่ือความหมาย ในการสอื่ สาร เชน ช้ีโพรงใหกระรอก = การแนะนาํ ใหค นอ่นื ทาํ ในทางไมด ี ปลกู เรอื นตามใจผอู ยู = จะทาํ อะไรใหคิดถงึ ผทู ีจ่ ะใชสง่ิ นั้น ราํ ไมด ีโทษปโ ทษกลอง = คนทาํ ผิดไมยอมรับผดิ กลบั ไปโทษคนอ่ืน นอกจากน้ยี ังมีคาํ พังเพยอกี มากทีเ่ ราพบเหน็ นาํ ไปใชอยเู สมอ เชน กําแพงมหี ปู ระตูมีชอ ง เหน็ กงจักรเปน ดอกบวั ทํานาบนหลงั คน เสยี นอยเสยี ยากเสยี มากเสยี งาย ฯลฯ สุภาษิต หมายถึง คํากลา วดี คําพูดที่ถือเปน คติ เพ่ืออบรมสั่งสอนใหท ําความดีละเวน ความชั่ว สุภาษิต สวนใหญม ักเกดิ จากหลกั ธรรมคําสอน นทิ านชาดก เหตุการณห รอื คําสง่ั สอนของบุคคลสําคัญซ่ึง เปน ที่เคารพนับถอื เลอ่ื มใสของประชาชน ตวั อยาง เชน ตนแลเปน ท่พี ึ่งแหงตน ทําดีไดด ี ทําชวั่ ไดชว่ั ท่ใี ดมีรกั ท่ีนนั่ มีทุกข หวานพชื เชนไร ยอมไดผลเชน นั้น ความพยายามอยูทไ่ี หน ความสําเรจ็ อยูทน่ี ้นั ใจเปน นายกายเปน บา ว ฯลฯ การนาํ สาํ นวน คําพังเพย สภุ าษิตไปใชประกอบการถา ยทอดความรูค วามคิดอารมณค วามรูส ึกใน ชีวิตน้ัน คนไทยเรานิยมนําไปใชกันมาก ท้ังนี้เพราะสํานวน สุภาษิต คําพังเพย มีคุณคาและความสําคัญ คือ

ห น า | 139 1. ใชเ ปน เครอ่ื งมอื อบรมสั่งสอน เยาวชนและบุคคลทัว่ ไปใหป ฏบิ ตั ิดี ปฏิบัติชอบในดา นตางๆ เชน การพูด การถา ยทอดวัฒนธรรม การศึกษาเลาเรียน การคบเพื่อน ความรัก การครองเรอื นและการดาํ เนนิ ชวี ิตดา นอน่ื ๆ 2. ถอ ยคําสํานวน คําพังเพย สุภาษิต สะทอนใหเ ห็นสภาพการดําเนินชีวิตความเปน อยูของคน สมัยกอ นจนถึงปจ จบุ นั ในดานสังคม การศึกษา การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ นสิ ยั ใจคอและอื่นๆ 3. สะทอ นใหเหน็ ความเชอ่ื ความคิด วสิ ัยทศั นของคนสมัยกอ น 4. การศึกษาสาํ นวน คาํ พังเพย สภุ าษติ ชวยใหม ีความคิด ความรอบรู สามารถใชภ าษาไดดีและ เหมาะสมกับโอกาส กาลเทศะและบุคคล กอปรท้ังเปนการชวยสืบทอดวัฒนธรรมทางภาษาไวใหค งอยูค ู ชาติไทยตลอดไป กิจกรรม ใหผ ูเรียนรวบรวม สํานวน คําพังเพย สุภาษิต จากหนังสือและแหลง ความรูอ ่ืนๆ พรอ มศึกษา ความหมายใหเขา ใจ เพ่อื นาํ ไปใชใ นการรายงาน การพูด การเขยี น ในชีวิตประจาํ วนั เรอื่ งท่ี 3 การใชพ จนานุกรมและสารานุกรม ความสาํ คัญของพจนานกุ รม พจนานุกรมเปน หนังสืออางอิงที่สําคัญและเปน แบบฉบับของการเขียนหนังสือไทยในทาง ราชการและโรงเรียน เพ่ือใหก ารเขียนหนังสือไทยมีมาตรฐานเดียวกันไมลักล่ันกอ ใหเกิดเอกภาพ ทาง ภาษา อนั เปนวฒั นธรรมสว นหนง่ึ ของชาติไทย ตามปกติแลว เราจะเปด ใชเ ม่ือเกิดความสงสัยใครร ูใ นการ

140 | ห น า อา น เขียน หรือแปลความหมายของสํานวน หากเปด ใชบอยๆจะเกิดความรูค วามชํานาญ ใชไ ดรวดเร็ว และถกู ตอง ความหมายของพจนานกุ รม คําวา พจนานุกรม เทียบไดก ับคําภาษาอังกฤษคือ Dictionary พจนานุกรม หมายถึง หนังสือ รวบรวมถอ ยคาํ และสาํ นวนทใ่ี ชอยูในภาษาโดยเรียงลําดับตามอักษรแรกของคํา เร่ิมต้ังแตค ําท่ีข้ึนทายตน ดวย ก.ไก ลําดบั ไปจนถึง คาํ ทีข่ ึ้นตน ดวย ฮ.นกฮกู ซง่ึ แตล ะคําพจนานกุ รมจะบอกการเขียนสะกดการันต บางคําจะบอกเสียงอา นดวย หากคําใดที่มีมาจากภาษาตางประเทศก็จะบอกเทียบไว บางคํามี ภาพประกอบเพื่อเขาใจความหมายย่ิงข้ึน และสิ่งที่พจนานุกรมบอกไวทุกคําคือ ชนิดของคําตามไวยา กรณก บั ความหมายของคาํ นน้ั ๆ พจนานุกรมจึงทําหนาที่เปนแหลงเรียนรูทางภาษาคอยใหความรูเกี่ยวกับการอาน การเขียน และบอกความหมายของถอ ยคาํ สาํ นวนใหเปน ทเี่ ขา ใจอยา งส้ัน งา ย รวบรดั หนังสือพจนานุกรมภาษาไทยฉบับที่ไดม าตรฐานและเปนที่ยอมรับทั่วไปคือ พจนานุกรมฉบับ ราชบณั ฑติ ยสถานฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2525 และฉบบั ปรบั ปรงุ ป 2542 พจนานกุ รมจะเรยี งคําตามอักษรตวั แรกของคํา โดยลําดบั ตั้งแต ก.ไก ไปจนถึง ฮ.นกฮกู จงลาํ ดับคาํ 5 คํา ตอ ไปน้ตี ามหลักพจนานกุ รม หมู แมว เปด ไก นก (ถา เรยี งไมไ ดใหเปด พจนานกุ รมดูหรอื ถามผรู ู) วธิ ีใชพจนานกุ รม พจนานุกรมจัดเปนหนังสือประเภทไขขอ ขอ งใจทางภาษา ตามปกติแลว เราจะเปด ใชเ มื่อเกิด ความสงสัยใครรใู นการอาน เขยี น หรอื แปลความหมายของถอ ยคาํ สาํ นวณ หากเปดบอ ยๆจะเกิดความคล องแคลว รวดเรว็ และถูกตอ ง

ห น า | 141 ถาเปรียบเทียบวิธีใชพ จนานุกรมกับการพิมพด ีด วายน้าํ ขับรถ ทอผา หรือทํานา ก็คงเหมือนกัน คือ ฝก บอยๆ ลงมือทําบอยๆ ทําเปน ประจาํ สม่ําเสมอ ไมชาจะคลองแคลวโดยไมรูต วั การใชพ จนานกุ รมจงึ ไมใชเรอ่ื งยากเยน็ อะไร ขอแนะนาํ ขนั้ ตอนงายๆดงั น้ี ข้ันท่ี 1 หาพจนานุกรมมาใชใ นมือหนึ่งเลม เปด อานคํานําอยา งละเอียด เราตอ งอานคํานําเพราะ เขาจะอธิบายลกั ษณะและวธิ ีใชพจนานกุ รมเลมนนั้ อยางละเอยี ด ขัน้ ท่ี 2 ศึกษารายละเอียดตางๆทจ่ี าํ เปนตองรู เพอื่ ความสะดวกในการเปดใช เชน อักษรยอ คํายอ เปน ตน เพราะเมื่อเปดไปดูคาํ กบั คาํ หมายแลว เขาจะใชอ ักษรยอตลอดเวลาโปรดดูตัวอยา งจากพจนานุกรม ฉบั บ รา ชบั ณฑิ ตย ส ถา น ฉบั บป รั บ ปรุ ง พุ ทธ ศั ก รา ช 2525 หนา 9-10 อกั ษรยอ ทใี่ ชพจนานุกรม (1) อักษรยอ ในวงเลบ็ (...) บอกที่มาของคาํ (2) อักษรหนาบทนิยาม บอกชนดิ ของคําตามหลักไวยากรณ (3) อักษรยอในวงเลบ็ หนาบทนิยาม บอกลกั ษณะของคําท่ีใชเ ฉพาะแหง (4) อักษรยอ หนงั สอื อางอิง (5) คาํ วา ” ดู” ท่ีเขยี นตอทา ยคาํ หมายความวาใหเปดดูในคําอนื่ เชน กรรม ภริ มย ดูกรรภริ มย บญั ชีอกั ษรยอท่ใี ชในพจนานุกรมนี้ (1) อักษรยอในวงเลบ็ บอกท่ีมาของคํา :- ข = เขมร ต = ตะเลง ล = ละตนิ จ = จนี บ = เบงคอลี ส = สันสกฤต ช = ชวา ป = ปาล(ิ บาล)ี อ = องั กฤษ ญ = ญวน ฝ = ฝรัง่ เศษ ฮ = ฮนิ ดู ญ = ญปี่ นุ ม = มาลายู (2) อักษรยอหนา บทนิยาม บอกชนดิ ของคําตามไวยากรณ คือ :- ก. = กริยา ว. = วเิ ศษณ (คณุ ศพั ทหรอื กริยาวิเศษณ) น. = นาม ส. = สรรพนาม นิ = นิบาต สัน = สันธาน บ. = บุรพบท อ. = อุทาน (3) อักษรยอในวงเลบ็ หนา บทนิยาม บอกลักษณะของคําทใ่ี ชเ ฉพาะแหง คอื :-

142 | ห น า (กฎ) คอื คาํ ทใ่ี ชในกฎหมาย (กลอน) คือ คาํ ที่ใชใ นบทรอยกรอง (คณิต) คือ คําทใี่ ชใ นคณิตศาสตร (จรยิ ) คอื คําทใ่ี ชใ นจรยิ ศาสตร (ชวี ) คือ คาํ ท่ีใชใ นชวี วทิ ยา (ดารา) คือ คําทใ่ี ชในดาราศาสตร (ถนิ่ ) คือ คาํ ท่ีภาษาเฉพาะถ่ิน (ธรณี) คือ คาํ ที่ใชใ นธรณีวทิ ยา (บัญช)ี คอื คําท่ใี ชใ นการบัญชี (แบบ) คือ คําท่ีใชเฉพาะในหนงั สอื ไมใชค าํ ท่ัวไป เชน กนก ลปุ ต ลุพธ (โบ) คือ คาํ โบราณ (ปาก) คอื คาํ ทเ่ี ปน ภาษาปาก (พฤกษ) คอื คําท่ใี ชในพฤกษศาสตร (4) อักษรยอหนงั สอื ทีอ่ า งอิงมดี งั น้ี คอื :- กฎมนเทียรบาล ในกฎหมายราชบุรี : หนังสือกฎหมาย พระนิพนธในกรมหลวง ราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ฉบับโรงพิมพก องลหุโทษ ร.ศ. 120 กฎ.ราชบุรี : หนังสือกฎหมาย พระราชนิพนในกรมหลวง ราชบุรีดเิ รกฤทธิ์ฉบับฉบับโรงพมิ พ กองลหโุ ทษ ร.ศ. 120 กฎหมาย : หนงั สอื เรอ่ื งกฎหมายเมืองไทย หมอปรดั เลพิมพ จ.ศ. 1235 กฐินพยหุ : ลิลติ กระบวนแหพระกฐนิ พยุหยาตรา พระนพิ นธใ นสมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระปรมมานุชติ ชโิ นรส. ฯลฯ

ห น า | 143 ขนั้ ท่ี 3 ศึกษาวธิ ีเรยี งคาํ ตามลําดับพยญั ชนะตวั แรกของคํา คอื เรยี ง ก.ไก ไปจน ฮ.นกฮูก สังเกต วาเขาเรียงไวอยางไร ลักษณะพิเศษท่ีแปลกออกไปคือ ตัว ฤ.ฤๅ. จะลําดับไวห ลังตัว ร.เรือ สว น ฦ.ฦๅ จะ อยูหลังตัว ล.ลิง และหากคําใดใชพ ยัญชนะเหมือนกัน เขาก็ลําดับ โดยพิจารณารูปสระพิเศษ อกี ดวย การลําดับคําตามรปู สระก็มลี กั ษณะท่ตี อ งสนใจเปนพเิ ศษ เขาจะเรยี งคําตามรปู ดงั น้ี คําที่ไมม ีรปู สระมากอ น แลวตอ ดวยคําทีม่ รี ปู สระ -ะ -า -ิ -ี -ึ -ื -ุ -ู เ-ะ เ- เ -ะื เ -ื -วั ะ -วั เ-า เ-าะ -ำ เ -ะี เ -ี แ- แ-ะ โ- โ-ะ ใ- ไ- โปรดดตู วั อยา งการเรยี งคาํ จากพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2525 และ 2542 ขนั้ ท่ี 4 ศึกษาเครื่องหมายวรรคตอนท่ีใชในพจนานกุ รม เครื่องหมายจุลภาค (,) ใชคั่นความหมายหรือบทนิยามของคําที่มีความหมาย หลายอยางแตมี ความหมายคลา ยๆ กันหรอื เปนไวพจนข องกัน ตวั อยา ง กระตอื รอื รน ก.รบี เรง, เรง รบี , ขมีขมัน, มีใจฝก ใฝเ รารอน เครือ่ งหมายอฒั ภาค(;) (1) ใชคั่นเครื่องหมายหรอื บทนิยามของคําท่ีมีความหมายหลายอยางแตค วามหมายมีนัยเนื่องกับ ความหมายเดมิ ตวั อยาง กงิ่ น. สว นทแี่ ยกออกจากลําตน,แขนง;ใชเ รยี กสว นยอยที่แยกออกไปจากสว นใหญข ึ้นอยูก ับ สวนใหญ เชน ก่ิงอําเภอ ก่ิงสถานีตํารวจ;ลักษณะนามเรียกงาชางวา กิ่ง;เรือ ชนิดหน่ึงในกระบวน พยุหยาตรา (2) คนั่ บทนิยามท่ีมีความหมายไมสัมพนั ธก นั เลย ตัวอยาง เจรญิ (จะเรนิ )ก.เตบิ โต,งดงาม,ทําใหง อกงาม,เชนเจรญิ ทางไมตรี,มากขึน้ ,ท้ิง,เชน เจริญยา,ตัด เชน เจรญิ งาชา ง,สาธยาย,สวด,(ในงานมงคล) เชน เจรญิ พระพุทธมนต เปนตน (3) ค่ันอักษรยอ บอกท่มี าของคํา ตัวอยาง กณุ ฑล [ทน]น.ตุม ห.ู (ป. ; ส.) ค่นั อักษร ป. กับ อักษร ส. ซ่ึงมาจากคาํ วา บาลกี ับสันสกฤต

144 | ห น า เครอ่ื งวงเลบ็ เหล่ียม[ ] คําในวงเลบ็ เหลย่ี มเปนคาํ ที่บอกเสยี งอาน ตวั อยาง ราชการ [ราดชะกาน] เปนตน เครื่องหมายนขลขิ ติ ( ) อักษรยอ ท่ีอยใู นวงเลบ็ บอกที่มาของคาํ เชน (ข.) มาจากภาษาเขมร อักษรยอที่อยูในวงเล็บหนา บทนิยามบอกลักษณะคําท่ีใชเฉพาะแหง เชน (กฎ) ในภาษา กฎหมาย เคร่ืองหมายยตั ิภงั ค (-) (1) เขยี นไวข า งหนา คําเพ่ือใหสงั เกตวาเปน คาํ ท่ีใชพ วงทา ยคาํ ศัพทอนื่ ตัวอยาง - เก็งกอย ใชเ ขาคกู บั คาํ เขยง เปน เขยง เกงกอย. (ไทยใหญ เกง วาเนอ่ื งในเลม การเลน.) (2) เขยี นไวหลงั คาํ เพือ่ ใหส งั เกตวามคี าํ พว งทา ย ตัวอยา ง โ-ขม- [โขมะ-] (แบบ) น. โกษม, ผา ใยไหม (ผาลินิน), ผา ขาว, ผา ปา น ประกอบวาโขมพัตถ และแผลงเปน โขษมพสั ตร ก็ม.ี (ป. ; ส. เกษม.) (3) แทนคําอานของพยางคท ไ่ี มมปี ญ หาในการอา น ตวั อยาง กณุ ฑล [-ทน] น. ตุม ห.ู (ป.; ส.) เครอ่ื งหมายพนิ ทจุ ดุ ไวใตต วั ห ซ่ึงเปน อักษรนาํ เวลาอานไมอ อกเสยี ง เชน [เหฺลา] ไมอา นวา เห-ลา เครื่องหมายพนิ ทุจดุ ไวใ ตพยญั ชนะตวั หนา ทเ่ี ปนตวั อักษรควบหรอื กล้ํา ในภาษาไทยมี 3 ตัว ร ล ว เทานนั้ ทอ่ี อกเสยี งควบกลํา้ นอกนนั้ ไมน ยิ ม ข้ันท่ี 5 ศึกษาตวั เลขท่ีเขยี นตอ ทายคํา ตัวเลขท่เี ขยี นตอ ทายคาํ หมายถึง คาํ นั้นมีหลายความหมายแตกตางกนั ตวั อยา ง กระทิง 1 น. ช่ือวัวปา ชนิด (Bos gaurus) ในวงศ Bovidace ขนยาว ตวั สีดาํ หรอื ดาํ แกมนาํ้ ตาล ยกเวน แตท ตี่ รงหนา ผากและขาทั้ง 4 เปน ขาวเทาๆ หรอื เหลอื งอยางสที อง

ห น า | 145 กระทิง 2 น. ช่ือตน ไมชนิดหน่ึง (Calophyllum inophyllum) ในวงศ Guttiferae ใบและผลคลายสารภี แตใ บข้ึนสันมากและผลกลมกวา เปลือกเมล็ดแข็ง ใชท ําลูกฉลากหรือ กระบวยของเลน , สารภีทะเล หรอื กากะทิง ก็เรยี ก. กระทิง 3 น. ชื่อปลาน้าํ จืดจําพวกหน่ึง (Mastocembelus sp.) ในวงศ Mastocembelidaeมีหลายชนิด ตัวเรียวคอ นยาวคอ นขา งแบน พ้ืนสีนํ้าตาลแก บางตัวมีลายขาวเปน วงกลมๆ บางตัวมีลายเปน บัง้ ๆ คาดจากหลังถึงใตทอ ง มีครีบบนสันหลังยาวติดตอ ตลอดถึงหาง ปลาย จมกู เลก็ แหลมผิดกวา ปลาธรรมดา อาศัยอยใู นแมนํา้ ลําคลองทวั่ ไป ใหผูเ รียนสังเกตความหมายของคําวา “กระทิง 1” “กระทิง 2” “กระทิง 3” วา เหมอื น หรอื แตกตางกนั เราเรยี ก “กระทิง 1” วา กระทิงในความหมายที่ 1 หมายถงึ ชอื่ ววั ปา.... เม่ือศึกษาเขา ใจพจนานุกรมทั้ง 5 ขั้นตอนแลว ควรฝก คน หาคําขอความหรือฝก ใช พจนานกุ รมดวยตนเองใหเ กดิ ความชํานาญ ก็จะเปนประโยชนกบั ตนเองตลอดชวี ติ ทีเดยี ว สารานุกรม หนงั สอื สารานกุ รม เปนหนงั สอื รวมความรูต างๆ ในทุกแขนงวิชาใหรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติ ความเปนมา วิวัฒนาการตา งๆ และความรูท ั่วไป อาทิ ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วิทยาศาสตร ฯลฯ เรียงลาํ ดบั ไวอยา งดแี ตสว นใหญจะเรียงตามตัวอักษรและมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ จะมีการออก หนังสือเปนรายปเ พ่ิมเติม เพ่ือเปนการรวบรวมความรูว ิทยาการใหมๆ ท่ีเกิดขึ้นในรอบป การเลือกใช สารานกุ รมจงึ ควรเลอื กสารานุกรมท่ีพิมพในปล าสุด และเลือกใหส อดคลอ งกับความตอ งการของตนเอง สารานุกรมจะมีทั้งสารานุกรมเฉพาะวิชา สารานุกรมทั่วไป สารานุกรมสําหรับเยาวชน สารานุกรม สําหรบั ผใู หญ มีทั้งสารานกุ รมหลายเลม จบและสารานกุ รมเลมเดยี วจบ วิธีใชสารานกุ รม 1. พิจารณาวา เรอ่ื งทตี่ องการคน ควาเปน ความรูลกั ษณะใดเปนความรูท ั่วไปหรอื เปนความรูเฉพาะวชิ า 2. เลือกใชสารานุกรมตามเรื่องท่ีตนเองตองการตัวอยา ง ถาตอ งการคน หาความรูง ายๆ พื้นฐาน ทั่วไปก็ใหใชส ารานุกรมทัว่ ไปสําหรับเยาวชน แตถาตองการหาความรูพ ้ืนฐานอยางละเอียดก็ใช สารานุกรมท่ัวไปสําหรับผูใ หญ หรือถาตอ งการคน หาความรูเ ฉพาะวิชาก็ใหเ ลือกใชสารานุกรมเฉพาะ วชิ า 3. ดูอักษรนาํ เลม หรอื คําแนะนาํ ท่สี ันหนงั สอื จะรูว า เรอ่ื งน้ันอยูในเลมใด 4. เปด ดูดรรชนีเพื่อดูเรื่องที่ตอ งการคนหาวา อยูในเลมใด หนาที่เทา ไหร และจะตองเลือกดูให ถูกลักษณะของสารานุกรม เชน เปดดูดรรชนีทา ยเลม แตส ารานุกรมเยาวชนและสารานุกรมบางชุด

146 | ห น า ดรรชนีจะอยดู านหนา สว นสารานกุ รมสาํ หรบั ผูใหญและสารานุกรมบางชุดใหเปด ดูดรรชนีที่เลมสุดทา ย ของชดุ 5. อานวิธีใชสารานกุ รมแตล ะชดุ กอ นใชและคนหาเรอ่ื งที่ตองการ เรือ่ งที่ 4 คาํ ราชาศพั ท คนไทยมวี ฒั นธรรมท่ยี ึดถอื กนั เปน ปกติ คือการเคารพนับถือ ผูทีส่ ูงอายุ ชาติกําเนิดและตําแหนง หนาท่ี สื่อที่แส ดงออกอย า งชัดเจนคื อ ก ารแส ดงกิริย ามารย าทอันเคาร พ นอบนอมและใชภาษาอยา งมรี ะเบียบแบบแผนอกี ดวย ภาษาที่ใชอยางมีระเบยี บและประดษิ ฐต กแตง เปน พิ เศษเพื่อใชกบั บคุ คลท่มี ฐี านะตางๆ ทางสงั คมดงั กลาวแลว เรียกวาคาํ ราชาศัพท คาํ ราชาศัพท คอื คําท่ใี ชสำหรบั พระเจา แผนดินและพระบรมวงศานุวงศ แตป จ จุบันคําราชาศัพท มีความหมายรวมถึง คําสุภาพ ที่สุภาพชนตอ งเลือกใชใ หเ หมาะสมตามฐานะของบุคคลทุกระดับและ เหมาะสมกับกาลเทศะดว ย คําสุภาพ พระยาอุปกติ ศิลปสาร ไดอ ธิบายไววาไมใชคาํ แขง็ กระดางไมแ สดงความเคารพ เชน โว ย วา ย วะ ไมใชค าํ หยาบ เชน ใหใชอ จุ จาระแทนขี้ ปสสาวะแทนเยี่ยว ไมใ ชค ําที่นิยมกับของคําหยาบ เชน สากกระเบือเปรียบเทียบกับของลับผูช ายใหใชไ มต ีพริกแทน เปนตน ไมใชค ําผวน เชน ตากแดดใหใ ช ใหมเ ปนผึ่งแดด เปนตน และไมพูดเสียงหว น เชน ไมร ู ไมเห็น และมีคําวา ครับ คะ คะ ขา ประกอบ คาํ พูดดว ย ลักษณะของคาํ ราชาศัพท 1. คํานามท่นี ํามาใชเ ปน ราชาศัพท 1.1 คาํ ทนี่ ํามาจากภาษาบาลี สันสกฤต เขมรและคําไทย เมื่อจะใชเ ปน คําราชาศัพทจะตอ งใช พระบรมราช พระบรม พระราชและพระนาํ หนา คือ พระบรม พระบรมราช ใชนําหนาคํานามที่สมควรยกยองสําหรับพระเจาแผนดิน โดยเฉพาะ เชน พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสาธิราช พระบรมราโชวาท พระบรมราชวินิจฉัย พระบรมราช โองการ พระบรมมหาราชวัง พระบรมราชูปถัมภ พระราช ใชนําหนา คํานามท่ีสําคัญรองลงมา เชน พระราชสาสน พระราชประวัติ พระ ราชยาน พระราชโทรเลข พระราชวงั พระราชดาํ รัส พระราชบดิ า

ห น า | 147 พระ ใชนําหนาคํานามท่ัวไปบางคําเชน พระกร พระหัตถ พระเกศา พระอาจารย พระสหาย พระเกาอ้ี พระเขนย พระย่ภี ู พระศอ พระอทุ ร บางทใี่ ชพระหรอื ทรง แทรกเขากลางเพ่ือแตงเปนคํานามรา ชาศัพทเ ชน กระเปาทรงถือ เครอ่ื งพระสําอาง 1.2 คําไทยสามัญ เม่ือใชเปนคาํ ราชาศัพทตอ งใชคําวา หลวง ตน ทรง พระที่นั่ง ประกอบหลัง คํานามน้ัน เชน ลูกหลวง เรือหลวง รถหลวง วังหลวง ขางตน มาตน เครื่องตน เรอื ตน ชางทรง มาทรงเรอื พระทน่ี ัง่ รถพระทน่ี ่ัง ฯลฯ นอกจากน้ียังมีคํานามราชาศัพทท่ีใชค ําไทยนําหนาคําราชาศัพทซ ึ่งเปนการสรา งศัพทข ้ึนใชใน ภาษา เชน ผา ซับพระพกั ตร ถงุ พระบาท 2. คําสรรพนาม คําสรรพนามราชาศัพทน้ัน แบงเปน บุรุษสรรพนามแยกไปตามฐานะของผูใ ช ราชาศัพทเ ชนเดยี วกนั บุรุษท่ี 1 (ผูพดู เอง) หญงิ ใช หมอ มฉัน ขา พระพุทธเจา ชายใช กระหมอม เกลา กระหมอ ม ขาพระพุทธเจา บุรษุ ที่ 2 (ผูพดู ดว ย) แยกไปตามฐานะของผทู ่ีพดู ดว ย เชน ใตฝ าละอองธุรีพระบาท ใชก ับพระมหากษัตริย พระบรมราชินีนาถ ใตฝ าละอองพระบาท ใชก ับพระบรมโอรสาธิราช ใตฝ าพระบาท ใชกบั เจานายช้นั รองลงมา เจา ฟา หรอื เจา นายชั้นผใู หญ พระบาท ใชก ับเจา นายช้นั ผูนอ ย เชนระดบั หมอมเจา บรุ ุษที่ 3 (ผพู ดู ถงึ ) ทั้งหญงิ และชายใชวา พระองค พระองคท าน 3. คาํ กรยิ าราชาศัพท คํากริยาราชาศัพทสําหรับพระมหากษัตรยและเจา นายสวนใหญม ักจะใช ตรงกันมีหลกั ในการแตงดงั น้ี 3.1 คํากริยาที่เปน ราชาศัพทโดยเฉพาะ เชน โปรด ประทับ ประชวน ประสูติ กร้ิว ดํารัส เสดจ็ บรรทม ฯลฯ คํากริยาเหลานไ้ี มตอ งมีคําวา ทรงนาํ หนา และจะนําไปใชในภาษาธรรมดาไมไ ดดว ย 3.2 คาํ กริยาที่ใชใ นภาษาธรรมดา เมื่อตองการแตง เปนกริยาราชาศัพทตองเติม ทรง ขา งหนา เชน ทรงจาม ทรงขับรอ ง ทรงยนิ ดี ทรงเลา เรยี น ทรงศึกษา ทรงเลน ทรงสดบั พระเทศนา ฯลฯ 3.3 คํานามที่ใชราชาศัพทบางคําที่ใชทรงนําหนา เชน ทรงพระกรุณา ทรงพระราชดาํ ริ ทรงพระอักษร ทรงพระราชนพิ นธ ทรงพระราชดาํ ริ 3.4 คาํ นามบางคํา เมอ่ื ทรง นาํ หนาใชกริยาราชาศัพทไดต ามความหมาย เชน ทรงเครือ่ ง (แต งตวั ) ทรงเครอ่ื งใหญ (ตัดผม) ทรงศลี ทรงธรรม ทรงบาตร ทรงเรอื ทรงกีฬา ทรงรถ ทรงดนตรี

148 | ห น า 4. คํากริยาบางคาํ มีใชต างกันตามนามชน้ั ตวั อยา งเชน กิน เสวย ใชกับพระเจา แผน ดนิ พระบรมวงศานวุ งศ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ฉัน ใชกับพระสงฆ รบั ประทาน ใชก บั สุภาพชนทัว่ ไป ตาย สวรรคต ใชกบั พระเจาแผนดนิ สมเดจ็ พระบรมราชินี สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช ทวิ งคต ใชกบั สมเดจ็ พระบรมราชชนนี พระราชาตางประเท สน้ิ พระชนม ใชกบั พระบรมวงศานุวงศช ้ันสงู สมเดจ็ พระสงั ฆราช ส้ินชีพตกั ษัย ใชก ับหมอ มเจา ถึงชีพิตักษัย ใชกบั หมอ มเจา ถงึ แกพ ริ าลยั ใชก ับสมเดจ็ เจาพระยา เจาประเทศราช ถึงแกอสญั กรรม ใชก ับเจาพระยา นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี ถึงแกอ นจิ กรรม ใชก ับเจาพระยา ขา ราชการชนั้ สงู ถงึ แกก รรม ใชก บั สุภาพชนทว่ั ไป มรณภาพ ใชกับพระสงฆ การกราบบังคมทลู 1. ถากราบบังคมทูลพระเจาแผน ดิน เมื่อมิไดพ ระราชดํารัสถามตองขึ้นตน ดวยวา “ ขอเดชะฝา ละอองธุรพี ระบาทปกเกลาปกกระหมอ ม ” แลวดาํ เนนิ เร่อื งไปจนจบทายการกราบบงั คมทลู ใชวา “ ดวยเกล าดว ยกระหมอมขอเดชะ ” ใชสรรพนามแทนพระองคทานวา “ ใตฝ าละอองธุลพี ระบาท ” ใชส รรพนามแทนตวั เราเองวา “ ขา พระพุทธเจา ” ใชค าํ รบั พระราชดาํ รสั วา “ พระพุทธเจา ขา ” 2. ถา มพี ระราชดาํ รัสถามข้นึ กอ นจะตอ งกราบบังคมทูล “ พระพุทธเจา ขอรับใสเ กลากระหมอม ” หรอื กราบบังคมทูลยอๆ วา “ ดวยเกลา ดวยกระหมอมหรอื จะใชพ ระพทุ ธเจาขา ” กไ็ ด 3. เปน การดวนจะกราบบงั คมทูลเร่ืองราวกอนก็ได แตเม่ือกลา วตอนจบตอ งลงทายวา “ พระพุทธเจ าขาขอรบั ใสเ กลา ใสก ระหมอ ม ” หรอื จะกราบบังคมทลู ยอ ๆ วา “ดว ยเกลา ดวยกระหมอ ม” ก็ได ถามีพระ

ห น า | 149 ราชดาํ รสั ถามตดิ ตอไปแบบสนทนาก็ไมข นึ้ ตนวา “ขอเดชะฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลา ปกกระหมอ ม” อกี แตตองลงทายวา “ดว ยเกลา ดว ยกระหมอม” เปน การตอบรบั ทุกครัง้ 4. ถาจะกราบบังคมทูลดว ยเรอ่ื งท่ไี มสมควรจะกราบบังคมทลู หรอื เปนเร่ืองหยาบไมส ุภาพตอ ง ข้ึนตนวา “ไมควรจะกราบบังคมทูลพระกรุณา”แลวดําเนินเรื่องไปจนจบ และลงทายดว ยวา “ดวยเกลา ด วยกระหมอม” 5. ถาพระเจาแผน ดินทรงแสดงความเอื้อเฟออนุเคราะหห รือทรงชมเชยตอ งกราบทูลเปนเชิง ขอบคุณวา “พระมหากรุณาธิคุณเปนลน เกลาลนกระหมอม” หรือ “พระเดชพระคุณเปนลน เกลาลน ก ระหมอ ม” แลว กราบบังคมทูลสนองพระราชดํารัสไปตามเรอ่ื งท่ีพระราชดาํ รัสนั้น แลว จบลงดวยคําวา “ด วยเกลา ดว ยกระหมอ ม” 6. ถา พระเจา แผนดินมีพระราชดํารัสถามถึงความเปน อยูเ มื่อจะกราบบังคมทูลวา ตนเองสุข สบายดีหรือรอดพน อันตรายตางๆ มา ใหขึ้นตนวา “ดว ยเดชะพระบารมีปกเกลาปกกระหมอ ม ขา พระ พทุ ธเจา เปน สขุ สบายด”ี หรอื “รอดพน อนั ตรายตา งๆ มาอยางไรและจบดว ยวา “ดว ยเกลาดวยกระหมอ ม” 7. เมอ่ื จะกราบบังคมทูลขอพระราชทานอภัยโทษหรือแสดงความเสียใจในสิ่งท่ีตนกระทําผิดต องขึ้นตน วา “พระอาญาไมพ น เกลา” แลว กราบบังคมทูลเรือ่ งราวท่ีตนทําผิดและลงทา ยดว ย “ดวยเกลา ด วยกระหมอม” หรืออาญาไมพ น เกลา ฯ “ขา พระพุทธเจาขอพระราชทานอภัยโทษ” ดําเนินเร่ืองไปจนจบ แลว ลงทา ยวา “ดวยเกลา ดวยกระหมอ ม” 8. เม่ือจะถวายสิ่งของพระเจา แผนดิน หากเปน ของเล็กหยิบถือไดก ราบทูลวา “ขอพระราชทานทูลเกลา ถวาย” ถาเปนสิง่ ของใหญห ยิบถือไมไ ดกราบทูลวา “ขอพระราชทานนอมเกลา ถวาย” เมื่อดาํ เนนิ เรอ่ื งจบแลววา “ดวยเกลาดวยกระหมอ ม” 9. การใชร าชาศัพทเขยี นจดหมาย พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั และสมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ ใชค ําข้ึนตน วา “ขอเดชะ ฝาล ะ อองธุลีพ ระ บาทปกเก ล าปกก ระ หมอม ข า พ ร ะ พุ ท ธ เ จ า .......(บ อ ก ช่ื อ ).......ข อ พ ร ะ ร า ช ท า น ก ร า บ บั ง ค ม ทู ล พ ร ะ ก รุ ณ า ท ร ง ท ร า บ ฝาละอองธุลพี ระบาท” ใชสรรพนามแทนพระองคว า “ใตฝ า ละอองธุลีพระบาท” ใชส รรพนามแทนตวั เองวา “ ขา พระพุทธเจา ” ใชคําลงทา ยวา “ควรมคิ วรแลว แตจ ะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอ ม ขาพระพุทธเจา ............ (บอกชื่อ)................ขอเดชะ ใชเ ขยี นหนาซอง “ขอพระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอ มถวาย.....(บอกช่อื )....... กจิ กรรม

150 | ห น า 1. ใหผูเ รยี นสงั เกตการใชค าํ ราชาศัพทจากสือ่ สารมวลชน เชน หนังสือพิมพ วิทยุและโทรทัศน โดยเฉพาะขาวพระราชสํานักแลวจาํ การใชใ หถูกตอ ง เพอ่ื นําไปใชเมอ่ื มโี อกาส 2. รวบรวมคําราชาศพั ทห มวดตางๆ เพอื่ ทาํ รายงานสงครู หรือเพื่อนําไปใชเ มื่อมีโอกาสให ผูเรยี นหาหนังสือพิมพรายวันมา 1 ฉบับแลวคน หาคําราชาศัพทแ ตล ะประเภทมาเทาทีจ่ ะได อยา งละคําก็ ตาม พยายามหาคําแปลโดยใชพ จนานกุ รมหรอื ถามผูรูก็ไดน ําไปอา นใหเ พื่อนฟงแลวตอจากนัน้ จึงนําไป ใหครูชว ยตรวจและขอคําวจิ ารณเ พ่ิมเตมิ คําศพั ทท ่ใี ชส าํ หรบั พระภกิ ษุสงฆ เนือ่ งจากพระภิกษุ เปนผูท รงศีล และเปน ผูส ืบพระพุทธศาสนา การใชถ อยคํา จึงกําหนดไวเปนอีก หนง่ึ เฉพาะองคสมเด็จพระสังฆราช ซ่ึงถือเปนประมุขแหงสงฆนั้นกําหนดใชราชาศัพทเทียบเทาพระราช วงศชั้นหมอ มเจา แตถ า พระภิกษุน้ันเปน พระราชวงศอ ยูแลวก็คงใหใ ชร าชาศัพทตามลําดับชัน้ ท่ีเปน อยูแลว นนั้ การใชถอ ยคํา สําหรับพระภิกษุโดยท่ัวไป มีขอควรสังเกต พระภิกษุใชก ับพระภิกษุดวยกันหรือ ใชกับคนธรรมดา จะใชศัพทอยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสําหรับกษัตริยและพระราชวงศค นอ่ืน ที่พูดกับทานหรอื พูดถึงทานจงึ จะใชราชาศัพท แตถ า พระองคทา นพูดกับคนอ่ืนจะใชภาษาสุภาพธรรมดา เชน มีผพู ดู ถงึ พระวา “พระมหาสนุ ทรกําลังอาพาธอยทู ี่โรงพยาบาล” พระมหาสนุ ทรพดู ถงึ ตวั ทา นเองก็ยอ มกลา ววา “อาตมากาํ ลงั อาพาธอยโู รงพยาบาล” มผี พู ดู ถงึ พระราชวงศพระองคหนง่ึ วา “พระองคเ จาดศิ วรกุมารกาํ ลังประชวร” พระองคเ จาเมือ่ กลา วถึงพระองคเ องยอ มรับสง่ั วา “ฉันกําลงั ปวย” ตัวอยา งคาํ ราชาศัพทส ําหรับพระภกิ ษุบางคํา คํานาม – ภัตตาหาร(อาหาร) ไทยทาน(สิ่งของถวาย) อาสนะ(ท่ีนั่ง) กุฏิ(ทพ่ี กั ในวดั ) เภสชั (ยารกั ษา โรค) ธรรมาสน(ที่แสดงธรรม) คาํ สรรพนาม – อาตมา(ภิกษุเรียกตนเองกับผูอ่ืน) ผม,กระผม(ภิกษุเรียก ตัวเองใชกับภิกษุดว ยกัน) มหาบพิตร (ภิกษุเรียกพระมหา กษั ตริ ย) โยม(ภิ ก ษุ เรี ย ก คนธ รรมดาท่ี เปนผู ใ หญก วา)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook