Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักประวัติศาสตร์สำคัญของโลก (3)

นักประวัติศาสตร์สำคัญของโลก (3)

Published by Thipchanok Phanhun, 2021-06-13 17:41:18

Description: นักประวัติศาสตร์สำคัญของโลก (3)

Search

Read the Text Version

นกั ประวตั ิศาสตร์ สาํ คัญของโลก

นกั ประวตั ิศาสตรต์ ะวนั ตก เฮอรอโดทัส เปนนกั ประวตั ิศาสตรชาวกรีกโบราณ ผเู กดิ ทีฮ่ าลกิ ารแ นสซสั ใน จกั รวรรดเิ ปอรเ ซีย เปนท่รี จู ักในฐานผปู ระพนั ธ เดอะฮสิ ตอรีส เน้อื หาเกยี่ วกับ การบนั ทึกสงครามระหวา งกรกี และเปรอเซยี เขามักไดร ับการยกยองใหเ ปน \"บิดาแหงประวตั ศิ าสตร\" ท่ซี ึง่ มีผเู รียกขานเขาเชน น้ีมาต้ังแตหนึ่งรอ ยปก อน ครสิ ตกาล ผลงาน เดอะฮสิ ตอรสี ของเขามชี ื่อเสยี งโดง ดังเปนอยางมาก โดย เปน การสะทอนมุมมองของเขาที่มตี อ สงครามกรีก - เปอรเ ซีย โดยละเอียด เขา ยงั ถือเปนนกั เขยี นคนแรกทีน่ าํ วธิ ีการสืบสวนอยางเปนระบบมาใชในวชิ า ประวัติศาสตร นอกจากน้ีผลงานของเขายังถา ยทอดมุมมองท่ีมตี อ ระบอบ การเมืองการปกครอง, ชีวประวัติของกษัตริยห ลายพระองค และ เหตุการณก าร รบในสมรภมู ิท่มี ชี อื่ เสียง เชน เทอรม อลิพ,ี อารเ ทมเิ ซยี ม และ ซาลามิส งาน เขยี นของเขายังมีการแบง แยกหวั ขอ ในศาสตรตางๆนอกเหนอื จากหวั ขอ หลกั ทางดา นประวัติศาสตร เชน วัฒนธรรมชาติพรรณ และ ภมู ศิ าสตร] ซ่งึ เปนการให ความรแู ละดึงดดู ความสนใจของผอู า นไดเ ปน อยา งดี

ลอเรนโซ วลั ลา ลอเรนโซ วลั ลา (Lorenso; Laurentius Valla ค.ศ. 1406-1457) เปนนักประวัตศิ าสตรชาวเมอื งเนเปลสใน สมยั ฟน ฟศู ิลปวทิ ยา (Renaissance) กอ นการปฏริ ปู ศาสนาของมารติน ลเู ทอร (Martin Luther ค.ศ. 1483- 1546) ซ่งึ การเขยี นประวัติศาสตรในยคุ น้ีจะมีลกั ษณะ วพิ ากษวจิ ารณมากข้นึ วัลลามีผลงานดาน ประวตั ิศาสตรห ลายชิ้น ท่โี ดดเดนและไดรบั การกลาวถึง มากท่สี ุดคือเรื่อง Discourse on the Forgery of the Alleged Danation of Constantine ซึ่งเขียนขน้ึ ใน ค.ศ. 1440

คารล์ มาคส์ คารล ไฮนรชิ มาคส (เยอรมนั : Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มนี าคม พ.ศ. 2426) เปน นกั ปรัชญา นักเศรษฐศาสตร นักประวัติศาสตร นกั ทฤษฎี การเมือง นกั สงั คมวิทยา นกั หนังสอื พมิ พแ ละนกั สงั คมนยิ มปฏวิ ตั ิชาวเยอรมันมาคสเ กิด ในครอบครัวชนชน้ั กลางในเทรยี ร เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกลิ เนื่องจาก งานพมิ พการเมืองของเขาทําใหเ ขาไรส ัญชาตแิ ละอาศัยลภ้ี ยั ในกรงุ ลอนดอน ซ่งึ เขายัง พฒั นาความคิดของเขาตอ โดยรว มมือกับนักคดิ ชาวเยอรมนั ฟรดี รชิ เองเงิลส และจัด พมิ พงานเขยี นของเขา เรอ่ื งทีข่ น้ึ ชื่อของเขา ไดแ ก จุลสารป 2391, แถลงการณพรรค คอมมิวนสิ ต และทุน จํานวนสามเลม ความคดิ ทางการเมอื งและปรชั ญาของเขามี อิทธิพลใหญหลวงตอปญญาชนรนุ หลงั วิชาประวตั ิศาสตรเศรษฐกจิ และประวตั ิศาสตร การเมอื ง ช่อื ของเขาเปนคําคุณศพั ท นามและสํานักทฤษฎสี ังคม

มแี ชล ฟูโก มีแชล ฟโู ก (ฝรัง่ เศส: Michel Foucault, ออกเสยี ง: [miʃɛl fuko]; 15 ตุลาคม ค.ศ. 1926 – 25 มถิ ุนายน ค.ศ. 1984) เปนนกั ปรัชญา นกั ประวตั ิศาสตรความคดิ นกั ทฤษฎีสงั คม นกั นิรกุ ตศิ าสตร และนักวิจารณ วรรณกรรมชาวฝรงั่ เศส เคยดาํ รงตําแหนง \"ศาสตราจารยทางประวัตศิ าสตรข องระบบความคดิ \" (Professor of the History of Systems of Thought) [1] ท่ีวิทยาลัยฝรงั่ เศส (Collège de France) และเคย สอนทม่ี หาวทิ ยาลัยแคลิฟอรเนยี เบริ ก ลีย สหรฐั อเมริกา

นกั ประวตั ิศาสตรจ์ นี ซอื หมา่ เชยี น เปนนกั บนั ทกึ ประวตั ศิ าสตรผ ยู งิ่ ใหญท่โี ดนตอนองคชาตในสมัยราชวงศ ฮ่ันตรงกบั รชั สมยั จักรพรรดิฮัน่ อูตี้ (140-87กอนคริสตกาล)ซือหมา เชียน 司⾺談ถอื กําเนดิ ในครอบครัวปญ ญาชนครอบครัวหนง่ึ บิดาของเขาคือซือหมา ถาน ( ) เปน อาลักษณหลวง หรอื ขนุ นางผูม หี นาท่บี นั ทึก เหตกุ ารณร าชกจิ ในราชสาํ นักฮั่น และยังเปน ผเู ร่ิมรา งเคา โครงเน้ือหา ประวัตศิ าสตรจีนมากอ นหนา ดว ยเหตุน้ี ตั้งแตอายุ 10 ขวบซือหมาเชีย นกเ็ ริ่มศกึ ษาวิชาวรรณคดี ประวตั ศิ าสตรแ ละคมั ภรี ของสาํ นักตาง ๆ กบั ผทู รงคณุ วุฒทิ ่มี ชี อ่ื เสยี งในยคุ น้ัน ในวยั เดก็ ซอื หมา เชยี นกเ็ ปนคนชาง ขบคดิ เขามีความรตู าง ๆ นานาเก่ียวกบั บุคคลและเหตกุ ารณตา ง ๆ ท่ี เกดิ ข้นึ ในประวตั ิศาสตรอ ยางกวา งขวางนอกเหนือจากสิ่งทีไ่ ดบันทกึ ไวใ น ตาํ รา เมอ่ื 111 ป กอนคริสตศ ักราช

นกั ประวตั ิศาสตรอ์ ินเดยี ชวาหะรล์ าล เนหร์ ู ชวาหะรล าล เนหรู (ฮินดี: जवाहरलाल नहे , ชวาหรลาล เน หรู; อักษรโรมัน: Jawaharlal Nehru; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964[4]) รัฐบุรษุ ของอินเดยี และนายก รฐั มนตรีคนแรก หลงั ไดรับเอกราชจากอังกฤษ ดํารงตาํ แหนงเปน เวลา 17 ป ตั้งแต ค.ศ. 1947 จนกระท่งั ถึงแกอสญั กรรมในตําแหนง เมื่อ ค.ศ. 1964

นกั ประวตั ิศาสตรเ์ อเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เบเนดกิ ต์ แอนเดอรส์ นั เบเนดกิ ต แอนเดอรสัน (6 สงิ หาคม พ.ศ. 2479 — 13 ธันวาคม พ.ศ. 2558) หรือทนี่ กั วิชาการไทยเรยี กวา \"ครเู บน\" เปน ศาสตราจารยก ติ ติคณุ แอรอน แอล. ไบเนนคอรบ (Aaron L. Binenkorb) ดานการระหวางประเทศศกึ ษา การปกครอง และ เอเชียศึกษา มหาวิทยาลยั คอรเ นล เปน ทรี่ ูจักจากผลงานเร่อื ง ชุมชนจินตกรรม : บทสะทอ นวา ดว ยกาํ เนดิ และการแพรข ยายของ ชาตนิ ิยม (Imagined Communities: Reflections on the Origin and Spread of Nationalism)

นกั ประวตั ิศาสตรไ์ ทย พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร รามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหามงกฎุ (พระราชสมภพ 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหา พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั กษตั รยิ ไ ทยรชั กาลท่ี 4 แหง ราชวงศจกั รี มี พระนามเดิมวา \"เจาฟามงกุฎ\" เสด็จพระราช สมภพ ณ พระราชวังเดมิ เมอื่ วนั พฤหสั บดี ขนึ้ 14 คาํ่ เดือน 11 ปชวด ตรงกบั วนั ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ ยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เปนพระราชโอรส พระองคท ่ี 43 และเปนลําดบั ท่ี 2 ในพระบาท สมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลยั กบั สมเดจ็ พระ ศรีสุริเยนทราบรมราชนิ ี

เจา้ พระยาทิพากรวงศมหาโกษาธบิ ดี (ขาํ บุนนาค) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2356 — 12 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2413) ขนุ นางชน้ั ผูใหญสมยั รัตนโกสินทร ผชู ว ยปลดั กรมทา ปลัดกรมพระตํารวจ ผู สาํ เรจ็ ราชการในกจิ การตา งประเทศ นกั เขยี นพระราชพงศาวดาร ผแู ตง และผตู พี ิมพห นงั สือรวมทง้ั หนังสอื แสดงกิจจานุกจิ หนงั สอื ไทยเลม แรกทีอ่ ธบิ ายความรทู างวิทยาศาสตร ภมู ศิ าสตรแ ละ ศาสนาที่ทันสมัยทีส่ ุดในขณะนนั้

พลเอก สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 – 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2486) เปน พระ ราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู วั ประสตู ิแต เจาจอมมารดาชมุ ท.จ.ว. และเปนองคต น ราชสกลุ ดิศกลุ [12] ทรงดํารงตําแหนงทีส่ าํ คัญทางการทหารและพลเรือน เชน เจา พนักงานใหญ ผบู ญั ชาการทหารบก อธบิ ดีกรมศกึ ษาธกิ าร (ตําแหนงเทียบเทา เสนาบดี) องคปฐมเสนาบดีกระทรวง มหาดไทย เสนาบดีกระทรวงมุรธาธร นายกราชบณั ฑติ ยสภา องคมนตรีในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชริ าวุธฯ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั หรอื พระบาทสมเด็จพระรามาธบิ ดีศรสี ินทรมหาวชริ าวุธ พระมงกฎุ เกลาเจาอยูหวั (1 มกราคม พ.ศ. 2424 – 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2468) เปนพระมหากษตั รยิ ไ ทย รัชกาลท่ี 6 แหง ราชวงศจักรีพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั มีพระอัจฉริยภาพและทรง บาํ เพญ็ พระราชกรณียกิจในหลายสาขา ทัง้ ดาน การเมืองการปกครอง การทหาร การศกึ ษา การ สาธารณสขุ การตางประเทศ และท่ีสาํ คัญท่ีสุดคือดาน วรรณกรรมและอักษรศาสตร ไดท รงพระราชนิพนธบท รอ ยแกว และรอยกรองไวนบั พนั เรอื่ ง กระทัง่ ทรงไดร ับ การถวายพระราชสมัญญาเม่ือเสดจ็ สวรรคตแลว วา \"สมเด็จพระมหาธรี ราชเจา\"

นกั วทิ ยาศาสตรข์ องโลก เซอรไ์ อแซก นวิ ตัน เกดิ เมื่อวนั ท่ี 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 และเสยี ชีวติ ลง ขณะอายุ 85 ป ในวนั ที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 ซ่ึงเขา เปน อัจฉริยะทีเ่ กงรอบดานทง้ั ในฐานะนกั ฟส ิกส นกั คณติ ศาสตร นกั ดาราศาสตร นกั ปรชั ญา นักเลน แร แปรธาตุ และนกั เทววิทยา โดยผลงานเดน ท่ีสดุ ของ เขาท่ีคนรจู ักกันดีที่สดุ กค็ ือ กฎการเคลื่อนท่ขี องนิวตัน และกฎแรงโนม ถว งสากล ท่เี ขาคดิ ข้นึ มาไดจากการ สงั เกตผลแอปเปลทต่ี กจากตนน่นั เอง

\"นบกั ดิ วาทิแยหาง่ ศวาทิ สยตารศเ์ าจสา้ ตขอรย์งุคฉใาหยมา\"่ เกิดทป่ี ระเทศอติ าลี เมอื่ วนั ท่ี 15 กมุ ภาพนั ธ ค.ศ. 1564 และมี ชวี ติ อยูจ นอายุ 77 ป จนกระทงั่ เสียชีวิตลงเม่ือวนั ท่ี 8 มกราคม ค.ศ. 1642 โดยเขาเปนผทู ส่ี รางความเปลีย่ นแปลงใหก บั แนวคิด ของวทิ ยาศาสตรยุคกอนอยางส้ินเชิง ดวยการยดึ มัน่ ในทฤษฎี ของตัวเองวา ดาวเคราะหเ ปนฝายหมุนรอบดวงอาทติ ย ซึง่ ขัด กับความเชอ่ื ของชาวครสิ ตในสมยั กอ นท่สี นับสนุนทฤษฎีของ อริสโตเติล ทเ่ี ช่ือวาพระอาทิตยแ ละดวงจันทรเ ปน ฝา ยหมนุ รอบ โลก

นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวเยอรมนั เชอื สายยวิ เกดิ เม่ือวัน ที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1879 และเสยี ชีวติ ลงเม่ือวนั ท่ี 18 เมษายน ค.ศ. 1955 ในขณะที่มีอายุ 78 ป ซง่ึ ถึงแมเ ขาจะ เปนหนึ่งในนกั วิทยาศาสตรท คี่ นทวั่ โลกรจู ักกันอยางแพร หลายในปจจุบัน แตทจ่ี ริงแลว เขาเคยเปน เด็กท่ีมปี ญ หาเรอ่ื ง การเรยี นรูมากอ น โดยเขาไมสามารถพูดไดจนกระทง่ั อายุ 3 ขวบ และอา นหนังสอื ออกเม่ือ 8 ขวบ จนไมมีใครคาดคิดวา เขาจะกลายเปนนกั วิทยาศาสตรท่ีประสบความสาํ เรจ็ ไดมาก ขนาดทค่ี ดิ คนสิ่งประดิษฐต า ง ๆ รวมถงึ สรา งทฤษฎใี หม ๆ มากมาย โดยเฉพาะผลงานเดน เชน ทฤษฎสี มั พัทธภาพ พิเศษทอ่ี ธิบายวาเราทุกคนจะมองเหน็ อัตราความเรว็ แสงได ในระยะเทา กัน และทฤษฎสี ัมพทั ธภาพทว่ั ไปซึ่งเปน ทฤษฎที ่ี อธิบายกฎแรงโนมถวงในเชิงเรขาคณติ

นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวอังกฤษ เกดิ เมื่อวันที่ 11 กุมภาพนั ธ ค.ศ. 1847 และเสยี ชีวติ ในวยั 84 ป เมือ่ วนั ท่ี 18 ตุลาคม ค.ศ. 1931 เปน เจาของสทิ ธิบตั รสิง่ ประดิษฐม ากมายท่เี ราใชกันในชวี ติ ประจาํ วันกวา 1,000 ช้นิ โดยเฉพาะการคดิ คนหลอดไฟทเ่ี ปน ผลงานชิน้ เอก แมวาเขา จะมปี ญ หาเรอื่ งการเรียนรูท ําใหอา นหนังสือไมอ อกจนกระท่ัง อายุ 12 ป และบกพรองเร่อื งการฟง หลงั ประสบอบุ ัตเิ หตบุ น รถไฟก็ตาม

นกั วทิ ยาศาตรช์ าวกรกี ซึง่ มชี วี ิตอยใู นชว ง 384-322 ปก อ นครสิ ตศักราชอยาง อริสโตเติล เปน ผูเช่ียวชาญรอบดา นในหลายสาขา เชน ดาราศาสตร ฟสิกส วรรณกรรม และชวี วิทยา ไหวพริบของ อรสิ โตเติลนั้นทาํ ใหเ ขาไดช่อื วา เปน ศษิ ยเอกของอจั ฉรยิ ะ อยา ง เพลโต ต้ังแตอ ยูใ นวัย 18 ป โดยผลงานท่เี ดนทีส่ ุดของเขาเหน็ จะ เปนดานชวี วทิ ยา ซึ่งเขาเปนผูจาํ แนกประเภทของสัตวต าม ลักษณะออกเปน 2 ประเภท คือ พวกที่มีกระดูกสนั หลังและพวก ท่ไี มมกี ระดกู สันหลัง ทาํ ใหผ ูค นนับถอื ความสามารถจนไดเปน พระอาจารยและพระสหายสนทิ ของพระเจา อเลก็ ซานเดอร มหาราช

นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ทย พระบาทสมเดรจ็ ชัพกราะลจอทมี 4เกล้าเจา้ อยูห่ วั พระองคทรงเปน พระบดิ าแหง วิทยาศาสตรไทย เนื่องจากสน พระทยั เรอื่ งของวทิ ยาศาสตร เรขาคณิต ตรโี กณมิติ โดย เฉพาะดาราศาสตรเ ปน พเิ ศษโดยพระองคท รงคํานวณปฏทิ นิ จันทรคติแบบใหมท ที่ รงประดษิ ฐค ิดคน ข้ึนดว ยพระองคเอง ซง่ึ มีความแมนยําถูกตอ งตรงกบั ดวงจนั ทรบ นทอ งฟา ย่ิงกวา ปฏิทนิ ทีใ่ ชอ ยเู ดมิ และยังทรงคํานวณการเกิดปรากฎการณส ุ ริยปราคาเต็มดวงที่ตําบลหวา กอ จังหวัดประจวบครี ขี ันธใ น วันท่ี 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ไดลว งหนาถงึ 2 ปอยา ง แมนยํา

ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ นายแพทยป์ ระเวศ วะสี ปรมาจารยแ์ หง่ วงการแพทย์ ศ.นพ.ประเวศ วะสี เปนนกั วิชาการดานสาธารณสขุ และการ ศึกษาทไี่ ดร บั การยกยองในฐานะ \"ราษฎรอาวุโส\" โดยหลังจาก จบการศึกษาแพทยศาสตรศ ิรริ าชพยาบาล ไปศกึ ษาดานการ แพทยตอ ทีส่ หรัฐอเมรกิ า และเม่ือจบการศึกษาแลว ศ.นพ.ประเวศ ก็ไดเขา ศกึ ษาตอ ดานมนษุ ยพนั ธุศาสตร ณ มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศองั กฤษ ทาํ ใหทานเปน แพทย ที่มคี วามเชีย่ วชาญทางดา นพนั ธุศาสตร ทั้งนี้ ผลงานเดนของ ศ.นพ.ประเวศ ก็คอื การคนพบกลไกทาง พันธุศาสตร ของโรคแอลฟา ธาลสั ซเี มีย โดยพบวามยี ีนส แอลฟาธาลสั ซเี มีย 2 ชนิด และไดใหช่อื วา แอลฟาธาลสั ซีเมยี 1 และ แอลฟาธาลสั ซีเมยี 2

จบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรแี ละปริญญาโท สาขา ดร.อาจอง วิศวกรรมศาสตร จากมหาวทิ ยาลยั เคมบรดิ จ โดยมีผล งานวิจยั เกีย่ วกบั เร่ืองคลื่นไมโครเวฟ จากนัน้ ดร.อาจอง กไ็ ดศึกษาตอระดบั ปรญิ ญาเอกสาขาฟสิกสท ี่ Imperial College of Science and Technology London University ดว ยความสามารถของ ดร.อาจอง ทาํ ใหเ ขา สามารถสรา งชือ่ เสยี งไปในระดับโลก โดยไดเขา รวม ออกแบบชน้ิ สวน ขาและชน้ิ สว นระบบลงจอดของยาน อวกาศใหก ับบริษทั Martin Marietta ซงึ่ องคการนาซา ของสหรัฐอเมริกาวาจางใหออกแบบ เพ่อื นาํ ไปใชในยาน อวกาศไวกง้ิ 2 ลาํ สง ไปลงบนดาวอังคาร หลงั จากทาํ งานในตา งประเทศไดสกั พกั ดร.อาจอง ก็ไดเ ดินทางกลับมาทาํ งานดานวิศวกรรมในประเทศไทย และไดสรา งผลงานไวมากมาย

ศาสตราจารย์ ดร.ระวี ภาวไิ ล ทา นเปน นกั วิชาการดา นดาราศาสตรท ีบ่ กุ เบกิ การศกึ ษาดานดาราศาสตรรนุ แรก ๆ ของประเทศไทย โดยทา นจบวิทยาศาสตรบ ณั ฑติ สาขาฟส ิกส จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กอนจะไปตอ ปริญญาโท ทางฟสกิ ส จากมหาวิทยาลยั แอเดอเลด ประเทศ ออสเตรเลยี และศกึ ษาปรญิ ญาเอกทางดาราศาสตร จากมหาวิทยาลยั แหงชาติออสเตรเลีย ประเทศ ออสเตรเลยี จนเปนผเู ชย่ี วชาญดานดาราศาสตร สําหรบั ผลงานเดน ๆ ดา นดาราศาสตร ไดแ ก การศกึ ษาโครงสรา งของโครโมสเฟยร ดวงอาทิตย เร่ืองโครงสรางอาณาจักรบริเวณกมั มนั ตบ นดวง อาทติ ย

ศาสตราจารย์ ดร.สทุ ัศน์ ยกสา้ น ดวยความที่ ศ.ดร.สุทศั น ยกสาน จบการศกึ ษา ดา นฟส ิกสจ ากอิมพเี รยี ลคอลเลจ มหาวทิ ยาลยั ลอนดอน กอนจะศึกษาตอปริญญาโท และปริญญา เอก ดา นฟส ิกสของแข็งภาคทฤษฎี จากมหาวทิ ยาลยั แคลิฟอรเนีย รเิ วอรไซด สหรัฐอเมรกิ า ทําใหทานมี ความเช่ยี วชาญดา นฟสกิ สเปน อยางยง่ิ และมีผลงาน ดา นการสรางทฤษฎีอธิบายสมบตั ิพน้ื ฐานบางประการ ของสภาพนาํ ย่งิ ยวด รวมทง้ั ผลงานดานวชิ าการอกี มากมาย ซ่ึงไดรบั การตีพิมพล งในวารสารตา งประเทศ ที่ไดร ับการยอมรับจากนานาชาติถงึ 37 เร่ือง

นาย ธนเดช นันทะศรี เลขที่ 4 นางสาว ทิพยชนก พนั ธฮ ุน เลขท่ี 39 นางสาว นันทน ภัส มะลิทอง เลขท่4ี 3 นางสาว มณฑกรานต สุขเรอื ง เลขที่ 47 นางสาว ศิริลักณ เชียงพา เลขท่ี 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook