Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทยม.ปลาย

ภาษาไทยม.ปลาย

Published by 420st0000049, 2020-05-10 02:11:29

Description: ภาษาไทยม.ปลาย

Search

Read the Text Version

ห น า | 51 3. แจงถงึ กจิ กรรมหรอื การแสดงท่ีจะจดั ขน้ึ วา มอี ะไร มีข้ันตอนอยางไร 4. กลา วเชิญประธานเปดงาน เชิญผูกลา วรายงาน (ถา มี) และกลาวขอบคุณเม่ือประธานกลา ว จบ 5. แจงรายการที่จะดําเนินในลําดับตอ ไป ถา มีการอภิปรายก็เชิญคณะผูอ ภิปรายเพ่ือดําเนินการ อภิปราย ถาหากงานนัน้ มกี ารแสดงก็แจง รายการแสดง เชน 6. พูดเชอ่ื มรายการหากมีการแสดงหลายชดุ กจ็ ะตอ งมกี ารพูดเชอ่ื มรายการ 7. เม่ือทุกรายการจบสิ้นลง พิธีกรก็จะกลา วขอบคุณแขกผูมีเกียรติ ผูฟง และผูช ม ผูที่ใหการช วยเหลอื สนบั สนนุ งาน หากมีพธิ ีปด พธิ กี รก็จะตอ งดาํ เนนิ การจนพธิ ีปดเสรจ็ เรยี บรอย กจิ กรรมท่ี 9 1. ใหผ ูเ รียนดูและฟง การพูดของพิธีกรในรายการตางๆ ทางโทรทัศนแ ละวิทยุเพ่ือสังเกต ขั้นตอนวิธีการและเทคนิคตา งๆ ของพิธีกรเพื่อเปนตัวอยา ง จะไดนําสวนดีมาฝกและใชเ มื่อไดท ําหนาท่ี พิธีกร 2. ในโอกาสตา งๆ ที่กลุม หรือสถานศึกษาจัดงานใหผ ูเรียนใชโ อกาสฝกทําหนาท่ี พิธีกร เพ่ือจะไดฝ กทักษะ การพูดเปนพิธีกร หากจะใหเ พื่อนไดชว ยวิจารณแ ละใหครูประจํากลุม ใหค ํา แนะนาํ ก็จะทําใหพัฒนาการพูดเปนพธิ ีกรไดด ี ผมู ีมารยาทดใี นการพดู การมีมารยาทในการพูดกจ็ ะคลายคลึงกับลักษณะการพูดทดี่ ีดงั ทไี่ ดก ลา วในตอนตน แลว ซึ่งอาจ ประมวลไดด งั น้ี 1. ผพู ูด เปน ผูทีถ่ ายทอดความรูส ึก ความคดิ เหน็ ขอเท็จจริง ตลอดจนทัศนคติของตนไปสูผ ูฟง โดยสื่อทางภาษา เสียง อากัปกิริยา และบุคลิกภาพ ใหม ีประสิทธิภาพทีส่ ุด ผูพ ูดจะตอ งมีมารยาทและ คุณธรรมในการพูด และผูพ ูดเองตองมีการเตรียมตัว มีความรู และประสบการณในเรื่องท่ีจะพูดอยางดี และตองรวบรวมเรยี บเรยี งความรูเ หลาน้ันใหเปน ระบบและถา ยทอดใหผ ูฟง เขา ใจงาย และชัดเจน ผูพูด

52 | ห น า เองตอ งมีทักษะในการพูดมีความสนใจท่ีจะพัฒนาบุคลิกภาพอยูเ สมอ เปนการสรางความม่ันใจใหผูพ ูด เอง 2. เรื่องและสาระท่ีพูดตองมีประโยชนต อผูฟ ง ควรเปนเรื่องทันสมัย เนื้อหาชัดเจน ผูพ ูดตอ ง ขยายความคิดและยกตัวอยา งใหช ดั เจน 3. ผพู ูดตอ งรูจ กั กลุม ผูฟงกอนลวงหนา ทง้ั อาชีพ วยั เพศ ความสนใจของผูฟ ง ฯลฯ รวมทั้งจุดมุ งหมายในการพดู เพอื่ จะไดเตรยี มตัวและเน้ือหาไดถูกตอ งนา สนใจ 4. ผูพ ดู ตองคน ควา หาความรู และประมวลความคิดทั้งหมด แยกแยะใหไดวา ความคิดหลักคือ อะไร ความคิดรองคืออะไร และควรหาส่ิงสนับสนุนมาประกอบความคิดน้ันๆ เชนเหตุการณท่ีรับรูก ัน ไดท่ัวไป หรือบุคคลที่มีชื่อเสียง ฯลฯ พรอ มกันน้ันถามีการอางอิงเรื่องที่มาประกอบการพูดท่ีผูพ ูดตอ ง บอกแหลงที่มาดวย 5. การจัดระเบียบ และวางโครงเรือ่ ง ตอ งเตรียมใหด ีเพ่ือจะไดไ มพูดวกวน เพราะมิฉะน้ันจะ ทาํ ใหก ารพดู ไมน า สนใจ และอยาลมื วา ในการพูดแตละครงั้ ตองใหค รอบคลุมจดุ มุง หมายใหค รบถวน 6. ผูพ ูดตอ งเราความสนใจของผูฟง ดว ยการใชภ าษา เสียง กิริยาทา ทาง และบุคลิกภาพสว นตน เขาชว ยใหผ ฟู ง ฟง อยา งตง้ั ใจ และผูพ ูดตองพรอ มในการแกป ญ หาเฉพาะหนาท่อี าจเกดิ ข้นึ ดว ย  กจิ กรรมท่ี 10 ผูเ รียนลองประเมินตนเองวา ทา นสามารถเปนนักพูดระดับใด ถา กําหนดระดับ A B C และ D โดยทานเปน ผูต้ังมาตรฐานเองดว ย และถาไดระดับ C ลงมา ทา นคิดจะปรับปรุงตนเองอยา งไรบางหรือ ไม

ห น า | 53 บทท่ี 3 การอา น สาระสาํ คญั การอานเปนการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเปนความคิดและนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรา งวสิ ัยทศั นในการดาํ เนนิ ชวี ิตและมีนสิ ยั รกั การอาน ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวงั ผเู รยี นสามารถ 1. จบั ใจความสรุปความ ตีความ แปลความและขยายความเรอ่ื งทอี่ าน 2. วิเคราะห วจิ ารณค วามสมเหตุสมผล ความเปน ไปไดและลาํ ดบั ความคิด ของเรอ่ื งท่อี านได 3. เขา ใจความหมายของภาษาถิน่ สาํ นวน สุภาษติ ในวรรณกรรมทองถน่ิ 4. เลอื กอานหนงั สอื จากแหลง ความรู เปนผมู มี ารยาทในการอา นและรกั การอา น ขอบขายเนือ้ หา เรอ่ื ง 1 ความสําคญั ของการอา น เรอ่ื ง 2 วจิ ารณญาณในการอา น เรอ่ื ง 3 การอา นแปลความ ตีความ ขยายความ จบั ใจความหรอื สรุปความ เรอ่ื ง 4 วรรณคดี เรอ่ื ง 5 หลักการวจิ ารณวรรณกรรม เรอ่ื ง 6 ภาษาถนิ่ เรอ่ื ง 7 สาํ นวน, สภาษติ เรอ่ื ง 8 วรรณกรรมทอ งถ่ิน

54 | ห น า เร่อื งที่ 1 ความสําคญั ของการอาน 1 การอา นชว ยพัฒนาคุณภาพชีวิต ทําใหผูอ านไดร ับสาระความรูเ พิ่มขึ้น เปน คนทันสมัย ทัน เหตกุ ารณแ ละความเคลอ่ื นไหวของเหตุการณบานเมือง ตลอดจนสังคมและวิทยาการใหมๆ เปนตน ผูอ  านเม่ือไดร ับความรูจ ากการอา นแลว จะสามารถนําสาระตา งๆ มาสรา งสรรคใ หเกิดประโยชนต อ ชีวิต สังคมและประเทศชาติในโอกาสตอไปได 2. การอา นชว ยใหเ กดิ ความเพลดิ เพลนิ หนงั สอื หลายประเภทนอกจากจะใหความรู ความคิดแล วยังใหความเพลิดเพลินอีกดว ย ผูอ า นหนังสือจะไดร ับความเพลิดเพลิน ไดรับความสุข อีกท้ังยังสรา ง ความฝนจติ นาการแกผ ูอา น ตลอดจนเปน การพกั ผอนและคลายเครยี ดไดเปนอยา งดี 3. การอานมผี ลตอ การดาํ เนนิ ชีวิตที่สุขสมบูรณข องมนุษย ผลที่ไดร ับจากการอาน นอกจากจะ เปนพื้นฐานของการศึกษา ศิลปวิทยาการ และชวยในการพัฒนาอาชีพแลว ยังมีผลชว ยใหผูอานได แนวคิดและประสบการณจ ําลองจากการอานอีกดว ย ซึ่งความคิดและประสบการณจะทําใหผูอ า นมีโลก ทัศนก วางขน้ึ เขา ใจตนเอง เขาใจผูอ่นื และเขา ใจสังคมเปนอยา งดี อันจะมีผลตอการดําเนินชีวิตและการ ดาํ รงตนอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

ห น า | 55 เรอื่ งท่ี 2 วิจารณญาณในการอาน วิจารณญาณในการอาน คือการรับสารจากการอานใหเขา ใจเนื้อหาสาระแลวใชสติปญญาใคร ครวญหรือไตรต รอง โดยอาศัยความรู ความคิด ประสบการณม าเปน เหตุผลประกอบและสามารถนํา ไปใชใ นชีวติ ไดอ ยา งถกู ตอ งเหมาะสม การใชว ิจารณญาณในการอาน จะเร่ิมตน ที่การอานดวยความตัง้ ใจและพยายามทําความเขา ใจ เนอ้ื หาสาระของเรอ่ื งทอ่ี า นแลวใชค วามรู ความคิด เหตุผลและประสบการณประกอบการคิด ใครค รวญ ใหสามารถรับสารไดถ ูกตอ ง ถองแท การอานโดยใชวิจารณญาณประกอบดว ยการเขา ใจของเรื่อง การรู จกั เขยี น การเขา ใจความสมั พนั ธข องสารและการนําไปใช การอานอยา งมีวิจารณญาณจะตอ งใชความคิด วิเคราะห ใครค รวญและตัดสินใจวา ขอความทไ่ี ดอ า นนน้ั สิ่งใดเปน ความสําคญั สง่ิ ใดเปน ใจความประกอบหรือพลความ สามารถแยกขอเท็จ จรงิ จากขอ คิดเหน็ ได ตลอดจนวินิจฉยั ไดว าขอ ความทอ่ี านนั้นควรเชื่อถอื ไดห รือไมเพียงใด และการอาน ประเมินคา วา ขอ ความที่ไดอานมีเนื้อหาสาระหรือมีแงค ิดท่ีดีหรือไม อาจนําไปใชป ระโยชนไ ดเ พียงไร รวมท้ังการประเมินคางานเขียนในดานตา งๆ เชน ความรู ความสามารถ ความจริงใจและกลวิธีในการ เขยี น ขัน้ ตอนของวิจารณญาณในการอาน มีดงั น้ี 1. อา นใหเ ขา ใจตลอดเรอ่ื ง เปนการอา นสารดวยความต้ังใจใหเ ขา ใจรายละเอียดตลอดเรอ่ื ง 2. วิเคราะหเรื่อง เมื่ออา นและเขา ใจเรื่องแลว จะตอ งนํามาวิเคราะหสาระสําคัญใหร ูเ รื่องที่อาน เปน เรื่องประเภทใด อะไรเปน ขอเท็จจริง อะไรเปนขอ คิดเห็น และอะไรเปน ประโยชน ลักษณะของตัว ละครเปนอยา งไร เปนเร่ืองประเภทรอยแกว รอยกรอง บทความ ขาว หรือละคร ฯลฯ ผูเขียนมีเจตนาอยาง ไรในการเขยี นเรอ่ื งน้ี ใชก ลวิธีในการนาํ เสนออยางไร ซงึ่ ผอู านตองพิจารณาแยกแยะใหได

56 | ห น า 3. ประเมินคาของเรอ่ื ง เม่อื อา นและวิเคราะหแยกแยะเรื่องแลว นํามาประเมินคา วาสิ่งใดเท็จ สิ่ง ใดจรงิ สิง่ ใดมคี า ไมมีคา มีประโยชนใ นดา นใด นาํ ไปใชกับใครเมอ่ื ไรและอยา งไร 4. นําเรื่องท่ีอานไปใช หลังจากผานขั้นตอนของการอาน ทําความเขาใจ วิเคราะหแ ละประ เมินคาแลว ตอ งนําไปใชไ ดท้ังในการถา ยทอดใหผูอ ่ืน และนําไปใชในการดําเนินชีวิตไดอ ยา งเหมาะสม กบั กาลเทศะและบุคคล หลกั การอานอยา งใชวิจารณญาณ 1. พิจารณาความถูกตอ งของภาษาที่อา น เชน ดานความหมาย การวางตําแหนง คํา การเวน วรรค ตอน ความผดิ พลาดดงั กลาวจะทําใหการสือ่ ความหมายผดิ ไป 2. พิจารณาความตอ เนื่องของประโยควา มีเหตุผลรับกันดีหรือไม โดยอาศัยความรูด า น ตรรกวทิ ยาเขา ชวย ขอความจากประโยคจะตองไมขัดแยงกัน หรือเรียงลําดับไมส ับสนวุนวายจนอา นไมร ู เรอ่ื งหรอื อา นเสยี เวลาเปลา 3. พิจารณาดูความตอ เนือ่ งของเรื่องราวระหวา งเร่ืองที่เปนแกนหลักหรือแกนนํากับแกนรอง และสวนประกอบอื่น ๆ กลมกลืนกนั ดีหรอื เปลา 4. รจู กั แยกแยะขอเทจ็ จรงิ ออกจากเร่อื งการแสดงความรแู ละขอคิดเห็นของผูแ ตง เพ่ือจะไดนํามา พจิ ารณาภายหลังไดถูกตอ งใกลเคยี งความเปนจรงิ ยิ่งข้นึ 5. พจิ ารณาความรู เนอ้ื หา ตวั อยา งที่ได วา มสี ว นสมั พนั ธกนั อยา งเหมาะสมหรอื ไมเพยี งใด เปน ความรูความคิด ตัวอยา งท่ีแปลกใหมห รืออางอิงมาจากไหน นา สนใจเพียงใด จากน้ันควรทําการ ประเมินผลโดยท่ัวไปวาผลจากการอานจะทําใหเกิดความรูค วามคิดมากนอยเพียงใด โดยเฉพาะอยา งยิง่ ความคิดสรา งสรรคท ีผ่ ูอ า นประสงคหรอื ปรารถนาจะไดจ ากการอานนน้ั ๆ อยเู สมอ การอา นอยางมีวิจารณญาณไมใ ชส ิ่งที่ทําไดง า ยๆ ผูกระทําจะตอ งหม่ันฝก หัด สังเกต จํา และ ปรับปรุงการอา นอยูเสมอ แรกๆ อาจรูสึกเปนภาระหนักและนาเบื่อหนา ย แตถา ไดกระทําเปน ประจําเป นนิสยั แลวจะทาํ ใหความลาํ บากดงั กลาวหายไป ผลรบั ท่ีเกิดขึน้ นัน้ คุม คา ย่งิ กจิ กรรมท่ี 1 ใหผูเ รียนอานขา ว บทความ หรือขอความ และใชว ิจารณญาณในการอา นตามขั้นตอนท้ัง 4 ขั้นตอน และประเมินตนเองวา สามารถทําไดครบทุกขั้นตอนหรือไม และเม่ือประเมินแลวรูสึกสนใจ เรอ่ื งของการอานเพิ่มขน้ึ หรือไม

ห น า | 57 เรื่องท่ี 3 การอานแปลความ ตีความ ขยายความ จบั ใจความหรอื สรปุ ความ การอานแปลความ หมายถึงการแปลเรอ่ื งราวเดมิ ใหอ อกมาเปนคําใหม ภาษาใหมห รือแบบใหม ความมุง หมายของการแปลความอยูท ่ีความแมนยําของภาษาใหมวา ยังคงรักษาเนื้อหาและความสําคัญ ของเรอ่ื งราวเดมิ ไวค รบถวนหรอื ไม สาํ หรับการแปลความบทรอยกรองเปนรอยแกวหรือการถอดคําประพันธรอ ยกรองเปน รอ ยแกว น้ัน ควรอา นขอ ความและหาความหมายของศัพทแลวเรียบเรียงเน้ือเร่ืองหรือเน้ือหาเปนรอยแกว ให สละสลวย โดยท่เี นอ้ื เรอ่ื งหรอื เนอ้ื หาน้ันยงั คงเดิมและครบถว น เชน พฤษภกาสร อกี กญุ ชรอนั ปลดปลง โททนตเ สนงคง สําคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย มลายส้ินท้ังอินทรยี  สถิตท่ัวแตช ว่ั ดี ประดบั ไวใ นโลกา (สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระปรมานชุ ิตชโิ นรส : กฤษณาสอนนองคาํ ฉนั ท) ความหมายของศพั ท พฤษภ = ววั กาสร = ควาย กญุ ชร = ชา ง ปลดปลง = ตาย โท = สอง ทนต = ฟน เสนง = เขา นรชาติ = มนษุ ย วางวาย = ตาย มลาย = ส้นิ ไป อนิ ทรีย = รา งกาย สถิต = คงอยู ประดบั = ตกแตง โลกา = โลก แปลความเปน รอ ยแกว ก็คือ ววั ควายและชาง เมื่อตายแลวยังมีฟนและเขาทัง้ สองขา งเหลอื อยู สว นมนษุ ยเ ม่ือตายไปรางกายก็ สิ้นไป คงเหลอื แตค วามชวั่ หรอื ความดีที่ไดท ําไวเ ทานนั้ ที่ยงั คงอยูในโลกน้ี การอานตีความ การอา นตีความหรือการอานวินิจสารเปนการอานอยางพิจารณาถี่ถวนดว ยความเขาใจเพื่อใหได ประโยชน หรือเปนไปตามวัตถุประสงคข องผูเขียน จะเปนการอานออกเสียงหรืออานในใจก็ได แตจ ุด สําคัญอยูท ่กี ารใชส ตปิ ญญาตีความหมายของคําและขอ ความ ทั้งหมดรวมทง้ั สิง่ แวดลอ มทกุ อยางท่ีเกี่ยวข

58 | ห น า องกับขอ ความท่ีอา น ดังน้ันจึงตอ งอาศัยการใชเหตุผลและความรอบคอบในการพิจารณาทั้งถอ ยคําและ สิ่งแวดลอ มทั้งหมดท่ีผูอา นจะตีความสารใดๆ ไดกวางหรือแคบ ลึกหรือต้ืนขนาดไหน ยอมขึ้นอยูก ับ ประสบการณส วนตัวและความเฉียบแหลมของวิจารณญาณ เปนการอา นท่ีผูอ า นพยายามเขาใจความ หมายในสงิ่ ทผ่ี เู ขยี นมิไดก ลาวไวโดยตรง ผอู า นพยายามสรปุ ลงความเห็นจากรายละเอียดของเรอ่ื งทอ่ี า น การอา นตีความน้ัน ผูอ านจะตอ งคิดหาเหตุผล เขาใจผูเขียน รูว ัตถุประสงครูภาษา ทีผ่ ูเขยี นใชท ้งั ความหมายตรงและความหมายแฝง อน่ึงขอความท้ังรอยแกวและรอ ยกรองบางบท มิไดมี ความหมายตรงอยา งเดียวแตมีความหมายแฝงซอ นเรน อยู ผูอ า นตองแปลความกอนแลว จึงตีความใหเขา ใจความหมายที่แฝงอยู สารท่ีเราอานอยูน้ีมี 2 ประเภท คือ ประเภทรอยแกวและประเภทรอ งกรอง ดังน้ัน การตีความจึง มกี ารตีความท้ังสารประเภทรอยแกวและประเภทรอยกรอง ตวั อยางการตีความสารประเภทรอ ยกรอง “นาคมี ีพิษเพี้ยง สรุ โิ ย เลอ้ื ยบท าํ เดโช แชม ชา พิษนอ ยหยงิ่ ยโส แมลงปอ ง ชแู ตหางเองอา อวดอางฤทธี” (โคลงโลกนติ )ิ โคลงบทน้ีกลา วถึงสัตว 2 ชนิด ท่ีมีลักษณะแตกตางกัน เปรียบเสมือนคน 2 จําพวก พวกแรกมอี ํานาจหรอื มีความสามารถแตไ มแ สดงออกเมื่อยังไมถ ึงเวลาอันสมควร สวนพวกท่ี 2 มีอํานาจ หรอื ความสามารถนอยแตอ วดดี กวียกยอง จาํ พวกแรก เหยยี ดหยามคนจําพวกหลัง โดยสังเกตจากการใช ถอยคํา เชน ชูหางบา ง พิษนอ ยบา ง ฉะน้ัน ควรเอาอยางคนจําพวกแรก คือมีอํานาจมีความสามารถแตไม แสดงออกเมอ่ื ยงั ไมถ ึงเวลาอนั สมควร ขอปฏิบัติในการอานตีความ 1. อา นเรอ่ื งใหละเอยี ดแลวพยายามจบั ประเดน็ สาํ คัญของขอเขยี นใหไ ด 2. ขณะอานพยายามคิดหาเหตุผล และใครค รวญอยางรอบคอบ แลว นํามาประมวลเขา กับ ความคิดของตนวา ขอ ความนน้ั ๆ หมายถึงสิง่ ใด 3. พยายามทําความเขาใจกับถอยคําบางคําที่เห็นวา มีความสําคัญรวมทั้งสภาพแวดลอ มหรือ บริบทเพื่อกําหนดความหมายใหชดั เจนยิ่งขน้ึ 4. การเรยี บเรยี งถอยคาํ ทไี่ ดมาจากการตีความ จะตองมีความหมายชดั เจน 5. พึงระลึกวาการตีความมิใชก ารถอดคําประพันธ ซ่ึงตอ งเก็บความหมายของ บทประพันธน ้ันๆ มาเรียบเรียงเปน รอ ยแกวใหค รบท้ังคํา และขอ ความ การตีความน้ันเปนการจับเอาแต ใจความสําคญั การตีความจะตอ งใชความรูค วามคิดอนั มีเหตผุ ลเปนประการสาํ คัญ

ห น า | 59 ขอควรคาํ นงึ ในการตีความ 1. ศึกษาประวตั ิและพืน้ ฐานความรูของผูเขยี น 2. ศึกษาสภาพสังคมในสมัยที่งานเขียนน้ันเกิดขึน้ วา เปน สังคมชนิดใด เปนประชาธิปไตยหรือ เผดจ็ การเปน สังคมเกษตร พาณิชยห รอื อตุ สาหกรรม เปนสังคมท่ีเครงศาสนาหรอื ไม 3. อา นหลายๆ ครง้ั และพจิ ารณาในรายละเอียด จะทาํ ใหเ หน็ แนวทางเพ่ิมขน้ึ 4. ไมยึดถอื สิ่งทต่ี นตีความน้นั ถูกตอง อาจมีผูอ่ืนเห็นแยงก็ได ไมค วรยึดมัน่ ในกรณีท่ีไมต รงกับ ผูอื่นวาของเราถกู ตอ งทีส่ ดุ การอา นขยายความ การอานขยายความ คือ การอธิบายเพิ่มเติมใหล ะเอียดข้ึนภายหลังจากไดต ีความแลว ซึ่งอาจใช วธิ ียกตัวอยางประกอบหรือมีการอางอิงเปรียบเทียบเนือ้ ความใหก วางขวางออกไปจนเปน ท่ีเขาใจชัดเจน ยิ่งข้ึน ตัวอยา ง ความโศกเกดิ จากความรกั ความกลัวเกดิ จากความรกั ผูทลี่ ะความรกั เสยี ไดก ็ไมโศกไมกลัว (พุทธภาษติ ) ขอ ความน้ีใหข อคดิ วา ความรกั เปน ตน เหตใุ หเกดิ ความโศก และความกลัวถา ตัดหรือละความรัก ได ทั้งความโศก ความกลวั ก็ไมมี ขยายความ เม่ือบุคคลมีความรักในสิ่งใดหรือคนใด เขาก็ตองการใหส่ิงน้ันคนน้ันคงอยูใ หเ ขารักตลอดไป มนุษยสว นมากกลัววาคนหรือสิ่งที่ตนรักจะแตกสลายหรือสูญสิ้นจากไป แตเ มื่อถึงคราวทุกอยางยอ ม เปลีย่ นไปไมอ าจคงอยูได ยอ มมีการแตกทําลายสูญสลายไปตามสภาพ ถารูค วามจริงดังน้ีและรูจ ักละ ความรกั ความผกู พนั นั้นเสยี เขาจะไมต องกลัวและไมต องโศกเศรา เสยี ใจอกี ตอไป การขยายความน้ีใชในกรณีท่ขี อความบางขอความ อาจมีใจความไมสมบูรณจึงตอ งมีการอธิบาย หรือขยายความเพื่อใหเ กิดความเขา ใจยิง่ ขึน้ การขยายความอาจขยายความเกี่ยวกับคําศัพทห รือการให เหตุผลเพิ่มเตมิ เชน สาํ นวน สภุ าษติ โคลง กลอนตางๆ เปน ตน การอา นจับใจความหรือสรุปความ

60 | ห น า การอานจับใจความหรือสรุปความ คือ การอานท่ีมุงคนหาสาระของเรื่องหรือของหนังสือแตล ะ เลมทีเ่ ปน สว นใจความสาํ คัญและสวนขยายใจความสาํ คัญของเรอ่ื ง ใจความสําคัญ คือ ขอ ความท่ีมีสาระคลุมขอ ความอ่ืนๆ ในยอหนาน้ันหรือเรื่องน้ันทัง้ หมด ข อความอ่ืนๆ เปนเพียงสว นขยายใจความสําคัญเทาน้ัน ขอความหน่ึงหรือตอนหน่ึงจะมีใจความสําคัญ ที่สุดเพียงหน่ึงเดียว นอกน้ันเปน ใจความรอง คําวา ใจความสําคัญน้ี บางทีเรียกเปน หลายอยาง เชน แกน หรอื หวั ใจของเรอ่ื ง แกน ของเรอ่ื งหรอื ความคดิ หลกั ของเรอ่ื ง แตจ ะอยา งไรก็ตามใจความสําคัญคือสิ่งที่เป นสาระท่ีสําคญั ท่ีสดุ ของเร่อื ง นน่ั เอง ใจความสาํ คญั สวนมากจะมีลักษณะเปน ประโยค ซึ่งอาจจะปรากฏอยูในสว นใดสว นหนึง่ ของย อหนาก็ได จุดที่พบใจความสําคัญของเรื่องแตล ะยอ หนา มากที่สุดคือ ประโยคที่อยูตอนตนยอ หนา เพราะผูเขียนมักจะบอกประเด็นสําคัญไวกอน แลว จึงขยายรายละเอียดใหชัดเจน รองลงมาคือประโยค ตอนทา ยยอ หนา โดยผูเขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นยอ ๆ กอ น แลว จึงสรุปดวยประโยคท่ีเปน ประเด็นไวภายหลัง สําหรับจุดที่พบใจความสําคัญยากข้ึนก็คือประโยคตอนกลางยอ หนา ซ่ึงผูอานจะต องใชค วามพยายามสังเกตใหด ี สว นจุดท่ีหาใจความสําคัญยากทีส่ ุด คือ ยอ หนาที่ไมม ีประโยคสําคัญ ปรากฏชดั เจน อาจมีหลายประโยคหรอื อาจจะอยูรวมๆ กนั ในยอหนาก็ได ซ่ึงผูอ า นตองสรปุ ออกมาเอง การอา นและพจิ ารณานวนิยาย คําวา “นวนยิ าย” (Novel) จดั เปนวรรณกรรมประเภทหนง่ึ หมายถึง หนังสือท่ีเขียนเปน รอ ยแกว เลาถึงชวี ิตในดา นตางๆ ของมนษุ ย เชน ดา นความคิด ความประพฤติ และเหตุการณตา งๆ ที่เกิดขึน้ ใน ชีวิตจริงของมนษุ ย ชื่อคน หรอื พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกเปนเรอ่ื งสมมุตทิ ัง้ สนิ้ นวนิยายแบงเปน 6 ประเภท ดงั น้ี 1. นวนิยายอิงประวัติศาสตร เชน ผูชนะสิบทิศ (อิงประวัติศาสตรมอญ) ชูซีไทเฮา (อิงประวัติศาสตรจ ีน) สี่แผน ดิน (อิงประวัติศาสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร แผนดินรัชกาลที่ 5 -8) กระทอมนอ ยของลุงทอม(องิ ประวตั ิศาสตรอเมรกิ า) 2. นวนยิ ายวิทยาศาสตร คอื นวนยิ ายท่ีนําความมหัศจรรยท างวิทยาศาสตรแขนงตางๆ มาเขียน เปน เรอ่ื งราวที่นาตื่นเตน เชน กาเหวา ท่ีบางเพลง สตารว อร( Star war) มนุษยพ ระจันทร มนุษยลองหน เปน ตน 3. นวนยิ ายลึกลับ ฆาตกรรม นกั สบื สายลบั เชน เร่อื งเชอรลอกโฮม มฤตยยู อดรกั 4. นวนยิ ายเก่ยี วกบั ภูตผปี ศาจ เชน แมนาคพระโขนง กระสือ ศรี ษะมาร เปน ตน 5. นวนยิ ายการเมอื ง คือ นวนนยิ ายท่ีนําความรูทางการเมืองการปกครองมาเขียนเปน เนื้อเรื่อง เชน ไผแ ดง ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เปาบุนจน้ิ สามกก สารวตั รใหญ เปน ตน

ห น า | 61 6. นวนิยายดานสังคมศาสตร คือ นวนิยายที่สะทอนสภาพสังคม เชน เร่ืองเมียนอย เสียดาย เพลงิ บญุ เกมเกียรติยศ นางมาส เปนตน องคป ระกอบของนวนยิ าย นวนยิ ายแตล ะเรอ่ื งมอี งคประกอบทีส่ ําคญั ดงั น้ี 1. โครงเรื่อง (Plot) หมายถึง ของขายหรือโครงเรือ่ งราวหรือเหตุการณตางๆ ท่ีตอเนื่องเปน เหตุ เปนผลตอ กัน 2. เนือ้ เรื่อง (Story) หมายถึง เรือ่ งราวตา งๆ ท่ีผูเ ขียนถา ยทอดยกมาทําใหผูอา นทราบวา เรื่องท่ี อานนนั้ เปน เรอ่ื งราวของใคร เกดิ ข้ึนที่ไหน อยา งไร เมื่อใด มีเหตุการณหรือความเห่ียวของกันระหวา ง ตวั ละครอยา งไร 3. ฉาก (Setting) คือสถานทีเ่ กิดเหตุการณในเร่ืองอาจเปน ประเทศ เมือง หมูบ า น ทุงนา ในโรง ภาพยนตร ฯลฯ 4. แนวคดิ (Theme) ผแู ตง จะสอดแทรกแนวคดิ ไวอ ยางชัดแจนในคําพูด นิสัย พฤติกรรม หรือ บทบาทของตวั ละคร หรอื พบไดใ นการบรรยายเรอ่ื ง 5. ตวั ละคร (Characters) ผูแตงเปน ผูส รา งตัวละครข้ึนมา โดยตัง้ ชือ่ ให แลวกําหนดรูปรางหน าตา เพศ วัย นิสัยใจคอ บุคลิกภาพ ตลอดจนกําหนดบทบาทและโชคชะตาของตัวละคร เหลา นัน้ ดวย หลักการอา นและพิจารณานวนยิ ายมีดงั น้ี 1. โครงเรอ่ื งและเนือ้ เรอื่ ง การแสดงเนื้อเรื่อง คือการเลา เรื่องนั่นเอง ทําใหผูอา นทราบวา เปน เร่ืองราวของใคร เกิดขึน้ ท่ีไหน อยางไร เม่ือใด มีเหตุการณอ ะไร สว นโครงเร่ืองน้ันคือสวนที่เนน ความเกีย่ วขอ งระหวา งตวั ละครในชวงเวลาหนงึ่ ซ่ึงเปน เหตผุ ลตอเนอ่ื งกนั โครงเรอ่ื งท่ีดีมลี กั ษณะดงั น้ี 1.1 มีความสัมพันธกันระหวางเหตุการณตางๆ ในเรื่องและระหวางบุคคลในเรื่องอยาง เกี่ยวเนื่องกันไปโดยตลอด 1.2 มีขดั แยง หรือปมของเร่ืองท่นี า สนใจ เชน ความขัดแยง ของมนษุ ย กบั สงิ่ แวดลอ ม การต อสูร ะหวางอาํ นาจอยางสูงกบั อาํ นาจอยางตา่ํ ภายในจติ ใจ การชิงรกั หกั สวาท ฯลฯ ขัดแยง เหลา นเ้ี ปน สง สาํ คัญท่ที าํ ใหต วั ละครแสดงพฤตกิ รรมตา งๆ ออกมาอยา งนาสนใจ 1.3 มีการสรางความสนใจใครรตู ลอดไป (Suspense) คือการสรางเรอื่ งใหผ อู านสนใจใครร ูอย างตอเนอ่ื งโดยตลอด อาจทาํ ไดหลายวธิ ี เชน การปดเรื่องทผ่ี อู านตองการทราบไวก อน การบอกใหผูอ า น

62 | ห น า ทราบวาจะมีเหตุการณสําคัญเกิดขึน้ ในตอนตอ ไป การจบเรื่องแตล ะตอนท้ิงปญหาไวใ หผ ูอา นอยากรู อยากเหน็ เรอ่ื งราวตอไปน้ี 1.4 มีความสมจรงิ (Realistic) คอื เร่ืองราวที่เกิดขนึ้ เปนไปอยางสมเหตสุ มผล มิใชเ หตุ ประจวบหรอื เหตบุ งั เอิญท่มี ีนาํ้ หนกั เบาเกนิ ไป เชน คนกาํ ลงั เดอื ดรอนเรอ่ื งเงนิ หาทางออกหลายอยา งแต ไมสําเร็จ บังเอิญถกู สลากกนิ แบง รฐั บาลจงึ พน ความเดอื ดรอ นไปได 2. กลวิธีในการดําเนินเรือ่ ง จะชวยใหเ รื่องนา สนใจและเกิดความประทับใจซึ่งอาจทําไดห ลาย วธิ ี เชน 2.1 ดาํ เนนิ เรอ่ื งตามลําดับปฏิทิน คือเร่ิมต้ังแตละครเกิด เติบโตเปนเด็ก เปนหนุม สาว แก แลว ถึงแกกรรม 2.2 ดําเนินเรื่องยอนตน เปน การเลาแบบกลา วถึงเหตุการณในตอนทายกอนแลว ไปเลา ต้ัง แตจ นกระท่งั จบ 2.3 ดําเนินเรื่องสลับไปมา คือ การเร่ิมเรื่องในตอนใดตอนหน่ึงกอ นก็ได เชน อาจกลาว ถึงอดตี แลวกลบั มาปจ จบุ นั อกี หรอื การเลา เหตกุ ารณท่ีเกดิ ตา งสถานที่สลับไปมา ผอู า นควรพจิ ารณาวากลวิธีในการดาํ เนนิ เรอ่ื งของผเู ขยี นแตล ะแบบมีผลตอเรื่องน้ันอยา ง ไร ทาํ ใหเรอ่ื งนา สนใจชวนตดิ ตามและกอ ใหเ กดิ ความประทับใจหรือไม หรือวา กอใหเ กิดความสับสน ยากตอ การตดิ ตามอา น 3. ตวั ละคร ผูอานสามารถพิจารณาตวั ละครในนวนยิ ายในดานตอไปน้ี 3.1 ลกั ษณะนสิ ยั ของตวั ละคร 3.1.1 มีความสมจรงิ เหมอื นคนธรรมดาท่ัวไป คือ มีท้ังดีและไมด ีอยูในตัวเอง ไมใช วาดีจนหาทห่ี นึง่ หรอื เลวจนหาที่ชมไมพ บ 3.1.2 มีการกระทําหรือพฤติกรรมที่สดคลอ งกับลักษณะนิสัยตนเอง ไมป ระพฤติ ปฏบิ ตั ใิ นที่หนึ่งอยางหนง่ึ และอหี นง่ึ อยา งหนง่ึ 3.1.3 การเปล่ียนลกั ษณะนสิ ยั ของตวั ละครตอ งเปนไปอยางสมเหตสุ มผล 3.2 บทสนทนาของตวั ละคร บทสนทนาท่ดี ี ควรพิจารณาดงั น้ี 3.2.1 มีความสมจรงิ คือ สรางบทสนทนาใหสอดคลองกับฐานะและลักษณะนิสัยของ ตวั ละครในเรอ่ื ง 3.2.2 มีสว นชวยใหเรอ่ื งดาํ เนนิ ตอไปได 3.2.3 มีสวนชวยใหรูจ กั ตวั ละครในดา นรปู รางและนสิ ยั ใจคอ 4. ฉาก หมายถงึ สถานทแี่ ละเวลาทีเ่ รอ่ื งนน้ั ๆ เกิดขน้ึ มีหลักการพจิ ารณาดงั น้ี

ห น า | 63 4.1 สอดคลองกบั เนอ้ื เรอ่ื ง และชว ยสรางบรรยากาศ เชน บานรางมีใยแมงมุมจับอยูตามห อง ฯลฯ นา จะเปนบา นท่ีมีผสี ิง คืนทมี่ ีพายุฝนตกหนกั จะเปน ฉากสาํ หรับฆาตกรรม 4.2 ถูกตองตามสภาพความเปนจริง ฉากท่ีมีความถูกตอ งตามสภาพภูมิศาสตรแ ละเหตุ การณในประวตั ิศาสตร จะชว ยเสรมิ ใหน วนยิ ายเรอ่ื งน้นั มคี ณุ คาเพม่ิ ขึ้น 5. สารัตถะ หรือสารของเรื่อง หมายถึง แนวคิด จุดมุง หมายหรือทัศนะของผูแ ตง ท่ีตองการส่ือ มาถึงผูอ า น ผูแ ตง อาจจะบอกผูอ า นตรงๆ หรือใหต ัวละครเปน ผูบอกหรืออาจปรากฏท่ีชื่อเรื่อง แตโดย มากแลว ผูแ ตง จะไมบอกตรงๆ ผูอา นตอ งคน หาสาระของเร่ือง เชน เร่ืองผูดีของดอกไมสด ตองการจะแสดงวา ผูดีน้ันมีความหมายอยางไร เรื่องจดหมายจากเมืองไทยของโบต๋ันตองการแสดงให เหน็ ขอ ดีขอเสยี ของคนไทย โดยเฉพาะนํา้ ใจซึง่ คนชาตอิ ื่นไมมีเหมอื น นวนิยายท่ีดีจะตอ งมีสารัตถะของเรื่องและมีคุณคาตอผูอา นไมทางใดก็ทางหน่ึง หลักสําคัญใน การเลอื กวรรณกรรมในการอานตอ งเลอื กใหตรงกับความสนใจ มีเนื้อหาสาระตรงตามความตองการ เป นวรรณกรรมทด่ี ีใหค ณุ คา แกช วี ติ ดงั น้ี 1. เน้ือหาความคดิ เหน็ มีจดุ มุง หมายทด่ี ี มีความคิดสรา งสรรค 2. กลวิธีในการแตง ดี ไดแ กภาษาท่ีใช และองคป ระกอบอ่ืนๆ สื่อความหมายไดต รงตามความ ตองการ อา นเขาใจงายและสลวย 3. มีคุณประโยชน

64 | ห น า เรือ่ งท่ี 4 วรรณคดี วรรณคดี คือ หนังสือที่ไดร ับการยกยองวา แตงดีมีลักษณะเดนในเชิงประพันธ มีคุณคา สูง ในดา นความคิด อารมณและความเพลิดเพลิน ทําใหผ ูอานเห็นความงาม ความไพเราะ เกิดความซาบซึ้งกินใจ วรรณคดีจึงมีความงดงามดานวรรณศิลป ชว ยยกระดับจิตใจ ความรูสึก และภมู ปิ ญ ญาของผอู านใหส งู ขนึ้ วรรณคดีจงึ เปน มรดกทางวฒั นธรรมอยางหนง่ึ ความสาํ คญั ของวรรณคดี วรรณคดีเปน ส่ิงสรางสรรคอ ันล้ําคา ของมนุษย มนุษยสรางและสื่อสารเรื่องราวของชีวิต วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ อ า ร ม ณ ค ว า ม รู ส ึ ก ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ห รื อ ส ะ ท อ น ค ว า ม เ ป น ม นุ ษ ย ด ว ย ก ล วิ ธี การใชถ อยคาํ สาํ นวนภาษา ซึง่ มีความเหมอื นหรอื แตกตา งกนั ไปในแตล ะยุคสมัย พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ไดกลาวถึงความสําคัญของวรรณคดีไวใ นหนังสือแง คดิ จากวรรณคดีวา โลกจะเจริญกาวหนา มาไดไ กลก็เพราะวิทยาศาสตร แตลําพังวิทยาศาสตรเ ทาน้ันไมครอบคลุม ไ ป ถึ ง ค ว า ม เ ป น ไ ป ใ น ชี วิ ต ท่ี มี อ า ร ย ธ ร ร ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม สู ง เ ร า ต อ ง มี ศ า ส น า เราตอ งมีปรัชญา เราตอ งมีศิลปะ และเราตอ งมีวรรณคดีดวย สิ่งเหลาน้ียอมนํามาแตความดีงาม นาํ ความบันเทิงมาใหแกจ ิตใจ ใหเราคิดงาม เห็นงาม ประพฤติงาม มีความงามเปนเจาเรือน แนบสนิทอยู ในสันดาน ศิลปะและวรรณคดีน้ีแหละคือแดนแหง ความเพลิดเพลินใจ ทําใหมีใจสูงเหนือใจแข็ง กระดา ง เปน แดนท่ีทําใหค วามแข็งกระดา งตองละลายสูญหาย กลายเปนมีใจงาม ละมุนละมอ ม เพียบพรอมไปดว ยคณุ งามความดี วรรณคดีมีความสําคัญทางดานการใชภาษาสะทอนใหเห็นวิถีชีวิตของคน การสืบทอดและ อนุรักษวัฒนธรรม กฎระเบียบคําสอน และเปนเครือ่ งมือสรา งความสามัคคีใหเกิดในกลุมชน และให ความจรรโลงใจ นอกจากจะใหค ณุ คา ในดา นอรรถรสของถอ ยคาํ ใหผูอ า นเห็นความงดงามของภาษาแลว ยังมคี ณุ คา ทางสตปิ ญ ญาและศลี ธรรมอกี ดวย วรรณคดีจงึ มคี ณุ คาแกผอู าน 2 ประการคือ 1. คุณคาทางสุนทรียภาพหรือความงาม สุนทรียภาพหรือความงามทางภาษาเปน หัวใจของ วรรณคดี เชน ศิลปะของการแตงทั้งการบรรยาย การเปรียบเทียบ การเลือกสรรถอยคําใหมีความหมาย เหมาะสม กระทบอารมณผูอ า น มีสัมผสั ใหเ กดิ เสยี งไพเราะเปนตน 2. คุณคาทางสารประโยชน เปน คุณคา ทางสติปญ ญาและสังคมตามปกติวรรณคดีจะเขียนตาม ความเปน จริงของชีวิต ใหคติสอนใจแกผูอ า น สอดแทรกสภาพของสังคม วัฒนธรรมประเพณี ทําให ผอู านมีโลกทัศนเขาใจโลกไดกวางขนึ้

ห น า | 65 ลักษณะของหนังสอื ที่เปนวรรณคดี 1. มีโครงเรอ่ื งดี ชวนอา น มีคณุ คา สาระและมีประโยชน 2. ใชสาํ นวนภาษาท่ีประณีต มีความไพเราะ 3. แตงไดถูกตองตามลักษณะคาํ ประพนั ธ 4. มีรสแหงวรรณคดีทีผ่ อู า นคลอยตาม “วรรณคดีมรดก” หมายถึง วรรณคดีที่บรรพบุรุษหรือกวีสมัยกอ นแตง เอาไว และเปนท่ีนิยมอา นกันอยางแพรหลาย ความนิยมน้ันตกทอดเรื่อยมาจนถึงปจ จุบัน ซึ่ง เปรียบเสมือนมรดกอันลํ้าคาของชาติที่บรรพบุรุษมอบไวแ กอ นุชนรุนหลังใหเ ห็นความสําคัญของ วรรณคดีมรดก วรรณคดีมรดกมักจะแสดงภาพชีวิตของคนในสมัยกอ นที่มีการประพันธว รรณคดี เรือ่ งนัน้ ๆ โดยไมป ด บงั สวนทบี่ กพรอ ง ทั้งยังแทรกแนวคดิ ปรัชญาชวี ิตของกวีไวด ว ย วรรณคดีมรดกมีคุณคา ในดานประวัติศาสตร สังคม อารมณ วรรณศิลป ตลอดจนใหคติสอนใจ นบั เปนมรดกทางปญ ญาของคนในชาติ ขนบของการแตง วรรณคดีมรดก ขนบการแตงวรรณคดีมรดก ขนบ หมายถึง ธรรมเนียมนิยม “ขนบวรรณคดี” หมายถึงธรรมเนียมนิยมใน การแตง วรรณคดีทน่ี ยิ มปฏบิ ตั กิ นั ไดแก 1. รูปแบบและเนื้อหา รูปแบบท่ีนิยมไดแก ลิลิต นิราศ เพลงยาว บทละคร โคลง ฉันท กาพย กลอน และราย รูปแบบและเนื้อหาจะตอ งเหมาะสมกันเชน ถาเปน การสดุดี วีรกรรมของกษัตริย หรือ วรี บุรุษ จะแตงเปนนริ าศหรอื เพลงยาว เปน ตน 2. เนอ้ื เรอ่ื งจะเก่ยี วกับศาสนาเพ่อื ส่งั สอน สดดุ ีวรี กรรมของวรี บุรุษหรอื เพือ่ ระบายอารมณ 3. ลักษณะการเขียนจะเร่ิมดวยบทไหวค รู สดุดีกษัตริย กลาวชมบา นเมือง แลวดําเนินเรื่อง หากเปน วรรณคดีท่มี ีการทําสงครามจะมบี ทจดั ทัพดว ย 4. การใชถ อ ยคํา จะเลือกใชถ อยคําท่ีสละสลวยมีความหมายที่ทําใหผ ูอานเกิดความซาบซึ้งและ ประทบั ใจ หลักการพินจิ และวจิ ารณว รรณคดี การวจิ ารณ หมายถึง การพจิ ารณาเพื่อเปนแนวในการตัดสนิ วาสิ่งใดดหี รอื สง่ิ ใดไมดี การวิจารณ วรรณคดีจะตอ งพิจารณาทุกขั้นตอน ทุกองคป ระกอบของงานเขียนมีการแยกแยะต้ังแตการใชถ อ ยคํา สํานวน ภาษา รูปประโยค เน้ือเรื่อง แนวคิด การนําเสนอเนื้อหา และคุณคาท้ังดา นวรรณศิลปแ ละคุณคา ทางดา นสังคม

66 | ห น า คณุ คา ทางวรรณศลิ ปไดแ ก การพิจารณาศิลปะและรูปแบบงานประพันธโดยพิจารณาจากศิลปะ ในการแตงท้ังบทรอ ยแกวและบทรอ ยกรอง มีกลวิธีในการแตง มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับ เนื้อหา มีความนา สนใจและมีความคิดอยางสรา งสรรค ใชสํานวนในการแตงมีรูปแบบการนําเสนอท่ี เหมาะสมกับเนื้อหา มีความนา สนใจและมีความคิดอยางสรางสรรค ใชสํานวนภาษาสละสลวย สื่อ ความหมายไดช ดั เจน คุณคา ดานสังคม เปนการพิจารณาจากการท่ีผูประพันธมักแสดงภูมิปญญาของตน คานิยม และ จริยธรรมที่สะทอนใหเห็นสภาพสังคมไดมากนอยเพียงใด หรือเกี่ยวของสัมพันธก ับสังคมอยางไร มีส วนชวยพัฒนาสังคมหรือประเทืองปญ ญาของตนในสังคมชวยอนุรักษส่ิงท่ีมีคุณคา ของชาติ บานเมือง และมีสว นชว ยสนบั สนนุ คา นยิ มอนั ดีงาม เปนตน การพิจารณาวรรณคดี คอื การแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับวรรณคดีเลมใดเลม หน่ึงอยางส้ันๆ โดย มเี จตนานาํ วรรณคดีน้ันใหผูอ า นรูจักวา มีเนื้อเรื่อง มีประโยชนและมีคุณคา อยา งไร ผูพินิจมีความคิดเห็น อยางไรตอวรรณคดีเรอ่ื งนน้ั ๆ ชอบหรอื ไมชอบ เพราะเหตุใด ในการพินิจหรือวิจารณวรรณคดีมีหลักการ ดงั น้ี 1. แยกองคป ระกอบของหนงั สอื หรอื วรรณคดีท่วี จิ ารณใ หได 2. ทําความเขา ใจกับองคประกอบทแี่ ยกออกมาใหแจมแจง ชดั เจน 3. พจิ ารณาหรอื วจิ ารณวรรณคดีในหวั ขอ ตอ ไปน้ี 3.1 ประวตั ิความเปนมา 3.2 ลักษณะของการประพนั ธ 3.3 เรอ่ื งยอ 3.4 การวิเคราะหเ รอ่ื ง 3.5 แนวคดิ และจดุ มงุ หมายในการแตง ฉาก ตวั ละคร และการใชภ าษา 3.6 คุณคา ดา นตา งๆ การอานวรรณคดเี พอ่ื การวิเคราะหว จิ ารณ การอานวรรณคดี ผูอ านควรมีจุดประสงคใ นการอาน เชน การอานเพ่ือฆา เวลาเปน การอา นที่ไม ตองวิเคราะหว าหนงั สอื น้นั ดีเลวอยา งไร การอา นเพื่อความเจริญทางจิตใจ เปนการอา นเพื่อใหรูเ นื้อเรื่อง ไดรับรสแหงวรรณคดี การอา นเพ่ือหาความรูเ ปนการอานเพ่ือเพงเล็งเนื้อเรื่อง คน หาความหมาย และ หวั ขอความรูจากหนงั สอื ที่อา น การอา นเพื่อพินิจวรรณคดี จะตองอานเพื่อหาความรูแ ละเพื่อความเจริญ ทางจติ ใจ จะตอ งอานดว ยความรอบคอบ สงั เกตและพิจารณาตัวอักษรที่อาน และตองสามารถทราบวา วรรณคดีท่ีอา นเปนวรรณคดีประเภทใด เชน คําสอน สรรเสริญวีรบุรุษของชาติ การแสดงอารมณ บท ละคร นิทาน และยังตองพิจารณาเน้ือเรื่องและตัวละครวาเน้ือเรื่องน้ันเปน เน้ือเรื่องเกี่ยวกับอะไร มี

ห น า | 67 แนวคิดอยางไร ตัวละครมีลักษณะนิสัยอยางไร สุนทรียภาพแหงบทรอยกรองเปน อยา งไร เชน การใชถ  อยคําเหมาะสม มีความไพเราะ และสรา งมโนภาพแจม ชัดมากนอ ยเพียงใด เปนตน ในการอานวรรณคดี ประเภทรอ ยกรองจะไดร ับรสเต็มท่ี บางครัง้ ผูอ า นจะตองอานออกเสียงอยางชา ๆ หากเปน บทรอยกรอง และอา นเปนทํานองเสนาะดวยแลว จะทําใหผูอา นไดรับรสแหง ถอ ยคํา ทําใหเกิดจินตภาพไดรับความ ไพเราะแหงเสยี งไปดวย ในการวิเคราะหว ิจารณว รรณคดีน้ัน ตอ งฝกตีความหมายของบทรอ ยกรอง ในชั้นแรก จะตองศึกษาตัวอยา งการวิเคราะหว ิจารณจ ากการตีความหรืออา นจากหนังสือที่วิเคราะหวิจารณและ ตีความวรรณคดี จากน้ันจึงตอ งฝก วิเคราะหว ิจารณ ฝก พิจารณาอยา งรอบคอบ การตีความแนวคิดใน เรอ่ื งวรรณคดีนั้นไมจาํ เปนตองเหมอื นกนั ขน้ึ อยกู บั การมองและประสบการณของผตู ีความ ตวั อยา งการวิเคราะหว รรณคดี รายยาวมหาเวสสันดรชาดก มหาเวสสันดรชาดกเปนชาติหน่ึงของพระโพธิสัตวกอ นท่ีจะเสวยพระชาติเปนพุทธองค เนอ้ื ความโดยยอมีดงั น้ี ครั้งหน่ึงกษัตริยแ หง กรุงสีวีราษฎรทรงพระนามวา พระเจา สญชัย มีพระมเหสี ทรงพระนาม พระนางผสุ ดีและพระราชโอรสองคหนง่ึ ทรงพระนามวา เวสสนั ดร พระเวสสนั ดรมีพระทยั ฝก ใฝการทําทานมาแตย ังทรงพระเยาว เมื่อมีพระชนมายุพอสมควรที่จะ อภิเษกสมรสไดก็ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางมัทรี พระเวสสันดรทรงบําเพ็ญทานบารมีทุกวันมี พราหมณจากเมอื งกลิงคราษฎรแ ปดคนไดม าขอชางปจ จัยนาคซึ่งเปนชางคูบา นคูเมือง พระเวสสันดรได ประทานชางแกพ ราหมณเพราะทรงทราบวา เมืองกลิงคราษฎรเ กิดทุพภิกขภัยทําใหบ รรดาชาวเมืองสีวี ราษฎรโกรธแคน ขับไลพระองคออกจากเมอื ง พระเวสสันดรไดเ สด็จออกจากเมืองพรอมดวยพระนางมัทรีพระโอรสและธิดา ตลอดทางที่เสด็จผ านไดบริจาคของตา งๆ แกผ ูท ม่ี าขอจนหมดสิ้น แลว ทรงพระดําเนินโดยพระบาทจนถึงเขาวงกต ประทับ อยู ณ ที่นนั้ ทรงผนวชเปนฤาษี พระนางมัทรีก็ทรงรักษาศีล กลาวถึงพราหมณชูชกไดภริยาสาวสวยคนหนึ่งมีชื่ออมิตตาดา นางไดยุใหชูชกไปขอสอง กุมารจากพระเวสสันดร ชูชกก็เดินทางไปยังเขาวงกตไดพ บพระเวสสันดรพระองคไ ดป ระทานสอง กุมารใหแกช ูชก ชูชกฉุดกระชากลากสองกุมารไปจนพน ประตูปา สว นนางมัทรีเสด็จออกไปหาอาหาร ไปประสบลางรา ยตางๆ ทําใหท รงเปนหวงพระโอรสและพระธิดาจึงเสด็จกลับอาศรม พอทราบความจริง เรอื่ งพระโอรสและธดิ าก็ทรงอนโุ มทนาดว ย

68 | ห น า ฝายชูชกพาสองกุมารหลงเขา ไปในเมืองสีวีราษฎร พระเจาสญชัยทอดพระเนตรแลวทรง ทราบวาพระกุมารน้ันคือ พระนัดดาก็ทรงไถตัวสองกุมาร สวนชูชกน้ันกินอาหารมากจนทอ งแตกตาย พระเจาสหญชัยและพระนางผสุดีใหสองกุมารพาไปยังอาศรมเพื่อรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรี กลับเมือง เมื่อทั้งหกกษัตริยพบกันก็ถึงแกว ิสัญญีภาพ (สลบ) ไปทุกองค เทวดาจึงบันดาลใหเกิดฝน โบกขรพรรษตกลงมาใหช มุ ช่นื ท้ังหกองคจ งึ ฟน คนื ชวี ิตและเสดจ็ กลบั พระนคร ตัวอยา งการพิจารณาคณุ คา วรรณคดี การวจิ ารณว รรณคดีทก่ี ลาวมาแลว จะพจิ ารณาตั้งแตป ระวัติความเปนมา ประวัติผูแตง ลักษณะ คําประ พันธ  เรื่องย อ ในก ารวิเคราะ หคุณคา วรรณคดีน้ันจะตองพิจารณา การเขียน ลักษณะการเขียน สํานวนภาษาที่ใช แมกระท่ังคติเตือนใจ คําคม พฤติกรรมและนิสัยของตัว ละครในวรรณคดีเรอ่ื งนน้ั ๆ ก็เปนองคประกอบสําคัญที่สง ผลใหวรรณคดีเรื่องน้ันมีคุณคา ซ่ึงจะนําเสนอ ตวั อยา งวรรณคดี รายยาวมหาเวสสนั ดรชาดกกณั ฑ ทานกณั ฑแ ละวรรณคดีสามัคคีเภทคาํ ฉนั ท ดงั น้ี 1. ทานกณั ฑ ผแู ตง “สํานักวดั ถนน เนื้อเรื่องกลาวถึงกอนที่พระเวสสันดรจะเสด็จออกไปอยูปา ไดท รงทําทานครัง้ ยิ่งใหญเ รียกวา สัตตสดกมหาทาน แลวทูลลาพระเจาสญชัยและพระนางผุสดี รุงขึ้น พระเวสสันดรใหเจาหนาที่เบิกเงินทองบรรทุกรถทรง เสด็จออกจากเมืองพรอมพระนางมัทรีและสอง กุมาร ขณะเสดจ็ ทรงโปรยเงินทองเหลาน้ันเปนทาน กอนจะถึงปา มีพราหมณมาทูลขอรถทรงบริจาคให พระเวสสนั ดรทรงอุมพระชาลี พระนางมัทรีทรงอุม พระกัณหา เสดจ็ มุงสปู า ดวยพระบาท” พินิจตัวละครในกัณฑท านกัณฑ ซึ่งจะพินิจเปนตัวอยางเพียง 1 ตัว เทา น้ัน คือ พระเวสสันดร เพราะถอื วาเปน ตวั เอกของเรอ่ื ง พระเวสสันดรคือ พระโพธิสัตวชาติสุดทา ยกอนจะมาเปนพระพุทธเจา พฤตกิ รรมของพระองคจงึ เปนแนวท่เี หนอื บุคคลธรรมดา ซึ่งบคุ คลธรรมดายากที่จะปฏิบัติไดดังพระองค อาทิ 1.1 ใฝใ จที่จะทําทาน ซ่ึงเปนลักษณะนิสัยที่มีมาแตยังทรงพระเยาว ครัง้ เสด็จข้ึนครองรา ชยก็ทรงบริจาคทานทุกวันเปน ประจํา แมช างปจ จัยนาค ซ่ึงเปน ชา งคูบานคูเ มืองก็ประทานใหแ กผูท ี่ เดือนรอนจนเปนเหตุใหถูกเนรเทศ กอ นออกจากเมืองยังไดบริจาคทานอันยิ่งใหญที่เรียกวา สัตตสดก มหาทาน ดังขอความ “พระพักตรเธอผองแผว เพื่อจะบําเพ็ญพระโพธิญาณเสด็จออกยังโรงทานทอ ง สนาม...เธอก็ใหพ ระราชทานสิน้ ทุกประการ ประจงจดั สตั ตสดกมหาทาน เปนตน วา คชสารเจ็ดรอย...ให จดั โคนมนบั รอ ยมไิ ดขาด ท้ังทาสทาสกี ็สนิ้ เสรจ็ ...เธอหยิบยกสตั ตสดกมหาทานแลว พระทัยทาวเธอผอง แผวชืน่ บานตอทานบารมี...” นอกจากนี้พระเวสสันดรไดท รงบําเพ็ญทานอันย่ิงใหญ คือ บุตรทานและ ประทานพระชายาใหแกพ ราหมณ (พระอนิ ทร ปลอมมา) การใหทานทัง้ สองครัง้ นี้เปนยอดแหง ทานหามีผู ใดกระทําไดเชน พระองค

ห น า | 69 1.2 ทรงม่ันในอุเบกขา ทรงมีพระทัยที่เด็ดเด่ียวมั่นคงไมห วั่นไหวตอการกระทําใดๆ ที่จะ ทาํ ใหพ ระองคท รงเกดิ กเิ ลส 1.3 ทรงเปน ผูร อบคอบ เห็นไดจากการทํากําหนดคาตัวสองกุมาร ซึ่งเปน พระโอรสและ พระธดิ าท่พี ระองคประทานแกชูชก เพ่ือมิใหสองกุมารตอ งไรร บั ความลําบากและไดรบั ความเสอ่ื มเสยี คณุ คาของกัณฑทานกัณฑ 1. คณุ คาดานวรรณศลิ ป (ความงามทางภาษา) ทานกัณฑน้ีดีเดนในเชิงพรรณนาโวหาร มีการใชโ วหารที่ไพเราะและทําใหเ กิดจินตภาพแกผ ูอาน เชน ตอนทพี่ ระนางผุสดีพดู กับพระเวสสนั ดรใชถอยคาํ ทอ่ี านแลวซาบซง้ึ กินใจ “วาโอพอฉัตรพิชัยเชตเวสสันดรของแมเอย ต้ังแตน้ีพระชนนีจะเสวยพระอัสสุชนธารา แมไปทูลพระบิดาเธอก็ไมโปรด แมวอนขอโทษเธอก็ไมให. ..พระลูกเอย...แตน้ีจะชุม ช่ืนไปดว ยน้าํ คาง ในกลางปา พอจะเสวยแตมลู ผลาตา งเครอ่ื งสาธุโภชนทุกเชาคา่ํ ถงึ ขมขื่นก็จะกลนื กลํา้ จาํ ใจเสวย...” 2. คณุ คา ดา นสงั คม 2.1 ดานการปกครอง ในเรื่องพระเวสสันดรจะเห็นวากษัตริยท รงฟงเสียงประชาชนเม่ือ ประชาชนลงมติใหเ นรเทศพระเวสสันดร เพราะเจา สญชัยก็ยอมเนรเทศแสดงใหเ ห็นถึงความเปน ประชาธิปไตย 2.2 สภาพสังคมที่ไมย อมรับหญิงมา ย หญิงใดเปนมายก็จะถูกดูหมิน่ เหยียดหยาม จากสังคมและไมมีใครอยากไดเ ปน คคู รอง 3. ดานคานยิ ม 3.1 คานยิ มเกี่ยวกบั การทํางาน โดยการทําทานเปน การเสียสละเพื่อเพอ่ื นมนุษยและหวังใน ผลบุญน้ันจะสงใหตนสบายในชาติตอ ไป ความคิดน้ียังฝง อยูในใจคนไทยมาทุกสมัย จึงนิยมทําบุญ บริจาคทาน 3.2 ความเชื่อเกี่ยวกับเร่ืองชา งเผือก ชางเผือกถือวาเปน ชา งคูบ ารมีพระมหากษัตริย และความเชือ่ นน้ั ยังปรากฏมาจนถงึ ปจ จบุ นั น้ี 4. ดานความรู ใหค วามรูเกยี่ วกับการสตั ตสดกมหาทาน ซ่ึงในสมัยอยุธยาก็ปรากฏการทําทานลักษณะน้ีใน สมยั พระเจา ปราสาททองและประเทศท่ีเปนเมืองขึ้นประเทศอืน่ ตอ งสงเครอ่ื งบรรณาการมาถวาย

70 | ห น า เร่อื งท่ี 5 หลกั การวจิ ารณวรรณกรรม เมอื่ กลาวถงึ วรรณกรรมยอ มเปนท่ีเขา ใจกันท่ัวไปวา หมายถึงงานเขียนดานตางๆ ในรูปของบท ละคร สารคดี เร่ืองสั้น นวนยิ าย และกวนี พิ นธซ ง่ึ มีมาตงั้ แตโ บราณแลว ทง้ั ท่ีเปน รอ ยแกวและรอ ยกรอง ลกั ษณะของวรรณกรรม 1. วรรณกรรมเปนงานประพันธที่แสดงความรูสึกนึกคิด โดยท่ัวไปมนุษยจ ะพูดหรือเขียนแลว จะสงความรูสึกนึกคิด อยา งใดอยางหน่ึง เชน ฝนตก ตน ไมส ีเขียว ความรูสึก จะสัมผัสไดท างกายและใจ เชน รูสึกหนาว รูส ึกรอน เปน ตน สว นความคิดคือสิ่งที่เกิดจากใชสติปญญา ใครครวญเกี่ยวกบั สิง่ ใดส่งิ หนง่ึ มากระทบอารมณ 2. วรรณกรรมเปนงานประพนั ธท ี่เกดิ จากจนิ ตนาการ เปนการสรา งภาพขนึ้ ในจติ ใจ จากสิ่งที่เคย พบเคยเหน็ ในชวี ติ สงิ่ ทสี่ รางสรรคข น้ึ มาจากจนิ ตนาการออกจะมีเคาความจรงิ อยบู าง 3. วรรณกรรมเปน งานประพันธใ ชภาษาวรรณศิลป เชน คําวา ใจกวางเหมือนแมน ํ้า หรือ หิมะ ขาวเหมอื นสําลี เปน ตน ประเภทของวรรณกรรม ในปจ จุบันวรรณกรรมแบงประเภทโดยดูจากรูปแบบการแตง และการแบงตามเน้ือหาออกเปน 4 ประเภท คือ 1. ประเภทรอยแกว คือ วรรณกรรมท่ีไมม ีลักษณะบังคับ ไมบ ังคับจํานวนคํา สัมผัส หรือเสียง หนกั เบาวรรณกรรมทีแ่ ตงดว ยรอยแกว ไดแก นิทาน นยิ าย นวนยิ าย เร่ืองสั้น สารคดี บทความ ขาว 2. ประเภทรอยกรอง คือ วรรณกรรมท่ีมีลักษณะบังคับในการแตง ซึ่งเรียกวา ฉันทลักษณ เชน โคลง ฉนั ท กาพย กลอน รา ย ลิลิต วรรณกรรมที่แตงดว ยคําประเภทรอ ยกรอง ไดแ ก บทละคร นิยาย บท พรรณนา บทสดดุ ี บทอาเศียรวาท

ห น า | 71 3. ประเภทสารคดี คือ วรรณกรรมที่มเี นอ้ื หาสาระใหค วามรู ความคิดและอาจใหความบันเทิงด วย เชน สารคดีทองเทยี่ ว ชวี ประวตั ิ บันทกึ จดหมายเหตุ หนงั สอื คตธิ รรม บทความ เปนตน 4. ประเภทบันเทิงคดี คอื วรรณกรรมที่แตงขึน้ โดยอาศัยเคา ความจริงของชีวิตหรือจินตนาการ โดยมุง ใหค วามบันเทิงแกผูอานเปน ลําดับ ไดแ ก เรื่องส้ัน นิทาน นวนิยาย บทละครพดู เปนตน วรรณกรรมท่ีไดร บั การยกยอง ในการอา นหนงั สอื แตละเลม โดยเฉพาะหนงั สอื ประเภทวรรณคดี ผอู า นยอมไดร ับประสบการณ ทางอารมณบ า ง ไดรับคุณคาทางปญญาบาง หรืออาจไดร ับทัง้ สองประการบาง สวนวรรณกรรมบางเรื่อง แมม ไิ ดเ ปนวรรณคดีก็อาจใหท ั้งประสบการณท างอารมณแ ละใหค ุณคา ทางปญ ญา ท้ังน้ีขึ้นอยูกับผูอ านวา จะสามารถเขาถึงวรรณกรรมนัน้ ไดพียงไร วรรณกรรมบางเรอ่ื งแตง ไดด ีจนไดรบั การยกยอ ง ซ่ึงมีลักษณะ ดงั น้ี งานประพันธท ้ังปวงยอ มแฝงไวซ ึ่งแนวคิดและคา นิยมบางประการ อันจะกอใหเกิดความงอกงาม ทางสตปิ ญ ญาและพัฒนาการสมรรถภาพการพจิ ารณาความประณีตความละเอียดออนทางภาษาไดอยางดี ยิ่ง แนวคิดท่ีปรากฏในวรรณกรรมน้ัน อาจหมายถึงความคิดสําคัญของเรื่องหรืออาจเปน ความคิดอ่ืนๆ สอดแทรกอยูในเรอ่ื งก็ได ยกตัวอยา งนิทานเร่ืองปลาปูทองใหแ นวคิดวา ความอิจฉาริษยา ของแมเ ล้ียงเปน สาเหตุให ลูกเลี้ยงถูกทําทารณุ กรรมอยางแสนสาหสั บทรอยกรองเร่ือง น้าํ ตา ใหแ นวคิดสําคัญวา น้าํ ตาเปน เพื่อนของมนุษยท ั้งในยามทุกข และยามสขุ สวนคา นิยมจากวรรณกรรมน้ัน หมายถึงความรูส ึก ความคิด หรือความเชื่อของมนุษย รวมถึง ความเช่ือม่ัน การยึดถือปฏิบัติในเรื่องตา งๆ ในการดําเนินชีวิต คานิยมจึงเปน ตัวกําหนดพฤติกรรมของ มนษุ ยในการเลอื กกระทําหรอื เวนกระทําสงิ่ ใดสง่ิ หนง่ึ ซง่ึ ถือวาทําหรือคิดเชนตามกาลเวลา ยกตัวอยางเช

72 | ห น า น คา นิยมเรื่องการมีคูค รอง ดังคํากลอนตอนหน่ึงจากเรื่องเสภาขุนชา งขุนแผน ตอนที่นางพิมพิลาไลย ยงั เปนสาวไดพดู กับนางสานทองผูเ ปนพ่ีเลี่ยงวา ธรรมดาเกดิ เปนสตรี ชั่วดคี งไดคูม าสสู อง มารดายอมอตุ สาหป ระดบั ประคอง หมายปองวา จะปลูกใหเปนเรอื น อนั หนง่ึ เราเขาก็วา เปนผูด ี มั่งมีแมมิใหลูกอายเพอ่ื น จากคําประพันธน ้ี สะทอ นใหเห็นคานิยมของสตรีสมัยกอ นวา เปน ผูหญิงตองรักนวลสงวนตัว อยูใ นโอวาทของมารดา เมื่อจะมคี ูควรใหมารดาตกแตง ใหไมช ิงสกุ กอ นหา ม สรุปวรรณกรรมทัง้ ปวงยอ ม แฝงไวซึ่งแนวคิดและคานิยมบางประการ อันจะกอ ใหเ กิดความงอกงามทางสติปญ ญา และพัฒนา สมรรถภาพการพิจารณาความละเอยี ดออนทางภาษาลกั ษณะการใชถ อ ยคาํ ภาษาทด่ี ีในวรรณกรรม วรรณกรรมท่ีดียอ มมีความประณีตในการใชภาษา อันจะทําใหผ ูอานพัฒนาสมรรถภาพในการ พจิ ารณาความประณตี ละเอยี ดออนของภาษาไดดีขนึ้ วรรณกรรมท่ีดีเปน ศิลปะแขนงที่อาศัยภาษาเปนสื่อถา ยทอดความไพเราะความประทับใจหรือ อารมณค วามรูสึก ซ่ึงมีหลกั พจิ ารณา 3 ประการใหญๆ ดงั น้ี 1. การใชถอยคาํ เสยี ง ความหมาย การเลอื กใชถ อ ยคาํ ชดั เจน ตรงตามความหมายมีเสยี งไพเราะ 2. การเรยี บเรยี งถอ ยคาํ การเรยี บเรยี งถอ ยคาํ ใหอยูตาํ แหนง ทถี่ ูกตองถูกแบบแผนของภาษายอม ทําใหภ าษามคี วามไพเราะมคี วามชดั เจน ทําใหผรู ับสารเขา ใจความคิดของผูส ่ือสารไดถกู ตอ ง 3. ศิลปะการประพนั ธ การมีศิลปะในการประพนั ธ หมายความวาผูแ ตงตองรูจ ักเลือกใชถอ ยคํา ท่ีเหมาะสมเพื่อจะทําใหเ กิดความไพเราะทางภาษา การใชกวีโวหาร หรือสํานวนโวหารจะชวยใหผ ูอ าน มองเห็นภาพชัดเจน และเกิดความไพเราะทางภาษามากข้ึน ตอไปน้ีจะกลาวถึงศิลปะการประพันธพ อ สังเขป 3.1 ไวพจน หมายถึง การใชค ําที่มีความหมายอยางเดียวกัน ซ่ึงตอ งพิถีพิถันเลือกใชใ ห เหมาะสมกับเนอ้ื หา เชน พอสบเนตรวนดิ ามารศรี แรงฤดดี าลเลหเสนห า ดงั ตอ งศรซา นพษิ ดวยฤทธิย์ า เขา ตรงึ ตราตรอมตรมระทมทรวง ตะลงึ เลง็ เพงแลชะแงพ กั ตร จนลงลักษณหลกี ไปควรโลลว ง ใหเ สียวปลาบวาบไหวใจระลวง ปะหนง่ึ ดวงจติ ดบั เพราะลบั นาง (จากคาํ ประพนั ธบ างเรื่อง ของพระยาอปุ กิตศิลปสาร) คําที่มีความหมายวาผูหญิง ในท่ีน้ีมี 4 คํา คือ วนิดา มารศรี นงลักษณ บางกวีสามารถเลือกใชได เหมาะสมกบั เนอ้ื ความในเรอ่ื ง

ห น า | 73 3.2 การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติและเสียงตางๆการนําเสียงที่ไดยินจากะรรมชาติมาร อยกรองพรรณนาใหเกดิ ความรูสกึ เหมอื นไดย นิ ภาพทําใหเกิดความไพเราะนา ฟง และสะเทือนอารมณ เช น ครนื ครนื ใชฟา รอง เรยี มครวญ หงึ่ ห่งึ ใชล มหวน พใี่ ห ฝนตกใชฝนนวล พีท่ อด ใจนา รอนใชร อนไฟไหม ที่รอ นกลกาม (ตํานานศรปี ราชญ ของพระยาปรยิ ัติธรรมธาดา) คําวา “ครนื ครนื ” เปนการเลยี นเสยี งฟา รอง คําวา “หึ่งหึ่ง” เปน การเลยี นเสยี งลมพัด 3.3 การเลนคาํ หมายถึง การนาํ คําพอ งรปู พองเสยี งมาเรยี บเรยี งหรือรอยกรองเขา ดว ยกันจะ ทําใหเ กดิ เสยี งไพเราะและเพ่ิมความงดงามทางภาษาเชน ปลาสรอยลอยลองชล วา ยเวยี นวนปนกนั ไป เหมอื นสรอยทรงทรามวัย ไมเ หน็ เจาเศราบวาย คําวา “สรอย” คําแรกเปนช่อี ปลา คาํ วา “สรอย” คาํ หลงั หมายถึงสรอ ยคอ 3.4 การใชคําอัพภาส หมายถึง คําซํ้าชนิดหน่ึง โดยใชพ ยัญชนะซ้ําเขาไปขา งหนาคํา เชน รกิ เปน ระรกิ ยม้ิ เปน ยะยิม้ แยม เปน ยะแยม การใชค ําอัพภาสหลายๆ คําในท่ีใกลกัน ทําใหแ ลเห็นภาพและเกิดความรูสึกสะเทือนอารมณ ตามไปดวย เชน สาดเปน ไฟยะแยง แผลงเปนพิษยะยงุ พุงหอกใหญ คะควา งขวา งหอกซดั คะไขว (ลิลิตตะเลงพาย) 3.5 การใชโวหารภาพพจน โวหารภาพพจน หมายถึง ถอ ยคําที่เรียบเรียงโดยไมก ลาวอยา ง ตรงไปตรงมา ผูป ระพันธม ีเจตนาจะใหผ ูอ า นเขาใจ และประทับใจยิ่งขึ้นกวาการชําคําบอกเลาธรรมดา การใชโ วหารภาพพจนอาจทําไดห ลายวธิ ี เชน 3.5.1 เปรยี บส่งิ หนง่ึ วาเหมอื นอกี สง่ิ หน่ึง ในการเปรียบเทียบน้ีจะมีคําแสดงความหมาย อยางเดียวกับคําวา เหมอื น ปรากฏอยดู วย ไดแ กค ําวา เปรียบเหมือน เสมือน ดุจ ประดุจ ดุจดัง ราวเพียง เช น คณุ แมหนาหนกั เพี้ยง พสุธา (เพย้ี ง-โทโทษ มาจากคาํ วา เพยี ง) คุณบดิ รดจุ อา กาศกวาง

74 | ห น า 3.5.2 เปรยี บสง่ิ หนง่ึ เปน อกี สิ่งหนง่ึ บางตาํ ราเรียกวาอุปลักษณ เชน พอ แมค ือ รม โพธิ์ ร มไทร ของลกู ราชาธิราชนอม ใจสตั ย อํามาตยเ ปน บรรทดั ถองแท 3.5.3 สมมุติส่ิงตา งๆ ใหมีกิรยิ าอาการเหมอื นมนษุ ย หรอื ทเ่ี รียกวา บุคลาธิษฐาน เชน นํ้า เซาะหนิ รนิ รนิ หลากไหล ไมห ลบั เลยชั่วฟาดนิ สลาย 3.5.4 การใชคาํ สญั ลักษณหรอื สิ่งแทนสัญลกั ษณ หมายถึง สง่ิ หนง่ึ ใชแ ทนอกี ส่งิ หน่ึง เช น แมน เปน บัวตวั พ่เี ปน ภมุ รา เชยผกาโกสมุ ประทุมทอง 3.6 การกลา วเกินจริง หรือท่ีเรียกวา อติพจน (อธิพจน) การกลา วเกินจริงน้ีปรากฏอยูใ น ชีวิตตามปกติ เชน เม่ือเราตองการจะเนนความรูสึกบางอยา ง เชน กลา ว “เหนื่อยสายตัวจะขาด” หรือ “ร อนแทบสกุ ” การกลาวเกนิ จริง ทําใหเ กดิ ความแปลกและเรียกรอ งความสนใจไดด ี 3.7 การเลนเสียงวรรณยุกต กวีใชคําท่ีประกบดว ยสระ พยัญชนะ และตัวสะกดอยา ง เดยี วกนั ตางกันแตวรรณยกุ ต โดยนํามาเรยี งไวในท่ใี กลกันทําใหเกดิ เสยี งไพเราะดจุ เสยี งดนตรี เชน “สละสละสมร เสมอชอ่ื ไมน า นกึ ระกํานามไม แมน แมน ทรวงเรยี ม” หรอื “จะจบั จองจอ งส่งิ ใดนนั้ ดูสําคญั ค่นั ค้ันอยา งงันฉงน อยา ลามลวงลวงดแู ลศกล คอ ยแคะคนขน คนใหควรการ” 3.8 สัมผัสอกั ษร กวีจะใชค าํ ท่ีมีเสยี งพยญั ชนะเดียวกนั เชน โคลงกลบอกั ษรลวน ชายชาญชยั ชาติเช้อื เชงิ ชาญ สเู ศกิ สุดเศกิ สาร สงสรอ ง ราวรามรทุ รแรงราญ รอนราพณ เกรกิ เกียรติไกรกึกกอ ง กอกูก รงุ ไกร (พระราชนพิ นธพ ระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหวั ) 3.9 สัมผัสสระ กวีจะใชคําทมี่ ีเสียงสระคลองจองกนั เชน เขา ทางตรอกออกทางประตู คางคกขน้ึ วอแมงปอใสตงุ ต้ิง

ห น า | 75 น้ํารอ นปลาเปนนา้ํ เย็นปลาตาย เพือ่ นกนิ หางา ยเพอ่ื นตายหายาก 3.10 การใชค ําปฎิพฤกษ หมายถึง ความขัดแยง ที่กวีนํามากลาวคูกันเพ่ือแสดงคุณสมบัติ 2 อย างทแี่ ยงกนั อนั อยูในส่งิ เดยี วกนั เชน ความหวานชน่ื ในความขมขื่น ความเงียบเหงาในความวุนวาย กิจกรรมท่ี 1 ใหผูเรยี นตอบคําถาม และรวมกจิ กรรมตอไปน้ี 1. วรรณคดี คอื อะไร 2. วรรณคดีกับวรรณกรรมแตกตางกันอยางไร 3. ใหผ ูเ รยี นรวมรวมรายชอ่ื หนงั สอื ทเี่ ปนวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทละ 3 เลม 4. ใหสรปุ คณุ คา ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีรวบรวมมาไดจ ากขอ 3 เรอ่ื งท่ี 6 ภาษาถิ่น ความหมายของภาษาถิ่น ภาษาถิน่ หมายถึง ภาษาท่ีใชส่ือความหมายตามทองถิ่นตา งๆ ซ่ึงจะแตกตางกันในถอยคํา สําเนียงแตก ็สามารถจะติดตอสือ่ สารกันได และถือวาเปน ภาษาเดียวกัน เพียงแตแตกตางกันตามทอ งถิน่ เทาน้นั ภาษาถิน่ บางที่มักจะเรียกกันวา ภาษาพ้ืนเมืองท้ังนี้เพราะไมไ ดใ ชเ ปนภาษามาตรฐานหรือ ภาษากลางของประเทศ สาเหตทุ ่ีทาํ ใหเ กดิ ภาษาถิ่น

76 | ห น า ภาษาถิน่ เกิดจากสาเหตุการยายถิน่ ฐาน เมื่อกลุมชนที่ใชภ าษาเดียวกันยา ยถิ่นฐานไปต้ังแหลง ใหม เนือ่ งจากเกิดภัยธรรมชาติ มีการรุกรานของศัตรู เม่ือแยกยายไปอยูค นละถ่ินนานาๆ ภาษาที่ใชจ ะคอย เปลย่ี นแปลงไปเชน เสยี งเปลยี่ นไป คําและความหมายเปลี่ยนไป ทําใหเกดิ ภาษาถิน่ ข้นึ คณุ คาและความสาํ คญั ของภาษาถิ่น 1. ภาษาถ่นิ เปน วฒั นธรรมทางภาษาและเปน เอกลักษณข องแตละทอ งถน่ิ 2. ภาษาถิ่นเปน สัญลักษณท่ีใชสื่อสารทําความเขาใจและแสดงความเปน ญาติ เปน พวกเดยี วกนั ของเจา ของภาษา 3. ภาษาถิ่นตนกําเนิดและเปนสวนหนึ่งของภาษาไทยและวรรณคดีไทย การศึกษาภาษาถิ่น จะชวยใหก ารส่ือสารและการศึกษาวรรณคดีไดเ ขา ใจลึกซ่ึงย่ิงขน้ึ 4. การศึกษาและการใชภาษาถิ่น จะชวยใหการสื่อสารไดมีประสิทธิภาพและสรา งความเป นหนง่ึ ของคนในชาติ ลักษณะของภาษาถิ่น 1. มีการออกเสยี งตา งๆ ถิ่น เพราะสภาพทางภูมิศาสตร ความหา งไกลขาดการติดตอสือ่ สารกัน เปนเวลานานมากๆยอ มทําใหออกเสยี งตางกันไป 2. การผสมกันทางเช้ือชาติเพราะอยูใกลเคียงกันทําใหม ีภาษาอ่ืนมาปน เชน ภาษาอีสาน มี ภาษากลางและเขมรมาปนเพราะมเี ขตแดนใกลก นั ทําใหภาษาเปล่ียนไปจากภาษากลาง 3. การถายทอดทางวฒั นธรรมและเทคโนโลยีซงึ่ กันและกัน ทําใหภ าษาเปล่ยี นจากภาษากลาง 4. หนว ยเสียงของภาษาถิน่ มีสวนคลา ยกันและแตกตางกัน หนวยเสียงของภาษากลางมี 21 เสียง ภาษาถิน่ มีหนวยเสียงตรงกันเพียง 17 เสียง นอกน้ันแจกตา งกัน เชน ภาษาถิน่ เหนือและอีสานไมม ี หนว ยเสยี ง ช และ ร ภาษาถิ่นใตไมม หี นว ยเสยี ง ง และ ร เปน ตน 5. หนวยเสยี งวรรณยุกตในภาษาถิน่ แตกตางกันไป ภาคใตมีเสียงวรรณยุกต 7 เสียง ภาคเหนือ และอสี านมเี สยี งวรรณยกุ ต 6 เสยี ง ตัวอยางการกลายเสยี งวรรณยกุ ต มา (กลาง) ภาคใตออกเสยี งเปน หมา ขาว (กลาง) ภาคอีสานออกเสยี งเปน ขา ว ชาง (กลาง) ภาคเหนอื ออกเสยี งเปน จา ง 6. การกลายเสยี งพยญั ชนะในภาษาถิน่ เหนอื ใต อสี าน น้นั มีสวนแตกตางกันหลายลกั ษณะ เชน 6.1 ภาษาไทยเหนือ จะมีคา ท่ีกลายเสียงพยัญชนะจากภาษาไทยกลางอยูห ลายตัว ภาษาไทยกลางเปน ช ไทยเหนือจะเปน จ เชน ชา งเปน จาง ฉะน้ันเปน จะอั้น ใชเ ปนไจ ภาษาไทยกลาง ใช ร ไทยเหนอื จะเปน ฮ เปน รกั เปน ฮัก รองเปน ฮอง โรงเรยี นเปนโฮงเฮยี น ภาษาไทยกลางเปน คิดเปนกึ้ด คิ้วเปน กิ๊ว ภาษากลางใช ท ภาษาไทยเหนือใช ต เชน ทานเปนตาน ทานเปน ตาน และภาษาไทยเหนือ

ห น า | 77 นอกจากจะใชพ ยัญชนะตางกันแลว ยังไมค อ ยมีตัวควบกล้าํ เชน ขี้กลาก เปน ข้ีขาด โกรธ เปน โขด นอกจากน้ีจะมคี ําวา โปรด ไทยเหนอื โปด ใคร เปน ไผ เปน ตน 6.2 ภาษาไทยอสี านก็มีกลายเสยี งหรอื มหี นว ยเสยี งตา งกับภาษาไทยกลางหลายตัว ตัวอยา ง ช ใช ซ แทนเสยี ง ร ใช ฮ แทนเสยี ง ญ และ ย จะออกเสยี งนาสกิ แทนภาษาไทยกลาง ชา ง ไทยอีสานเปน ซาง เรา เปน เฮา เลือด เปน เฮือด หญงิ เปน ญงิ (นาสกิ ) ใหญ เปน ใญ ภาษาไทยอีสานจะไมม ีคําควบกล้าํ คลา ยเหนอื เชน กลวย เปน กวย ปลา เปน ปา ของ เปน ขอ เปรต เปน เผด และภาษาไทยอีสานมีการสลับ รบั เสยี งดว ย เชน ตะกรอ เปน กะตอ ตะกรา เปน กะตา ตะกรุด เปน กะตดุ เปน ตน 6.3 ภาษาไทยใตก็มีการกลายเสียงพยัญชนะจากภาษาไทยกลางเหมือนกัน ภาษาไทยกลาง เปน ง ภาษาไทยใตจ ะเปน ฮ เสยี ง ฐ จะเปน ล (บางจังหวัด) และญ จะออกเสียงนาสิก ตัวอยาง ภาษาไทย กลาง คาํ วา เงนิ ภาษาไทยใต เปน เฮิง งาน เปน ฮาน รัก เปนหลัก เปนตน นอกจากนี้พยัญชนะและคําอ่ืน ท่ภี าษาไทยกลาง 7. ภาษาถ่นิ เหนอื ใตและอสี านมีการกลายเปนเสยี งจากภาษาไทยกลางหนว ยเสยี ง 7.1 ภาษาไทยเหนือจะกลายเสียงสระ อิ เปน อึ เชน คิดเปนก้ึด สระอึเปนสระเออ เชน ถึงเปน เถงิ สระอะ เปนสระอา เชน มะปราง เปน หมาผาง มะละกอ เปน หมากกวยเต็ด สระเอ เปนสระแอ เชน เอว เปน สระแอว เปนตน 7.2 ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียงสระเชน สระเอือ เปน เอีย เชน เน้ือเปนเน้ีย สระอัวเปน สระสระโอ เชน วัว เปน โง ตัว เปน โต สระอึ เปนสระเออ เชน คร่ึง เปนเคิ่ง สระอา เปน สระอัว เชน ขวา เปน ขวั เปนตน 7.3 ภาษาไทยอีสานมีการกลายเสียสระ เชน ภาษาไทยกลางใช สระ อิ อี ภาษาถิน่ ใตใช สระเอะ เอ เชน สี่ เปน เส ซีก เปน แซก สระเอะ เอ ใชเปนสระแอะ แอ เชน เดก็ เปนแดก็ เปนตน 8. ความหมายของคําในภาษาถิน่ แตกตา งไปจากภาษากลาง เชน คําวารักษา ภาษาถิ่นใตม ี ความหมายวา เลี้ยง เชน นําลิงไปรักษา หมายถึงนําลิงไปเลี้ยง บัวลอย ภาษาถิน่ เหนือหมายถึงผักตบชวา แพรนม ภาษาถ่นิ อสี านหมายถึงผา เชด็ หนา ภาษาถน่ิ ใตเรยี กผา เชด็ หนาวา ผานยุ เปนตน  กิจกรรมท่ี 2 ใหผเู รยี นเขยี นเครื่องหมาย วงกลม ลอ มรอบขอทถ่ี กู ท่ีสุดเพยี งขอ เดยี ว 1. ขอ ใดใหค วามหมายภาษาถนิ่ ไดถกู ตอง ก. ภาษาตระกูลตางๆ ข. ภาษาทีพ่ ดู กันในทอ งถนิ่ นน้ั ๆ ค. ภาษาทีใ่ ชพ ูดกันทั่วประเทศ ง. ภาษาของชนกลุมใหญท ่ัวโลก 2. ขอ ใดเปน สาเหตสุ ําคญั ทีท่ ําใหเกดิ ภาษาถิ่น

78 | ห น า ก. สภาพภมู ปิ ระเทศ ข. การยา ยถิ่นฐาน ค. การแลกเปล่ียนวฒั นธรรม ง. ถูกทุกขอ 3. คําในขอใดท่เี ปน คําเฉพาะของภาษาถน่ิ ภาคเหนอื ก. งอ ข. งอน ค. งดื ง. งบี 4. “ฝนตกฟา รอง พอแมเ ขาอยหู นกุ ” คําวา หนกุ เปน คําในภาษาถิ่นภาคใด ก. เหนอื ข. ใต ค. อสี าน ง. กลาง 5. ภาษาถิน่ ใด ท่มี ีหนว ยเสยี งวรรณยกุ ตมากท่สี ดุ ก. ภาษาถ่ินเหนอื ข. ภาษาถิ่นอสี าน ค. ภาษาถ่ินใต ง. ภาษากลาง

ห น า | 79 เร่ืองที่ 7 สํานวน สภุ าษติ สํานวน หมายถึง คํากลาวหรอื กลุมคําที่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบเปน เชิงใหใชความคิด และ ตีความบางสาํ นวนจะบอกหรอื สอนตรงๆ บางสาํ นวนสะทอนความคิด ความรูสึกของกลุม ชนในทอ งถิน่ ในอดตี ดว ย สภุ าษติ หมายถึง คาํ กลา วทีด่ ีงามเปนความจรงิ ทกุ สมยั เปนคาํ สอนใหประพฤติ ปฏิบัติ ดงั ตวั อยาง “หลาํ รอ งชักงาย หลําใจชกั ยาก” ความหมาย คดิ จะทําอะไรตอ งคดิ ใครครวญใหร อบคอบกอ นตดั สนิ ใจ “นอนจนหวนั แยงวาน” ความหมาย นอนตน่ื สายมากจนตะวนั สอ งสวา งไปทวั่ บาน “พดู ไป สองไพเบ้ีย นง่ิ เสยี ตาํ ลงึ ทอง” ความหมายพูดไปไมมีประโยชนอะไร นง่ิ ไวดกี วา “เกลอื จม๋ิ เกลอื ” ความหมาย ไมยอมเสยี เปรยี บกนั แกเผด็ กันใหสาสม “ขายผา เอาหนา รอด” ความหมาย ยอมเสียสละของท่จี าํ เปน ท่มี ีอยูเพอ่ื จะรักษาชอ่ื เสียงของตนไว “ฝนทั่งใหเ ปน เขม็ ” ความหมายเพยี รพยายามสดุ ความสามารถจนกวา จะสาํ เรจ็ ผล “นํ้ามาปลากนิ มด น้าํ ลดมดกนิ ปลา” ความหมาย ทีใครทมี ัน

80 | ห น า เร่ืองที่ 8 วรรณกรรมทอ งถ่ิน วรรณกรรมทองถิน่ หมายถึง เรือ่ งราวของชาวบานที่เลาสืบตอ กันมาหลายชัว่ อายุคนทั้งการพูด และการเขียนในรูปของ คติ ความเชื่อ และประเพณี การแสดงออกในการใชถอ ยคําที่มีหลากหลาย รูปแบบ เชน นิทานพื้นบา น เพลงกลอ มเด็ก ปริศนา คําทาย ภาษิต คําคม บทเทศน และคํากลาวในพิธี กรรมตา งๆ ลักษณะของวรรณกรรมทองถนิ่ 1. วรรณกรรมทองถ่ิน โดยท่ัวไปมีวัดเปน ศูนยกลางเผยแพร กวีผูประพันธส ว นมาก คือ พระภิกษุ และชาวบาน 2. ภาษาที่ใชเ ปน ภาษาถิน่ ใชถอ ยคําสํานวนทอ งถิ่นที่เรียบงา ย ชาวบา นทั่วไปรูเร่ืองและใช ฉนั ทลกั ษณท่นี ยิ มในทอ งถ่ินนั้น เปน สาํ คัญ 3. เนอ้ื เรอ่ื งสวนใหญเปน เรอ่ื งจกั รๆ วงศๆ มงุ ใหค วามบันเทิง และสอดแทรกคติธรรมทางพุทธ ศาสนา 4. ยึดคานยิ มแนวปรัชญาพุทธศาสนา เชน กฎแหง กรรม หรอื ธรรมะยอ มชนะอธรรม เปน ตน ประเภทของวรรณกรรมทองถน่ิ วรรณกรรมทองถน่ิ แบง ไดเ ปน 2 ประเภท คอื 1. ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมที่ไมไดเขยี นเปน ลายลักษณ เปน วรรณกรรมปากเปลาจะถา ยทอดโดยการบอก หรือการเลาหรือการรอ ง ไดแ ก บทกลอมเด็ก นิทานพ้ืนบาน เพลงพ้ืนบา น ปริศนาคําทาย ภาษติ สาํ นวนโวหาร คาํ กลา วในพธิ กี รรมตา งๆ 2. ประเภทเขียนเปนลายลักษณ ไดแก นิทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตรในทอ งถ่ิน และตาํ ราความรูต างๆ คณุ คาของวรรณกรรมทอ งถน่ิ 1. คณุ คา ตอการอธิบายความเปน มาของชุมชนและเผา พนั ธุ 2. สะทอนใหเหน็ โลกทัศนและคา นยิ มตา งๆ ของแตละทองถ่นิ โดยผา นทางวรรณกรรม 3. เปน เครอื่ งมอื อบรมสั่งสอนจรยิ ธรรมของคนในสังคมสามารถนาํ ไปประยุกตใชใ นสังคมปจจุบัน ได 4. เปน แหลง บันทึกขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี และการดําเนินชีวิต ของคนในทอ งถน่ิ

ห น า | 81 5. ใหความบันเทิงใจแกช ุมชนท้ังประเภทที่เปน วรรณกรรมและศิลปะการแสดง พื้นบาน เชน หมอลําของภาคอีสาน การเลนเพลงเรือ เพลงเกี่ยวขาว ของภาคกลาง การซอ การเลาคา ว ของภาคเหนอื การเลนเพลงบอก รอ งมโนราหข องภาคใต เปน ตน 6. กอ ใหค วามสามัคคีในทอ งถนิ่ เกดิ ความรกั ถนิ่ และหวงแหนมาตภุ มู ิ รปู แบบของวรรณกรรมทอ งถ่นิ 1. รปู แบบของวรรณกรรมทองถิน่ ภาคกลาง 1.1 กลอนสวด หรอื เรียกวา คําพากย ไดแก กาพยย านี ฉบัง สุรางคนางค 1.2 กลอนบทละคร (นอก) ใชฉ ันทลักษณเหมือนกลอนบทละครท่ัวไปแตไมเครงครัด จาํ นวนคําและแบบแผนมากนกั 1.3 กลอนนิทาน บทประพันธเ ปน กลอนสุภาพ (กลอนแปด) เปน รูปแบบที่ไดร ับความ นยิ มมาก 1.4 กลอนแหล นยิ มจดจาํ สืบตอ กนั มาหรอื ดนกลอนสด ไมน ยิ มบนั ทกึ เปน ลายลักษณ 2. รปู แบบของวรรณกรรมทองถิ่นภาคอีสาน 2.1 โคลงสาร เปนฉันทลักษณที่บังคับเสียงเอกโท สวนมากใชประพันธว รรณกรรม ประเภทนทิ าน นยิ าย หรอื นิทานคตธิ รรม 2.2 กาพยห รือกาพยเซ้ิง ประพันเปน บทส้ันๆ สําหรับขับลําในพิธี เชน เซ้ิงบั้งไฟ เซ้ิงนาง แมว ฯลฯ 2.3 ราย (ฮา ย) ลักษณะเหมอื นรา ยยาว ใชประพนั ธว รรณกรรมชาดก หรอื นิทานคติธรรมท่ี ใชเ ทศน เชน มหาชาติ (ฉบบั อสี านเรียกวาลาํ มหาชาต)ิ 3. รปู แบบของวรรณกรรมทอ งถ่นิ ภาคเหนอื 3.1 คําวธรรม ฉันทลักษณเหมือนรายยาวชําสําหรับเทศน นิยมประพันธวรรณกรรม ประเภทนิทานชาดกหรอื นิทานคตธิ รรม 3.2 คําวซอ คาํ ประพันธท ี่บังคับสัมผัสระหวางวรรคและบังคับเสียงเอกโท นิยมแตนิทาน เปนคาํ วซอแลวนาํ มาขับลําในท่ีประชมุ ชน ตามลลี าทาํ นองเสนาะของภาคเหนอื 3.3 โคลง ภาษาถิ่นเหนือออกเสียงเปน “กะลง” เปนฉันทลักษณท่ีเจริญรุงเรือง ควบคูก ับ “คา วธรรม” มีท้ังกะลงส่ีหอง สามหอ ง และสองหอ ง (โคลงส่ี โคลงสาม และ โคลงสอง)

82 | ห น า 4. รปู แบบของวรรณกรรมทอ งถ่ินภาคใต วรรณกรรมพื้นบานภาคใตฉันทลักษณรว มกับวรรณกรรมทองถ่ินภาคกลาง แตจ ากการ ศึกษาความนิยมเรื่องฉันทลักษณของวรรณกรรมภาคใต พบวา นิยม “กลอนสวด” (คํากาพย) มากที่สุด วรรณกรรมลายลักษณภ าคใตเ กินรอ ยละ 80 ประพันธเปน กลอนสวด โดยเฉพาะนิทานประโลมโลก (เรอ่ื งจกั รๆวงศๆ) การวิเคราะหคณุ คาของวรรณกรรมทอ งถน่ิ การวิเคราะหว รรณกรรมทอ งถิ่นน้ันจะวิเคราะหต ามคุณคา ของวรรณกรรมดา นตางๆ เม่ือศึกษา วรรณกรรมทอ งถิน่ เรื่องใด เราจะตอ งวินิจวิเคราะหหรือพิจารณาดูวา วรรณกรรมเรื่องน้ันมีคุณคาในดา น ใดดงั ตอ ไปน้ี 1. คุณคาดา นจริยศาสตรหรือคุณคาดานจริยธรรม วิเคราะหว าวรรณกรรมที่อา นและศึกษาเปน ตัวอยางความประพฤติ การดําเนินชีวิตวาอะไรผิด อะไรถูก อยางไรดี อยางไรเหมาะสม วรรณกรรมทอง ถิ่นจะทําหนา ท่ีตัวอยางแบบแผนและความประพฤติของชาวบา นใหถูกตองสอดคลองกับขอตกลงของ สังคม ชุมชน ตามกฎหมายระเบียบประเพณีอนั ดีงาม 2. คุณคา ดา นสุนทรียศาสตรหรือความงามความไพเราะ วรรณกรรมทองถิ่นจะใหค ุณคาดาน ความงามความไพเราะของถอยคํา ใชคําสัมผัสคลอ งจอง ความไพเราะของทวงทํานองของเพลง บทกวี เมื่อฟง หรอื อา นจะทําใหเ กดิ จนิ ตนาการ เกดิ ความซาบซงึ้ ในอารมณความรูส กึ 3. คุณคาภาษา วรรณกรรมทอ งถิ่นจะเปนสื่อที่ทําใหภาษาถิ่นดํารงอยูและชวยใหภาษาถิน่ พัฒนาอยูเ สมอมีการคิดคน สรา งสรรค ถอ ยคําภาษาเพ่ือส่ือความในวรรณกรรมทองถิน่ ท้ังเพลงพ้ืนบา น บทกวี ซอภาษิต จะมีกลวิธีการแตง ท่ีนาสนใจ มีการเลนคําซ้ําคําทอ งถิน่ ถอยคําที่นํามาใชม ีเสียงสูงต่าํ มี เสยี งไพเราะ ฟงแลวรน่ื หู 4. คุณคาดา นการศึกษา วรรณกรรมทองถิ่นประเภทตําราคําสอน นิทานนอกจากจะใหความ บนั เทงิ แลวยังจะใหค วามรูท กุ แขนง ทง้ั ศิลปวฒั นธรรม อาชีพและเสริมสรางปญญา โดยเฉพาะปริศนาคํา ทายจะใหท้งั ความรู ความบันเทงิ เสริมสรางสตปิ ญ ญา 5. คุณคา ดา นศาสนา วรรณกรรมทอ งถิน่ จะเปนส่ือถายทอดคําสอนและปรัชญาทางศาสนาเผย แพรส ูค นในชุมชนทอ งถิน่ ใหคนชุมชนใชเ ปนเครื่องยึดเหนีย่ วทางจิตใจ ใหแนวคิดในการดํารงชีวิต เชน นิทานชาดกตางๆ เปน ตน 6. คณุ คาดานเศรษฐศาสตร วรรณกรรมประเภทตาํ รายา ตาํ ราพยากรณ การทาํ พิธบี ายศรสี ูขวญั หรอื บทสวดในพธิ กี รรมตา งๆ สามารถนํามายดึ เปนอาชีพได วรรณกรรมเกีย่ วกับคาํ ภาษาสามารถชว ยให ประหยัดอดออมได

ห น า | 83 7. คุณคาทางสังคมไดรับความบันเทิงสนุกสนาน วรรณกรรมทองถิน่ จะปลูกฝงคานิยมในการ ผูกมติ รผกู สมั พันธของคนในทองถนิ่ การอยรู ว มกนั อยา งมีการพึง่ พาซ่ึงกันและกัน สรา งความสามัคคีใน หมคู ณะใหข อ คดิ คตธิ รรมทีเ่ กี่ยวขอ งกับชีวติ ความเปน อยกู ารทํามาหากินและสง่ิ แวดลอม เปน ตน 8. คุณคาดานประวัติศาสตรโบราณคดีและความเปนมาของชุมชนแตละทองถิ่น เชน วรรณกรรมประเภทตํานาน ไดแ กตํานานเกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุ ตํานานช่ือบา นชื่อเมือง เปนตน การวิเคราะหค ุณคา ของวรรณกรรมทอ งถิ่นจะพิจารณาจากคุณคา ดานตา งๆ ดังกลาวมา ซึ่ง วรรณกรรมแตละเรื่อง แตล ะประเภทยอ มจะใหคุณคาแตกตางกัน การศึกษาวรรณกรรมทอ งถิน่ ที่จะเกิด ประโยชนจ ะตอ งพิจารณา วนิ จิ วิเคราะห และนาํ ไปใชไดอ ยา งเหมาะสมจึงเปนหนาท่ีของเยาวชนท่ีจะถือ เปน ภารกิจที่จะตอ งชว ยกันอนุรักษวรรณกรรมท่ีมีคาเหลา น้ีไว และชวยกันสืบทอดใหคนรุน หลังไดม ี โอกาสเรยี นรู ศึกษาและพฒั นาเพอื่ ความเปนเอกลักษณของชาติตอ ไป มารยาทในการอา น มารยาทเปน วัฒนธรรมทางสังคม เปน ความประพฤติที่ดีเหมาะสมท่ีสังคมยอมรับและยกยอง ผู มีมารยาทคือ ผทู ่ีไดรบั การอบรมสั่งสอน ขดั เกลามาดแี ลว มารยาทในการอา นแมจะเปน เรื่องเล็กๆ นอยๆ ท่ีบางคนอาจไมรูส ึก แตไมควรมองขาม มารยาทเหลาน้ีจะเปนเครื่องบงช้ีใหเ ห็นวาบุคคลน้ันไดร ับการ อบรมสั่งสอนมาดีหรอื ไม อยา งไร ดงั เชนภาษติ ทว่ี า “สําเนียงสอภาษากริยาสอสกุล” มารยาททัว่ ๆ ไปในการอา นมีดงั น้ี 1. ไมควรอานเรอ่ื งท่เี ปนสว นตวั ของบุคคลอน่ื เชน จดหมาย สมุดบันทกึ 2. ในขณะทีม่ ีผูอ า นหนังสือ ไมค วรชะโงกไปอา นขา งหลังใหเ ปนที่รําคาญและ ไมควรแยง อาน 3. ไมอา นออกเสยี งดงั ในขณะทีผ่ ูอืน่ ตองการความสงบ 4. ไมแกลงอา นเพ่ือลอเลยี นบคุ คลอ่นื 5. ไมควรถือวิสาสะหยบิ หนงั สอื อืน่ มาอา นโดยไมไ ดร บั อนญุ าต 6. ไมอา นหนงั สอื เม่ือยใู นวงสนทนาหรอื มกี ารประชุม 7. เม่ืออา นหนังสือในหองสมุดหรือสถานทีซ่ ่ึงจัดไวใหอ า นหนังสือโดยเฉพาะ ไมสง เสยี งดงั ควรปฏิบตั ติ ามระเบียบกฎเกณฑข องสถานทเี่ หลานั้นอยา งเครงครัด การปลูกฝงการรกั การอาน 1. ตองทําความเขา ใจกับเรื่องที่อานใหชัดเจนแจมแจง จับใจความเรื่องท่ีอานไดตลอดทั้งเรื่อง และตองเขาใจเนอ้ื หาใหถกู ตอ งดว ย

84 | ห น า 2. ใหไ ดร บั รสชาตจิ าการอา น เชน เกิดความซาบซึง้ ตามเนื้อเรื่อง หรือสํานวนจากการประพันธ นน้ั ๆ เกดิ อารมณรวม เหน็ ภาพพจนตามผูป ระพนั ธ 3. เห็นคุณคา ของเรื่องท่ีอา น เกิดความสนใจใครติดตาม ดังนัน้ การเลือกอานในส่ิงท่ีสนใจก็เป นเหตผุ ลหนง่ึ ดวย 4. รูจกั นาํ สิง่ ท่ีเปนประโยชนจากหนงั สอื ไปใชใ หไดเหมาะสมกับตนเอง 5. รูจักเลือกหนังสือท่ีอา นไดเ หมาะสมตามความตอ งการและโอกาส คุณสมบัติเหลา น้ี เปน เบอ้ื งตน ที่จะปลูกฝงใหร กั การอา น 

ห น า | 85 บทท่ี 4 การเขยี น สาระสาํ คญั การศึกษาหลักเกณฑก ารเขยี นใหเ ขาใจ ปฏบิ ัติตามหลักและวิธกี ารเขียน กระบวน การเขียนเพ่ือ การสือ่ สาร เขียนคํา ขอความใหถูกตอ ง เลือกใชค ําไดเหมาะสม ส่ือความหมายไดชัดเจน จะชวยใหการ ส่อื สารดวยการเขยี นมีประสทิ ธภิ าพ ผูเ ขยี นมมี ารยาทและรกั การเขยี น ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั ผเู รยี นจะสามารถ 1. เขียนจดหมายเขียนเรียงความ เขียนยอ ความ เขียนบันทึก เขียนรายงาน เขียนประกาศ เขียนใบสมัครงาน เขียนสารคดี บันเทิงคดี เขียนคําอวยพร เขียนโครงการ เขียนคํากลา ว รายงาน 2. แตงคําประพนั ธ ประเภท กาพย กลอน โคลง ฉนั ท รา ย ได 3. มารยาทและสรางนสิ ัยรกั การเขยี น ขอบขายเนือ้ หา เรอ่ื งที่ 1 หลักการเขยี น เรอ่ื งท่ี 2 หลักการแตงคําประพนั ธ เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทและนสิ ยั รกั การเขยี น

86 | ห น า เร่ืองที่ 1 หลกั การเขยี น ความหมายและความสาํ คญั ของการเขยี น การเขียน คือ การแสดงความรู ความคิด อารมณค วามรูส ึกและความตองการของผูส งสาร ออกมาเปน ลายลกั ษณอกั ษร เพอ่ื ใหผ รู บั สารอานเขา ใจไดร ับความรู ความคิด อารมณ ความรูส ึก และความต องการตางๆ เหลา นนั้ การเขียนเปนพฤติกรรมของการสง สารของมนุษย ซ่ึงมีความสําคัญไมย ่ิงหยอ นไปกวาการส งสารดวยการพูดและการอา น เพราะการเขียนเปน ลายลักษณอักษรหรือตัวหนังสือจะคงทนถาวรและกว างขวางกวา การพูด และการอาน การที่เราไดทราบความรูความคิดและวิทยาการตา งๆ ของบุคคลในยุคก อนๆ ก็เพราะมนษุ ยร ูจกั การเขยี นสัญลักษณแทนคาํ พูดถา ยทอดใหเราทราบ การเขยี นเพ่ือสง สารมปี ระสทิ ธิภาพมากนอ ยแคไ หนน้ันยอ มข้ึนอยูกับผูสงสารหรือผูเขียนซึ่งจะ ตอ งมคี วามสามารถในหลายดาน ทัง้ กระบวนการคิดกระบวนการเขียนความสามารถในดานการใชภ าษา และอื่นๆดงั น้ี 1. เปนผูม ีความรูในเรื่องที่จะเขียนเปนอยา งดี มีจุดประสงคใ นการถายทอดเพื่อจะใหผ ูอา นได รบั สง่ิ ใดและทราบพ้นื ฐานของผูร ับสารเปน อยา งดดี วย 2. สามารถเลือกรูปแบบและกลวิธีในการเขียนไดเ หมาะสมกับเน้ือหาและโอกาส เชน การเขียน คาํ ชี้แจงก็เหมาะทจี่ ะเขยี นแบบรอยแกว หากเขยี นคําอวยพรในโอกาสตา งๆ อาจจะใชการเขียนแบบรอ ยก รองเปนโคลง ฉนั ท กาพย กลอน จะเหมาะสมกวา เปนตน 3. มคี วามสามรถในการใชภาษาโดยเฉพาะภาษาเขียนท้ังการเขยี นคาํ และขอ ความตามอักขรวิธี รวมทั้งการเลอื กใชถ อยคาํ สาํ นวนตางๆ 4. มคี วามสามารถในการศึกษาคนควา และการฝกฝนทักษะการเขยี น 5. มศี ลิ ปะในการใชถอยคาํ ไดไพเราะเหมาะสมกบั เนอื้ หาหรอื สารทตี่ องการถายทอด หลกั การเขยี นทีด่ ี 1. เขยี นตวั หนงั สอื ชดั เจน อา นงาย เปนระเบียบ 2. เขียนไดถ ูกตอ งตามอักขรวิธี สะกดการันต วรรณยุกต วางรูปเครือ่ งหมายตา งๆ เวน วรรค ตอนไดถ ูกตอ ง เพอ่ื จะสอื่ ความหมายไดต รงและชดั เจน ชว ยใหผอู า นเขาใจสารไดดี 3. เลอื กใชถอยคําไดเหมาะสม ส่ือความหมายไดดี กะทัดรัด ชัดเจนเหมาะสมกับเนื้อหา เพศ วยั และระดบั ของผูอาน 4. เลอื กใชสาํ นวนภาษาไดไ พเราะ เหมาะสมกบั ความรู ความคิด อารมณ ความรูสึก ที่ตองการ ถา ยทอด

ห น า | 87 5. ใชภ าษาเขียนไมค วรใชภ าษาพูด ภาษาโฆษณาหรอื ภาษาท่ไี มไดม าตรฐาน 6. เขยี นไดถกู ตอ งตามรปู แบบและหลกั เกณฑข องงานเขียนแตล ะประเภท 7. เขยี นในสิ่งสรางสรรค ไมเขียนในส่ิงที่จะสรา งความเสียหายหรือความเดือดรอนใหแ กบ ุคคล และสงั คม การที่จะสอ่ื สารดว ยการเขยี นไดดี ผูเขยี นตอ งมีความสามารถในดานการใชภ าษาและตอ งปฏิบัติ ตามหลักการเขยี นท่ีดีมีมารยาท การเขยี นรปู แบบตา งๆ รูปแบบการเขียน งานเขียนในภาษาไทยมี 2 รูปแบบคือ งานเขียนประเภท รอ ยกรองกบั งานเขียนประเภทรอยแกว ซึง่ ผเู รยี นไดเ คยศึกษามาบา งแลว ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ใน ที่นี้จะพูดถึงงานเขียนประเภทรอ ยแกว ท่ีผูเ รียนจําเปน ตองใชในชีวิตประจําวัน เชน การเขียนจดหมาย การเขียนเรียงความ การเขียนยอความ การจดบันทึกและการเขียนแสดงความคิดเห็น และงานเขียน ประเภทรอยกรองบางประเภทเทา นน้ั การเขยี นจดหมาย การเขยี นจดหมายเปน วิธีการทนี่ ยิ มใชเพอ่ื การสอ่ื สารแทนการพูด เมือ่ ผูสง สารและผูรับสารอยูห างไกลกนั เพราะประหยดั คาใชจาย มีลายลกั ษณอ กั ษรเปนหลกั ฐานสงถึงกันไดส ะดวกทุกพื้นที่ จดหมายที่ เขยี นตดิ ตอกนั มหี ลายประเภทเปนตนวา จดหมายสวนตัว เปนจดหมายที่เขียนถึงกันระหวา งญาติมิตร หรือครูอาจารย เพื่อสง ขาวคราว บอกกลาวไตถามถงึ ความทกุ ขส ุข แสดงถงึ ความรกั ความปรารถนาดี ความระลกึ ถงึ ตอ กัน รวมท้ังการเลา เรอ่ื งหรอื เหตกุ ารณทสี่ าํ คญั การขอความชว ยเหลอื ขอคําแนะนาํ ซ่ึงกนั และกัน จดหมายกิจธุระ เปน จดหมายที่บุคคลเขียนติดตอ กับบุคคลอืน่ บริษัท หา งรา นและหนวยงาน อ่นื ๆ เพ่ือแจงกิจธุระ เปน ตน วา การนัดหมายขอสมัครงาน ขอความชวยเหลือและขอคําปรึกษาเพ่ือประโย ชนในดา นการงานตางๆ จดหมายธุรกิจ เปนจดหมายที่เขียนติดตอ กันในเรื่องธุรกิจ และการเงินระหวางบริษัท หา งรา น และองคก ารตางๆ จดหมายราชการหรือหนังสือราชการ เปนจดหมายท่ีติดตอ กันเปน ทางราชการจากสวนราชการ หน่ึงถึงอีกสวนราการหน่ึงขอ ความในหนังสือถือวา เปนหลักฐานทางราชการและมีสภาพผูกมัดถาวรใน ราชการ จดหมายราชการจะมีเลขทีข่ องหนงั สอื มกี ารลงทะเบียนรบั -สง ตามระเบียบของงานสารบรรณ การเขียนจดหมายแตละประเภทจะมีลักษณะแตกตางกันไป แตโ ดยท่ัวไปจะมีแนวโนม ในการ เขยี นดงั น้ี

88 | ห น า 1. สวนประกอบของจดหมายทีส่ ําคญั คือ ท่ีอยูของเจา ของจดหมาย วัน เดือน ปท ี่เขียนขอความ ที่ตองการสอื่ สาร คําขึน้ ตน และคาํ ลงทาย 2. ใชภ าษาที่สื่อความหมายตรง ชัดเจน ส้ัน กะทัดรัดไดใ จความ เพ่ือใหผ ูรับจดหมายไดทราบ อยา งรวดเรว็ การเขยี นแบบน้ีมักใชในการเขยี นจดหมาย กจิ ธรุ ะ จดหมายธุรกิจ และจดหมายราชการ 3. ใชถ อ ยคําภาษาในเชิงสรางสรรค เลือกเฟนถอ ยคําใหนา อา น ระมัดระวังในการใชถอยคํา การเขยี นลกั ษณะน้ีเปน การเขยี นจดหมายสวนตวั 4. จดหมายท่ีเขียนติดตอเปน ทางการตอ งศึกษาวา ควรจะสงถึงใคร ตําแหนงอะไร เขียนช่ือ ช่ือ สกุล ยศ ตาํ แหนง ใหถกู ตอง 5. ใชค ําขึน้ ตนและคาํ ลงทา ยใหเ หมาะสมกับผูร บั ตามธรรมเนยี ม 6. กระดาษและซองเลือกใชใ หเหมาะสมกับประเภทของจดหมาย ถา เปนจดหมายท่ีสง ทาง ไปรษณีย จะตอ งเขียนนามผูสง ไวม ุมซองบนดานซายมือ พรอ มที่อยูแ ละรหัสไปรษณีย การจา หนาซอง ใหเขยี นหรอื พมิ พชอ่ื ทอ่ี ยขู องผูรบั ใหชดั เจนและอยาลมื ใสร หสั ไปรษณียดวย สว นดวงตราไปรษณียใหป  ดไวมมุ บนขวามือ คาไปรษณียากรตองใหถ ูกตองตามกําหนด การเขียนเรียงความ การเขียนเรียงความเปนรูปแบบการเขียนอยางหน่ึง ซึ่งจะตอ งใชศิลปะในการเรียบเรียงถอ ยคํา ภาษาใหเปน เนื้อเรื่อง เพ่ือถา ยทอดขอเท็จจริง ความรู ความรูสึก จินตนาการและความเขาใจดวยภาษาท่ี ถูกตอ งสละสลวยการจะเขียนเรียงความไดด ีผูเขียนจะตอ งศึกษารูปแบบ กฏเกณฑใ หเ ขาใจและฝกเขียน เปน ประจาํ การเขียนเรยี งความ มีสวนสาํ คญั 3 สวน คือ สวนที่ 1 ความนําหรอื คาํ นาํ ความนําเปนสว นแรกของการเขียนเรียงความ ซ่ึงผูร ูไดแนะนําใหเ ขียนหลังจากเขียนสวนอ่ืนๆ เสรจ็ เรยี บรอยแลว และจะไมซา้ํ กับขอความลงทายหรอื สรปุ ความนําของการเขียนเรียงความจะทําหนา ท่ี ดงั น้ี 1. กระตุน ใหผ ูอา นเกดิ ความสนใจตอเนอ่ื งของเรอ่ื งนน้ั ๆ 2. ปพู ื้นฐานความเขาใจใหก บั ผอู า น หรอื ชใี้ หเ หน็ ความสําคญั ของเรอ่ื งกอนที่จะอานตอ ไป 3. บอกขอบขา ยเนอ้ื เรอ่ื งน้ันๆ วามีขอบขายอยา งไร

ห น า | 89 สว น 2 เน้อื เรื่องหรอื ตัวเรือ่ ง การเขยี นเนื้อเรื่อง ผูเ รียนจะตองดูหัวขอ เรื่องท่ีจะ เขียนแลวพิจารณาวาเปนเรื่องลักษณะใด ควร ต้ังวัตถุประสงคข องการเขียนเรียงความอยางไร เพ่ือใหขอเท็จจริงแกผ ูอา นเพ่ือโนม นาวใจใหผ ูอ านเช่ือ หรือคลอยตาม เพ่ือใหความบันเทิงหรือเพ่ือสง เสริมใหผูอ า นใชความคิดของตนใหก วา งขวางข้ึน เม่ือได จดุ ประสงคในการเขยี น ผูเรยี นจะสามารถกาํ หนดขอบขา ยของหวั ขอ เรอ่ื งท่จี ะเขยี นได สวนท่ี 3 บทสรปุ หรอื ความลงทา ย การเขยี นบทสรุปหรอื ความลงทาย ผรู ูไ ดแนะนาํ ใหเขยี นหลังจากเขยี นโครงเรือ่ งเสร็จแลวเพราะ ความลงทายจะทําหนา ทีย่ ้าํ ความสําคัญของเรอ่ื ง ชว ยใหผ ูอา นจดจาํ สาระสําคัญในเรื่องน้ีได หรือชวยใหผู อานเขาใจจุดประสงคของผูเขยี นอกี ดวย วิธกี ารเขยี นความลงทายอาจทําไดด งั น้ี 1. สรุปความทั้งหมดทน่ี าํ เสนอในเรอ่ื ง ใหไ ดส าระสําคัญอยางชัดเจน 2. นาํ เรอ่ื งทเี่ ปนสวนสาํ คญั ทสี่ ดุ ในเนอ้ื เรอ่ื งมากลาวยาํ้ ตามจุดประสงคของเรอ่ื ง 3. เลอื กคาํ กลาวทน่ี าเชื่อถือ สุภาษิต คําคมทส่ี อดคลองกบั เรอ่ื งมาเปนความลงทา ย 4. ฝากขอคดิ และแนวปฏบิ ตั ใิ หก บั ผอู าน เพอ่ื นาํ ไปพจิ ารณาและปฏบิ ัติ 5. เสนอแนวคดิ หรอื ขอใครค รวญลกั ษณะปลายเปดใหผูอานนาํ ไปคิดและใครค รวญตอ ลักษณะของเรยี งความท่ีดี ควรมลี กั ษณะท่ีเปน เอกภาพ สัมพันธภาพ และสารตั ถภาพ เอกภาพ คอื ความเปน อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ของเรอ่ื งไมเ ขยี นนอกเรอ่ื ง สัมพันธภาพ คือ มีความสัมพันธก ันตลอดเร่ือง หมายถึงขอ ความแตล ะขอ ความหรือแตล ะย อหนา จะตอ งมีความสมั พันธเก่ยี วเนอ่ื งกนั โดยตลอด สารัตถภาพ คือ การเนน สาระสําคัญของยอหนาแตละยอหนาและของเร่ืองทัง้ หมดโดยใชถ อ ย คาํ ประโยค ขอ ความท่ีกระชับ ชดั เจน ส่อื ความเรอ่ื งทั้งหมดไดเ ปน อยางดีย่ิง การเขยี นยอความ การยอความ คือการนําเรื่องราวตา งๆ มาเขียนใหมดว ยสํานวนภาษาของผูย อเอง เม่ือเขียนแลว เนือ้ ความเดิมจะสั้นลง แตยังมีใจความสําคัญครบถวนสมบูรณ การยอความนี้ ไมม ีขอบเขตวา ควรจะส้ัน หรือยาวเทา ใดจึงจะเหมาะ เพราะบางเรือ่ งมีพลความมากก็ยอลงไปไดมาก แตบ างเรือ่ งมีใจความสําคัญ มาก ก็อาจยอได 1 ใน 2 หรอื 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 4 ของเรอ่ื งเดมิ ตามแตผูยอจะเหน็ สมควร ใจความสําคัญ คือ ขอความสําคัญในการพูดหรือการเขียน พลความ คือขอ ความที่เปน รายละเอียดนํามาขยายใจความสําคญั ใหชดั เจนยิ่งข้ึน ถาตดั ออกผฟู งหรอื ผูอา นก็ยังเขา ใจเรอ่ื งนนั้ ได

90 | ห น า หลกั การยอความ จากสง่ิ ทไ่ี ดอาน ไดฟง 1. อา นเนอ้ื เรอ่ื งที่จะยอ ใหเขา ใจ อาจมากกวา 1 เท่ียวกไ็ ด 2. เมือ่ เขา ใจเรื่องดีแลว จึงจับใจความสําคัญทีละยอ หนา เพราะ 1 ยอ หนา จะมีใจความสําคัญอย างเดยี ว 3. นาํ ใจความสําคญั แตล ะยอ หนา มาเขยี นใหมดวยภาษาของตนเอง โดยคาํ นึงถึงสิง่ ตา งๆ ดงั น้ี 3.1 ไมใชอ ักษรยอในขอความทย่ี อ 3.2 ถา มีคําราชาศัพทในเรอ่ื งใหคงไวไมตองแปลออกเปน คาํ สามัญ 3.3 จะไมใ ชเครื่องหมายตา งๆ ในขอ ความท่ยี อ เชน อญั ประกาศ 3.4 เนอ้ื เรอ่ื งท่ยี อแลว โดยปกติเขยี นตดิ ตอกันในยอหนาเดียวและควรมีความยาวประมาณ 1 ใน 4 ของเรอ่ื งเดมิ 4. คํานาํ ในการอา นยอความ ใหใชแ บบคาํ นาํ ยอ ความ ตามประเภทของเรื่องท่ีจะยอ โดยเขียนคํา นาํ ไวยอหนาแรก แลวจงึ เขยี นขอความทย่ี อในยอหนา ตอไป การเขยี นบนั ทกึ การเขียนบันทึกเปนวิธีการเรียนรูแ ละจดจําท่ีดี นอกจากนี้ขอมูลท่ีถูกบันทึกไวยังสามารถนําไป เปนหลกั ฐานอา งองิ เพอื่ ประโยชนอนื่ ตอ ไป เชน การจดบันทึกจาการฟง การบันทึกจากการฟงหรือการประสบพบเห็นดวยตนเอง ยอ มกอ ใหเ กิดความรู ในที่น้ีใครข อ แนะนาํ วธิ ีจดบนั ทกึ จากการฟง และจากประสบการณตรง เพ่ือผูเ รยี นจะสามารถนาํ ไปใชป ระโยชนในการ ศึกษาดวยตนเองไดว ธิ ีหนง่ึ วิธีจดบนั ทกึ จาการฟง การจดบนั ทกึ จาการฟงจะไดผ ลดีเพยี งใดข้ึนอยูกับสมรรถภาพในการฟงของผูจ ดบันทึกในขณะ ท่ีฟงอยูน้ัน เราไมส ามารถจดจําคําพดู ไดทุกคํา ดังน้ันวิธีจดบันทึกจากการฟง จึงจําเปนตอ งรูจักเลือกจด เฉพาะประเด็นสําคัญ ใชห ลักการอยา งเดียวกับการยอความน่ันเอง กลาวคือตอ งสามารถแยกใจความ สําคัญออกจากพลความได ขอความตอนใดท่ีไมส ําคัญหรือไมเก่ียวของกับเรื่องน้ันโดยตรงก็ไมจําเปน ต องจดและวธิ กี ารจดอาจใชอักษรยอ หรอื เครื่องหมายที่ใชกนั ทวั่ ไปเพื่อบันทึกไวไดอ ยา งรวดเรว็ เชน ร.ร. แทน โรงเรยี น

ห น า | 91 ร.1 แทน รัชกาลที่ 1 > แทน มากกวา ผูเรยี นอาจใชอักษรยอหรือเครื่องหมายของผูเรียนเองโดยเฉพาะ แตทั้งนี้จะตองใหเปน ระบบจะ ไดไมสับสนภายหลงั ผูฟ ง จับความรูสึกหรือเจตนาของผูพ ูดในขณะที่ฟง ดว ยวา มีจุดประสงคเชนไร เมื่อบันทึก ใจความสาํ คญั ไดค รบถว นแลว ควรนําใจความสําคัญเหลา น้ันมาเรียบเรียงเสียใหม อน่ึงในการเรียบเรียงน้ี อยา ทิ้งเวลาใหเ น่ินนานจนเกินไป เพราะผูจดยังสามารถจําขอ ความบางตอนท่ีไมไ ดจดไว จะไดเ พ่ิมเติม ความรแู ละความคดิ ไดอ ยา งสมบรู ณ บนั ทึกการประชุม การดําเนินกิจกรรมตางๆ ในปจ จุบันมักจะมีการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือกันกอ นเสมอและในการ ประชุมทุกครัง้ จะตองมีผูจดบันทึกการประชุมเพ่ือเปนหลักฐาน บันทึกการประชุมมีรูปแบบดังตัวอยา งต อไปน้ี

92 | ห น า บนั ทึกการประชมุ การประชุม (ลงช่ือคณะกรรมการหรอื ชือ่ การประชุมนน้ั ๆ) ครั้งที่ (ลงคร้ังทปี่ ระชุม) เมือ่ (ลงวนั ท่ี เดอื น พ.ศ. ทปี่ ระชุม) ณ (ลงชื่อสถานทีท่ ป่ี ระชุม) ผูเขา ประชุม 1. เขียนชือ่ ผูมาประชุม.................................................................................... 2. .................................................................................................................. 3. .................................................................................................................. ฯลฯ ผูขาดประชุม 1. เขยี นรายชอ่ื หรอื จาํ นวนผูท่ไี มม าประชุม....................................................... 2. .................................................................................................................. 3. .................................................................................................................. ฯลฯ เรม่ิ ประชมุ เวลา (ลงเวลาท่เี ร่ิมประชุม) ขอ ความ(เร่มิ ดวยประธานกลา วเปดการประชุม การอา นรายงาน (บันทึก)การประชุมครัง้ ที่แลว( ถามี) ที่ประชุมรับรองหรือแกไ ขอยา งไร แลวถึงเรื่องท่ีจะประชุมถามีหลายเรื่องใหย กเร่ืองท่ี 1 เรื่องท่ี 2 และตอ ๆ ไปตามลําดับ และใหม มี ตขิ องทีป่ ระชุม(ทกุ เรอ่ื ง) เลกิ ประชุม (ลงเวลาเลกิ ประชุม).................................................................................. (ลงชอ่ื ...................................................ผบู ันทกึ การประชุม ศัพทเ ฉพาะท่ใี ชในกิจกรรมการประชมุ ทค่ี วรรบู างคาํ 1. ผเู ขาประชมุ หมายถึง ผทู ่ีไดร บั เชิญหรือไดรบั การแตงตง้ั ใหเ ปน ผูมสี ิทธิเขา ประชุม เพ่อื ทําหนาท่ีตา งๆ เช นทาํ หนาทเี่ ปนผนู าํ การประชุม เปนผูเสนอความคดิ เหน็ ตอที่ประชุม เปน ผจู ดบนั ทกึ การประชุม เปน ตน

ห น า | 93 2. วาระ หมายถึง เรื่องหรือหัวขอ หรือประเด็นปญหาตางๆ ที่ตองหาคําตอบ หาขอยุติหรือวิธีแกไข โดยจดั เรียงลาํ ดบั เรอ่ื งตามความเหมาะสม 3. ขอเสนอ ในการประชุมถาขอใหที่ประชุมพิจารณาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง มีศัพทเฉพาะเพื่อใชบอกความ ประสงควา เสนอและเรยี กเรอ่ื งที่เสนอวา ขอเสนอ 4. สนบั สนนุ คดั คาน อภิปราย ขอเสนอที่มผี ูเ สนอตอ ทป่ี ระชมุ น้ัน ผเู ขาประชุมมีสิทธิเห็นดวยหรือไมเ ห็นดว ยก็ได ถา เห็นด วยเรียกวาสนับสนุน ไมเห็นดว ยเรียกวาคัดคา น การแสดงความคิดเห็น เพื่อสนับสนุนหรือคัดคา นขอ เส นอเรียกวา การอภิปรายใหตรงประเดน็ และมีเหตุผลสนบั สนนุ อยางชดั เจน 5. มติ คือ ขอตดั สนิ ใจของท่ีประชุมเพอ่ื นาํ ไปปฏบิ ัติ เรียกวา มติท่ปี ระชมุ การเขียนบันทกึ ประจาํ วนั วธิ ีเขยี นอาจแตกตา งกันออกไป แตมแี นวทางในการเขยี น ดงั น้ี 1. บันทกึ เปนประจาํ ทกุ วนั ตามความเปนจรงิ โดยมสี มดุ บนั ทกึ ตางหาก 1 เลม 2. บอกวนั เดอื นปท่บี นั ทึกไวอยางชดั เจน 3. การบนั ทึกอาจเริ่มจากเชาไปค่าํ โดยบนั ทกึ เรอ่ื งทส่ี ําคัญและนา สนใจ 4. การบนั ทึกอาจแสดงทรรศนะและความรูส กึ สวนตวั ลงไปดว ย 5. การใชภ าษาไมม ีรูปแบบตายตัว สว นใหญใ ชภาษางา ยๆ สนุกสนาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความ พอใจและบคุ ลกิ ของผบู นั ทกึ เอง วธิ จี ดบนั ทกึ จากประสบการณต รง ความรูบ างอยา งเราไมอ าจหาไดจ ากการอา นหรือการฟง ตองอาศัยการไปดูและสังเกตดว ยตน เอง เรียนจากประสบการณต รง วิธีการจดบันทึกจากการสังเกตของจริงน้ันคลายกับการบันทึกจากการอ านและการฟงนั่นเอง กลา วคือ เราตองรูจักสังเกตสิ่งท่ีสําคัญๆสังเกตดูความสัมพันธของสิ่งตา งๆ ที่เรา เหน็ นัน้ วา เก่ียวขอ งกันอยางไรมีลักษณะอยางไร แลวบันทึกเปนขอ มูลไวในสวนของขอ สงสัยหรือความ คิดเห็นเราอาจบันทึกไว เมื่อนําบันทึกท่ีไดจากการสังเกตมาเรียบเรียงใหมน้ันควรระบุเรื่องที่จะบันทึก วัน เวลา สถานที่ หากมีขอสังเกตหรือมาเรียบเรียงใหมน ้ัน ควรระบุเรื่องที่จะบันทึก วัน เวลา สถานที่

94 | ห น า หากมีขอสังเกตหรือความคิดเห็นประการใด ใหเรียบเรียงไวในตอนทาย ท้ังนี้ควรเขียนใหร วบรัดให รายละเอียดเฉพาะทจี่ าํ เปน และไมใชถ อยคาํ ท่ฟี ุมเฟอ ย ในชีวิตประจําวันเราไดรับสารจากวิธีการสือ่ สารหลายประเภท ไมว าจะเปนหนังสือ วิทยุ โทร ทัศน หรืออาจเปน ส่ิงท่ีเราไดเห็นและประสบมาดว ยตนเอง ถาเราเพียงแตจดจําส่ิงเหลานั้นโดยไมไดจ ด บนั ทึกก็อาจจะลืมและอยไู ดไ มน าน แตถ า มีการจดบนั ทกึ ไวก็จะชวยใหอ ยูไ ดนานวนั ข้ึน การเขียนรายงาน รายงานการศึกษาคน ควา เปนการเขียนเสนอเพื่อรายงานการศึกษาคน ควาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง โดยเฉพาะ โดยกอ นเขียนจะตอ งมีการศึกษาคน ควา จัดระบบและเรียบเรียงเปนอยา งดีขั้นตอนการเขียน รายงานการคน ควา 1. เลือกเร่ืองหรือประเด็นที่จะเขียน ซึ่งเปน เร่ืองท่ีตนสนใจ กําลังเปนท่ีกลา วถึงในขณะนั้น เรอ่ื งแปลกใหมน า สนใจ จะไดรบั ความสนใจมากขึ้น 2. กาํ หนดขอบเขตทีจ่ ะเขยี นไมก วา งหรอื แคบจนเกนิ ไป สามารถจดั ทําไดใ นเวลาทีก่ าํ หนด 3. ศึกษาคน ควาและเก็บรวบรวมขอมูลอยา งเพียงพอทั้งจากเอกสาร การสัมภาษณ การสังเกต หรอื จากส่ือมวลชนตา งๆ เปนตน 4. บันทึกขอ มูลท่ีไดคนควาพรอ มแหลงที่มาของขอมูลอยางละเอียด โดยจดบันทึกลงในบัตร หรอื สมุดบันทกึ ทัง้ น้เี พือ่ นํามาเขยี นเชงิ อรรถและบรรณานกุ รมในภายหลัง 5. เขยี นโครงเรอ่ื งอยา งละเอยี ด โดยลําดับหวั ขอ ตา งๆ อยางเหมาะสม 6. เรยี บเรยี งเปน รายงานที่เหมาะสม โดยมรี ูปแบบของรายงานที่สาํ คัญ 3 สวนคอื 6.1 สวนประกอบตอนตน 6.1.1 หนา ปกรายงาน 6.1.2 คํานํา 6.1.3 สารบัญ 6.1.4 บัญชีตาราง หรอื ภาพประกอบ (ถามี) 6.2 สว นเนอ้ื เรอ่ื ง 6.2.1 สวนทเ่ี ปนเนอ้ื หา 6.2.2 สว นประกอบในเนอ้ื หา 6.2.2.1 อญั ประกาศ 6.2.2.2 เชงิ อรรถ 6.2.2.3 ตารางหรอื ภาพประกอบ (ถามี) 6.3 สว นประกอบตอนทา ย

ห น า | 95 6.3.1 บรรณานกุ รม 6.3.2 ภาคผนวกหรอื อภิธานศพั ท (ถา มี) การใชภาษาในการเขียนรายงาน 1. ใชภาษากะทัดรัด เขาใจงา ย และตรงไปตรงมา 2. ใชภาษามาตรฐาน ตามธรรมเนยี มนยิ ม 3. เวน วรรคตอนอยางถูกตอ งเหมาะสม เพอ่ื ใหเนอ้ื ความกระจา งชดั เขา ใจงาย 4. การเขียนทั่วๆไป ควรใชศ ัพทธรรมดา แตในกรณีท่ีตอ งใชศ ัพทเ ฉพาะวิชา ควรใชศ ัพทท่ีได รบั การรบั รองแลวในแขนงวชิ านน้ั ๆ โดยเฉพาะอยางยงิ่ ศพั ทซ งึ่ คณะกรรมการบญั ญัติศัพทภ าษาไทย ของ ราชบญั ฑิตสถานไดบ ญั ญตั ไิ วแ ลว 5. การเขียนยอหนาหนึง่ ๆ จะตองมีใจความสําคัญเพียงอยา งเดียว และแตละยอ หนา จะตอ งมี ความสมั พันธตอเนอ่ื งกนั ไปจนจบ การเขียนประกาศ ประกาศ หมายถึง การบอกกลาวหรอื ชแี้ จงเรอ่ื งราวตา งๆ ใหสาธารณชนหรือผูเก่ียวขอ งทราบ ผู รับขอ มูลไดทราบจากสือ่ มวลชนตางๆ เชน วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ หรือจากฝายโฆษณาใบปลิว เป นตน ลักษณะของประกาศทผ่ี ูเขยี นจะไดพบเสมอๆ แบงไดเปน 2 แบบ คือ 1. แบบประกาศท่ีเปน ทางการ ประกาศลักษณะน้มี กั ออกจากหนวยงานราชการรัฐวิสาหกิจหรือ องคก รตางๆ สวนมากจะเปนเรอ่ื งเกี่ยวกับกลุมคนสวนใหญ รูปแบบการเขียนมักจะมีประเด็นสําคัญ ดังน้ี คือ 1.1 ชือ่ หนว ยงานหรอื องคก รทีอ่ อกประกาศ 1.2 เรอ่ื งที่ประกาศ 1.3 เนอ้ื ความทป่ี ระกาศ สวนใหญจะมีรายละเอียดอยางนอ ย 2 สวนคือ 1.3.1 เหตผุ ลความเปนมา 1.3.2 รายละเอียด เงอ่ื นไข และขอเสนอแนะตา งๆ 1.4 วนั เดอื นปที่ประกาศน้นั จะมผี ลบังคับใชนับต้ังแตเวลาท่ีปรากฏในประกาศ 1.4.1 การลงนามผูป ระกาศ คือผูมีอํานาจในหนว ยงานท่ีเปน เจา ของ ประกาศนั้น 1.4.2 ตาํ แหนง ของผปู ระกาศ

96 | ห น า 2. ประกาศท่ีไมเปน ทางการ ประกาศลักษณะน้ีมักออกจากบริษัท หา งราน หรือของบุคคลใด บุคคลหน่ึง จะมีจุดประสงคเ ฉพาะเรื่อง เชน ประกาศรับสมัครงาน ประกาศของหาย ประกาศลักษณะน้ี จะมีเฉพาะขอ มูลท่ีจําเปน ท้ังนี้สว นใหญจ ะเปน การประกาศในหนาหนังสือพิมพซึ่งตองประหยัดเนื้อท่ี โฆษณา เนอ่ื งจากคา โฆษณามรี าคาสูง การเขียนโฆษณา การโฆษณาสินคาบริการเปนการสงสารโนม นา วใจตอ สาธารณชน เพื่อประโยชนืในการขาย สนิ คา หรอื บริการตางๆ ซ่งึ มีลักษณะดงั น้ี 1. บทโฆษณาจะมีสว นนําท่ีสะดุดหู สะดุดตา ซึ่งมีผลทําใหส ะดุดใจสาธารณชน ดว ยการใชถ อยคาํ แปลกๆ ใหมๆ อาจเปน คําสัมผสั อกั ษร คําเลยี นเสยี งธรรมชาติ 2. ไมใ ชถอ ยคาํ ที่ยดื ยาว ครอบคลมุ เน้ือหาอยางครบถว น มกั ใชเปนรปู ประโยคสนั้ ๆ หรือวลีส้ันๆ ทําใหผ อู านรบั รูไ ดอยางฉับพลัน 3. เนื้อหาจะช้ีใหเห็นถึงความดี วิเศษของคุณภาพ ของสินคา หรือบริการ สวนมากจะเนน ความ เปนจรงิ เชน “ทนทานปานเหลก็ เพชร” 4. ผูโฆษณาจะพยายามจับจุดออ นของมนุษย โดยจะโนม นา วใจในทํานองท่ีวาถา ใช เครื่องสําอางคชนดิ น้แี ลว ผวิ พรรณจะเปลง ปลงั่ บา ง เรอื นรา งจะสวยมเี สนห บ า ง 5. เนอ้ื หาสารโฆษณา มกั ขาดเหตผุ ล ขาดความถกู ตอ งทางวิชาการ 6. สารโฆษณาจะปรากฏทางส่ือชนดิ ตา งๆ ซ้ําๆ กันหลายครง้ั หลายหน การเขียนคาํ อวยพร พร คือ คําท่ีแสดงความปรารถนาดี ที่บุคคลจะพึงกลาวแกผ ูอ ่ืน ในการเขียนคําอวยพรตอ งเขียน ใหเ หมาะสมกับโอกาส เชน อวยพรในวันข้ึนปใหม อวยพรในการทําบุญขึ้นบานใหม อวยพรในงาน มงคลสมรส อวยพรผทู ีล่ าไปศึกษาตอ ณ ตางประเทศ นอกจากคํานึงถึงโอกาสที่จะกลาวคําอวยพรแลว ตองคํานึงถึงบุคคลที่จะรับพรวาเปนผูอยูใ น ฐานะใด เปน คนเสมอกนั หรอื เปนผมู ีอาวโุ สสูงกวาหรือต่าํ กวาผูพูด คําอวยพรมีใหเ ปน รายบุคคลหรือให แกห มูคณะทง้ั น้เี พอ่ื จะไดเลอื กใชถอยคาํ ใหถกู ตอ งเหมาะสมเปนกรณีไป มขี อเสนอแนะดงั น้ี 1. ในการแตงคําอวยพรสาํ หรบั โอกาสตางๆ พรทใี่ หกันก็มักเปน สิง่ อนั พงึ ปรารถนา เชน พรส่ี ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ความสําเร็จในกิจการงาน ความสมหวัง ความมีเกียรติ เปนตน ท้ังน้ี แลวแตผูอ วยพรจะเห็นวา สิ่งใดเหมาะสมที่จะนํามากลา ว โดยเลือกหาคําที่ไพเราะ มีความหมายดี มาใช แตงใหไ ดเ นอ้ื ความตามทีป่ ระสงค

ห น า | 97 2. ถา เปนการอวยพรญาติมติ ร ท่ีมีอายุอยูในวัยใกลเคียงกันก็กลาวอวยพรไดเลย แตถา เปน ผูท่ีสู งกวาดวยวัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิ ก็ควรอางสิ่งท่ีตนเคารพนับถือ หากเปน พุทธศาสนิกชนก็ อา งคุณพระศรีรตั นตรยั ใหดลบนั ดาลพร เพอ่ื ความเปน สิริมงคลแกผูท ่ไี ดรบั พร การเขียนโครงการ การทํางานขององคกรหรือหนวยงานตางๆ น้ันจําเปนตองมีโครงการเพื่อบอกเหตุผลของการ ทํางานน้ัน บอกวัตถุประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน ระยะเวลา สถานที่ งบประมาณที่ใช บุคคลท่ี รับผิดชอบ เพ่ือใหการทํางานนัน้ ดําเนินไปดวยดี ขอใหด ูตัวอยา งโครงการและศึกษาแนวการเขียน โครงการในแตละหวั ขอ ใหเ ขา ใจ

98 | ห น า ยกตวั อยา งโครงการท่เี ปน ปจ จบุ นั โครงการประชมุ สมั มนาคณะกรรรมการบรหิ ารองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล (อบต.) ภาคตะวนั ออก ประจําปงบประมาณ 2551 ……………………………………. 1. หลกั การและเหตผุ ล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 8 ไดกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศท้ัง ในทศวรรษหนาและในชวง พ.ศ. 2540-2544 ใหเนน คนเปน ศูนยกลาง หรือเปนจุดหมายหลักของการ พัฒนา ท้ังนี้เพ่ือนําไปสูวิสัยทัศน “ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมมีสมรรถภาพ เสรีภาพ ความ ยุติธรรม และมีการพัฒนาที่สมดุล บนพื้นฐานของความเปนไทย” ซ่ึงจะเปนการพัฒนาในลักษณะท่ี ตอเนอ่ื งและย่งั ยนื ทําใหคนไทยสวนใหญม คี วามสุขท่แี ทจริงในระยะยาว และองคการบริหารสวนตําบล ซ่ึงเปนหนว ยงานบริหารราชการสว นทองถ่ินที่จัดข้ึนตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหาร สว นตําบล พ.ศ. 2537 มีหนาที่ในการสง เสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สง เสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน โดยมีอํานาจอิสระในการดําเนินกิจกรรม กําหนดแผนงาน และการใชงบประมาณของตน เอง หากองคก ารบริหารสวนตํากลไดร ว มจัดและสงเสริมการศึกษาในตําบลอยางแทจ ริงแลวก็จะทําให การพัฒนาคุณภาพของคนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ทัดเทียมมานานาอารยประเทศที่เจริญแลว กรมการศึกษานอกโรงเรียนจึงไดรวมกับสํานักคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ มอบหมายให ศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออกจดั สัมมนาคณะกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบลข้นึ 2. วัตถปุ ระสงค 2.1 เพ่ือใหคณะกรรมการบริหาร อบต. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการศึกษาทั้งในระบบ โรงเรยี นและนอกระบบโรงเรยี น 2.2 เพื่อใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีสวนรวมในการวางแผน และจัดกิจกรรมการศึกษา ในระบบโรงเรยี นและการศึกษานอกระบบโรงเรยี น 2.3 เพื่อใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีความเขาใจเก่ียวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 8 มีสว นในการพัฒนาสังคม เด็ก สตรี และครอบครัว รวมกบั ศูนยบรหิ ารนอกโรงเรยี นอาํ เภอ(ศบอ.) และเกดิ การขยายผลอยางตอ เนอ่ื ง 3. เปา หมาย 3.1 เชงิ ปริมาณ กลุม เปา หมายทง้ั สน้ิ 115 คน ประกอบดว ย 3.1.1 ประธาน อบต. จงั หวดั ละ 3 คน 9 จงั หวดั จาํ นวน 27 คน 3.1.2 ปลดั อบต.จงั หวดั ละ 3 คน 9จงั หวดั จาํ นวน 27 คน

ห น า | 99 3.1.3 หน.ศบอ. จงั หวดั ละ 3 คน 9 จงั หวดั จาํ นวน 27 คน 3.1.4 ผูอ าํ นวยการศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี น จงั หวดั (ศนจ.) จาํ นวน 9 คน 3.1.5 เจา หนาทศี่ นู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั จาํ นวน 9 คน 3.1.6 เจา หนาท่ีศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก จาํ นวน 7 คน 3.1.7 พนักงานขบั รถยนต ของ ศนจ. จาํ นวน 9 คน รวม 115 คน 3.2 เชงิ คณุ ภาพ กลุมเปา หมายมีความรูค วามเขา ใจเกี่ยวกับงานการศึกษามีสวนรว มในการสนับสนุนและจัดการ ศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียน เพื่อพัฒนาสังคม เด็ก สตรี และครอบครัวอยางแทจริงและ ขยายผลอยา งตอเนอ่ื ง 4. วธิ ีดาํ เนนิ การ 4.1 ขนั้ เตรียมการ 4.1.1 ศึกษา สาํ รวจ รวบรวมขอ มลู 4.1.2 ขออนมุ ตั ิโครงการ 4.1.3 ประสานงานผูเกี่ยวขอ ง 4.1.4 ดาํ เนนิ การประชุมสัมมนา 4.2 ข้นั ดาํ เนนิ การ 4.2.1 จดั ประชุมสัมมนาจาํ นวน 2 วนั 4.2.2 รวบรวมแผนพฒั นาของ อบต. เกี่ยวกบั การจดั การศึกษา เพ่ือนาํ เสนอผูเ ก่ียวขอ ง 4.2.3 ตดิ ตาม ประเมินผลการดาํ เนนิ งานรวมกบั หนว ยงานท่ีเกยี่ วของ 5. ระยะเวลา/สถานท่ ี 5.1 จัดประชุมสัมมนา ระหวางวันท่ี 24-25 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรมสตาร อําเภอเมือง จังหวัด ระยอง 5.2 ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ภายในเดอื นกันยายน 2551 พนื้ ท่ี 9 จงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 6. งบประมาณ ใชงบประมาณประจําป 2551 หมวดคาตอบแทน ใชส อย วัสดุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษานอก โรงเรยี น กรมการศึกษานอกโรงเรยี น จาํ นวนเงนิ 140,000 บาท มีรายละเอียดดงั น้ี คาใชสอยและวสั ดุในการประชุมสัมมนา - คา ท่ีพัก 115x425 = 48,875.- บาท

100 | ห น า - คาอาหารวางและเครื่องดืม่ 115x100x2 = 23,000.- บาท - คา อาหรกลางวัน 115x120x2 = 27,600.- บาท - คา อาหารเยน็ 115x150 = 17,250.- บาท - คา ตอบแทนวิทยากร 600x2 ชั่วโมง = 1,200.- บาท - คาตอบแทนวิทยากร 600x1.5 ชัว่ โมง = 450.- บาท - คานา้ํ มันเชอ้ื เพลงิ = 1,000.- บาท - คา วสั ดุ = 20,675.- บาท หมายเหตุ ทุกรายการขอถวั จายตามทจี่ ายจรงิ 7. เครอื ขา ย/หนวยงานท่ีเกย่ี วของ - ศนู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก - ศนู ยบริการการศึกษานอกโรงเรยี นอาํ เภอในภาคตะวนั ออก - หนวยงานสงั กดั กรมการปกครองในภาคตะวนั ออก 8. การประเมินผลโครงการ - ประเมินระหวา งการประชุมสัมมนา - ประเมินหลงั การประชุมสัมมนา - สรปุ และรายงานผลการประชุมสัมมนา 9. ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ นางญาณศิ า เจรีรตั น งานโครงการพเิ ศษ ฝา ยนโยบายและแผนงาน ศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก 10. ความสัมพนั ธก บั โครงการอืน่ - โครงการพฒั นาเครอื ขาย - โครงการพฒั นาบุคลากร - โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกโรงเรยี น - โครงการจดั กจิ กรรมการศึกษานอกโรงเรยี นในศนู ยก ารเรยี นชุมชน (ศรช.) 11. ผลทคี่ าดวา จะไดรบั ศบอ.มีสวนในการวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษานอกโรงเรียน รว มกับ อบต.ไดตรงตาม นโยบายของรัฐบาล ตลอดทัง้ สามารถขยายผลการพฒั นาในพน้ื ทไ่ี ดอยางมปี ระสทิ ธผิ ล ผูขออนมุ ตั ิโครงการ ผเู หน็ ชอบโครงการ ผอู นมุ ตั โิ ครงการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook