Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอผาขาว

แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอผาขาว

Published by natwadee kumyarach, 2021-09-01 08:03:11

Description: แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอผาขาว

Search

Read the Text Version

11 สแกนเอกสาร ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอผาขาว แบบ PDF สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดเลย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ รายงาน “ทำเนียบแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอผาขาว จังหวัดเลย” ฉบับน้ี จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ทางภูมิปัญญาท้องถิ่นภายในเขตพื้นที่อำเภอผาขาว จังหวัดเลย เพ่ือ เป็นองค์ความรู้หลากหลายพร้อมให้ผูท้ ี่สนใจได้ศกึ ษาค้นคว้า และเป็นการสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต อีกท้ัง ยงั เป็นแหลง่ เชือ่ มโยงใหส้ ถานศึกษาและชุมชนไดม้ ีสว่ นร่วม รว่ มกัน การจัดทำข้อมูลแหล่งเรียนรู้ “ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ อำเภอผาขาว จังหวัดเลย” ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอผาขาว ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก สำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย กศน.ตำบลทุกตำบล องค์การบริหารส่วน ตำบล สถานศึกษา ผู้นำชุมชน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ร่วมทั้งผู้ท่ี เกี่ยวข้องทุกท่าน จนเสร็จสิ้นไปด้วยดี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอผาขาว ขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งย่งิ ไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จดั ทำ สแกนเพ่อื ดาวน์โหลดเอกสารแบบ PDF

สารบญั เรือ่ ง หนา้ ท่ี แหลง่ เรียนรู้/ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ตำบลโนนปอแดง .1 - แหลง่ เรียนรู้ การทอผ้าฝา้ ย บา้ นโนนกกขา่ - แหลง่ เรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล บา้ นวังบอน 4 - แหลง่ เรยี นรู้ การทำขนมดอกจอกและขนมข้าวแตนนำ้ แตงโม บ้านนาล้อม 8 - แหล่งเรียนรู้ สวนพริกจนิ ดา บา้ นศรีวิไล 11 - แหล่งเรียนรู้ ร้านคำโฮมคาเฟ่ บ้านนยิ มไทย 14 แหล่งเรียนร/ู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ตำบลโนนปา่ ซาง 17 - แหล่งเรยี นรู้ การปลูกกลว้ ยหอมทอง บ้านห้วยยาง - แหล่งเรยี นรู้ การทอผ้าถุงมัดหม่ี บา้ นหว้ ยยาง 20 - แหลง่ เรยี นรู้ การย้อมฝ้ายจากสธี รรมชาติ บ้านสันตภิ าพพัฒนา 23 - แหลง่ เรยี นรู้ การทอผ้าไหมมดั หมี่ บา้ นโนนสวา่ ง 26 - การจักสานจากไม้ไผ่ ด้วยภูมปิ ัญญาท้องถิ่นบ้านโนนป่าซาง 27 แหลง่ เรียนร/ู้ ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ตำบลผาขาว 32 - แหล่งเรยี นรู้ กลุ่มออมทรัพย์เพ่อื การผลิต บ้านดงน้อย 35 - การทอเส่ือ จากภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ บ้านผาขาว - การสานสวงิ ตกั ปลา จากภูมิปัญญาท้องถ่นิ บา้ นผาขาว 38 - การสานมวยนึง่ ขา้ ว จากภูมิปัญญาท้องถ่ินบา้ นผาขาว 41 - การสานกระตบิ ขา้ วเหนยี ว จากภูมิปญั ญาท้องถ่นิ บ้านผาขาว 44 แหลง่ เรยี นรู/้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ตำบลบ้านเพิม่ - แหลง่ เรยี นรู้ พิพธิ ภัณฑ์ทางโบราณคดี วดั โพธ์ิชัย บา้ นผาสวรรค์ 47 - แหลง่ เรยี นรู้ ไร่ภูตะวนั บ้านซำพรา้ ว 49 - แหล่งเรียนรู้ ศลิ ปะการแสดงพืน้ บา้ น จากชมรมผ้สู งู อายุ บ้านผาสวรรค์ 52 - แหล่งเรียนรู้ ดา้ นสขุ ภาพจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพมิ่ สุข 55 - การทำกระตบิ ขา้ ว จากภูมิปัญญาท้องถิ่นบา้ นเพมิ่ 58 แแหล่งเรียนรู้/ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ตำบลท่าชา้ งคล้อง - แหลง่ เรียนรู้ การทำพรมเช็ดเท้าจากผา้ บา้ นพวยเดง้ 61 - แหล่งเรยี นรู้ การปลกู มะนาวในบ่อซีเมนต์ บา้ นพวยเด้ง 64 - แหล่งเรยี นรู้ ไร่นาสวนผสม บ้านหวั ขัว 67 - แหลง่ เรียนรู้ เกษตรทฤษฎใี หม่ บา้ นนาตาด 70 - แหล่งเรยี นรู้ สวนปิยวดี บ้านหนองตานา 73

แหล่งเรียนรู้ การทอผา้ ฝ้าย บ้านโนนกกขา่ ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จงั หวดั เลย นางเพญ็ จติ ร แก้วใส หนา้ ที่ 1

ประวัตคิ วามเป็นมาของแหล่งเรียนรู้ การทอผ้าฝ้าย บ้านโนนกกขา่ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั เลย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนปอแดง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหลง่ เรยี นรู้  ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ 2. ชือ่ แหล่งเรยี นรู้ กลุม่ ทอผ้าฝ้ายบ้านโนนกกขา่ 3. ชอื่ เจา้ ของแหล่งเรยี นรู้ นางเพ็ญจติ ร แก้วใส 4. ขอ้ มลู การตดิ ต่อ ทีต่ ั้ง/ที่อยู่ (ประกอบดว้ ย เลขที่, หมู่ท่ี, ชอื่ หมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ, จงั หวัด) ศาลากลางบา้ นโนนกกขา่ หมู่ที่ 5 ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จงั หวัดเลย รหสั ไปรษณีย์ 42240 โทรศพั ท์ : 082-0967120 5. ประเภทแหล่งเรียนรู้ แหล่งหัตถกรรม 6. องค์ความร้ใู นแหล่งเรียนรู้ - จดุ เด่น การมสี ว่ นรว่ มของคนในชมุ ชน - เน้ือหาสาระ การทอผ้าฝ้าย ทำให้ชุมชนได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ในการ ปลูก ทอ การคิดค้นลายผ้า แบบเก่าประยุคผสมผสานให้เหมาะสมกับยุคสมัยและรวมไปถึงการย้อมสีธรรมชาติใหด้ ูสวยงาม สง่ิ เหล่าน้ีเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งที่ควรอนุรักและสืบสานให้คนรุ่นหลงั ได้เรียนรู้ต่อไป ทอผ้าฝ้ายบ้านโนนกกข่าในปัจจุบนั จน เปน็ ทยี่ อมรับของคนในชุมชน สถานศึกษาและภาคีเครอื ขา่ ยหนว่ ยงานราชการ 7. มีเนือ้ หาสาระสอดคล้องกับการจัดการศกึ ษาของ กศน.  กลุม่ การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต  กลมุ่ การศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน  กล่มุ การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ กลมุ่ อาชพี  เกษตรกรรม  อตุ สาหกรรม  ความคดิ สร้างสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลมุ่ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน สาระการเรียนรู้  ทักษะการเรียนรู้  ความร้พู ้ืนฐาน  การประกอบอาชีพ  ทกั ษะการดำเนินชวี ติ  การพัฒนาสงั คมและชมุ ชน หน้าท่ี 2

8. ภาพประกอบ - เจ้าของแหล่งเรียนรู้ - ภาพกจิ กรรมเด่นของแหลง่ เรียนรู้ - ควิ อารโ์ คด้ ท่รี ะบุพกิ ดั แหล่งเรยี นรู้ ผ้บู ันทกึ นางสาวอรทยั เต็มสอาด ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 099-1986226 ผรู้ ับรองขอ้ มลู (ผนู้ ำชมุ ชน) นางเพ็ญจิตร แกว้ ใส ตำแหนง่ ผ้ใู หญบ่ ้าน เบอรโ์ ทร 082-0967120 หนา้ ที่ 3

แหลง่ เรยี นรู้ โคก หนอง นา โมเดล บ้านวังบอน ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จังหวัดเลย นางเพ็ญพกั ตร์ ลายเขียน หนา้ ที่ 4

ประวตั ิความเป็นมาของแหลง่ เรยี นรู้ โคก หนอง นา โมเดล บ้านวังบอน สำนักงาน กศน.จงั หวดั เลย ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนปอแดง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรยี นรู้  ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ 2. ชอื่ แหล่งเรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล 3. ชือ่ เจ้าของแหล่งเรียนรู้ นางเพ็ญพกั ตร์ ลายเขียน 4. ขอ้ มูลการติดต่อ ทต่ี ้งั /ท่ีอยู่ (ประกอบด้วย เลขที่, หมูท่ ,ี่ ช่อื หมบู่ า้ น, ตำบล, อำเภอ, จงั หวดั ) โคก หนอง นา บ้านวงั บอน หม่ทู ่ี 15 ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จงั หวดั เลย 42240 5. ประเภทแหลง่ เรียนรู้ แหล่งเรียนรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียงในท้องถิน่ 6. องคค์ วามรใู้ นแหล่งเรยี นรู้ - จดุ เดน่ เปน็ แหล่งเรียนรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี งในท้องถิน่ - เนอ้ื หาสาระ “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นแนวคดิ ท่ีมาจากพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชน กาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ที่พระราชทานมานานกว่า 30 ปี ด้วย ความมุ่งมั่นที่จะสืบสาน ศาสตร์พระราชาที่พระองค์ทรงงานในด้านการจัดการน้ำ และป่าเพื่อประโยชน์ของ พสกนิกรชาวไทยเสมอมา โดยแนวความคิดนี้ จะช่วยลดพื้นที่ภูเขาหัวโล้น การปลูกพืชเศรษฐกิจที่ทำลาย ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อคืนความอุดมสมบูรณ์แก่ผืนป่า ของประเทศไทย พร้อมกับการยกระดับความเป็นอยู่ ของเกษตรกรในการทำเกษตรแนวใหม่ โดยพื้นที่ที่ได้มีการทดลองทำ โคก หนอง นา โมเดล ได้กระจายอยู่ใน หลายพื้นทด่ี ว้ ยกนั ในประเทศไทย ดว้ ยความร่วมมอื ท้ังจากองค์กรภาครฐั เอกชนตา่ งๆ จากบคุ คลท่ีได้เดินตาม รอยพอ่ ในการดำรงชวี ิตอยู่ด้วยความพอเพยี งคือ อ.ยกั ษ์ วิวฒั น์ ศลั ยกำธร โคก หนอง นา โมเดล เปน็ แนวคดิ เก่ียวการบรหิ ารจดั การ การใช้พน้ื ที่ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด แกเ่ กษตรกร เพ่ือต้องการให้เกดิ ในสงิ่ ตอ่ ไปน้ี 1. โคก เปน็ การทำดิน ท่ขี ุดทำหนองนำ้ ให้นำมาทำโคก บนโคกปลูกปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง ตามแนวทางพระราชดำริ ปลกู พชื ผกั สวนครวั เล้ยี งหมู เลย้ี งไก่ เลย้ี งปลา ทำใหพ้ ออยู่ พอกิน พอใช้ พอ ร่มเย็น เป็นเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน ก่อนเข้าสู่ขั้นก้าวหน้าคือการทำบุญ ทำทาน เก็บรักษา ค้าขาย และ เชื่อมโยงเปน็ เครอื ข่าย ปลูกท่อี ยอู่ าศัยให้สอดคล้องกับภมู ิประเทศและภมู อิ ากาศ หน้าที่ 5

2. หนอง เป็นการขุดหนองเพื่อกักเก็บน้ำ ไว้ใช้ยามหน้าแล้ง หรือจำเป็นและเป็นที่รับน้ำยามน้ำท่วม (หลมุ ขนมครก) ขดุ คลองไสไ้ ก่ หรอื คลองระบายน้ำรอบพ้นื ที่ ตามภมู ิปัญญาชาวบ้าน โดยขดุ ให้คดเค้ียวไปตาม พ้นื ที่ เพือ่ ให้น้ำกระจายเต็มพ้ืนที่ เพมิ่ ความช่มุ ชื้น ลดพลงั งานในการรดนำ้ ตน้ ไม้ ทำฝายทดน้ำ เพ่อื เก็บนำ้ เข้า ไว้ในพน้ื ที่ใหม้ ากทส่ี ุดโดยเฉพาะเมื่อพ้ืนทีโ่ ดยรอบไมม่ ีการกักเก็บนำ้ น้ำจะหลากลงมายงั หนองนำ้ และคลองไส้ ไก่ให้ทำฝายทดนำ้ เก็บไวใ้ ช้ยามหนา้ แล้ง พัฒนาแหลง่ น้ำในพื้นที่ ทั้งการขุดลอก หนอง คู คลอง เพื่อเก็บน้ำไว้ ใชย้ ามหน้าแล้งและเพิม่ การระบายนำ้ ยามน้ำหลาก 3. นา เป็นการใช้พื้นที่นาเพื่อปลูกข้าวอินทรีย์พื้นบ้าน โดยเริ่มจากการฟื้นฟูดิน ด้วยการทำเกษตร อินทรีย์ยัง่ ยืน คืนชีวิตเล็กๆ หรือจุลินทรยี ์ กลับคืนสู่แผ่นดิน ใช้การควบคมุ ปริมาณน้ำในนา เพื่อคลุมหญ้า ทำ ให้ปลอดสารเคมีได้ ปลอดภัยทั้งคนปลูก คนกิน ยกคันนาให้มีความสูงและกว้าง เพื่อใช้เป็นที่รับน้ำ ยามน้ำ ทว่ ม ปลกู พืชอาหาร ตามคนั นา 7. มเี น้อื หาสาระสอดคล้องกับการจดั การศึกษาของ กศน.  กลมุ่ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ  กลมุ่ การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน  กลุม่ การศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ กล่มุ อาชีพ  เกษตรกรรม  อตุ สาหกรรม ความคดิ สร้างสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลมุ่ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สาระการเรยี นรู้  ทกั ษะการเรยี นรู้  ความรพู้ นื้ ฐาน  การประกอบอาชีพ  ทกั ษะการดำเนินชีวิต การพัฒนาสังคมและชมุ ชน 8. ภาพประกอบ - เจา้ ของแหล่งเรยี นรู้ หน้าที่ 6

- ภาพกิจกรรมเดน่ ของแหล่งเรยี นรู้ - คิวอารโ์ ค้ดท่ีระบุพิกดั แหล่งเรยี นรู้ ผบู้ นั ทึก นางสาวอรทัย เต็มสอาด ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 099-1986226 ผรู้ ับรองข้อมูล (ผู้นำชุมชน) นายสงา่ กรรณลาตำแหนง่ ผู้ใหญบ่ า้ น เบอร์โทร 087-8635600 หนา้ ที่ 7

แหลง่ เรียนรู้ การทำขนมดอกจอก และขนมขา้ วแตนนำ้ แตงโม บ้านนาล้อม ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จังหวัดเลย นางโสรญา ธรรมมา หนา้ ที่ 8

ประวัตคิ วามเปน็ มาของแหลง่ เรียนรู้ การทำขนมดอกจอก และขนมขา้ วแตนน้ำแตงโม บ้านนาล้อม สำนกั งาน กศน.จังหวัดเลย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนปอแดง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรยี นรู้  ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ 2. ช่ือแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ การทำขนมดอกจอกและขนมขา้ วแตนน้ำแตงโม 3. ชื่อเจา้ ของแหล่งเรยี นรู้ นางโสรญา ธรรมมา 4. ขอ้ มลู การติดต่อ ทีต่ ั้ง/ท่ีอยู่ (ประกอบดว้ ย เลขท,ี่ หมู่ท,ี่ ชื่อหม่บู า้ น, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด) บ้านเลขท่ี 34 บ้านนาล้อม หมทู่ ่ี 3 ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จงั หวัดเลย 42240 5. ประเภทแหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ 6. องค์ความรูใ้ นแหล่งเรยี นรู้ - จุดเด่น เป็นวิสาหกจิ ชมุ ชนสร้างรายไดใ้ ห้กับคนในพืน้ ที่ไดม้ ีงานทำ - เนอื้ หาสาระ ข้าวแตนน้ำแตงโม เป็นขนมพื้นบ้านหรืออาหารว่างของชาวภาคเหนือในประเทศไทย ท่ี แสดงออกถึงเอกลกั ษณ์และภมู ิปัญญาพน้ื บ้านของชาวพ้ืนเมืองทบ่ี ริโภคข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก วิธีทำก็ง่าย โดยนำขา้ วน่ึงมากดใสพ่ ิมพแ์ ลว้ เอามาตากแดดให้แห้ง นำไปทอด จากนน้ั ราดดว้ ยนำ้ ออ้ ยแลว้ นำมาบรโิ ภค ขา้ ว แตนน้ำแตงโม มีรสชาติท่ีอร่อยโดดเด่นคือ หวาน หอม กรอบและอร่อย สามารถใช้เป็นของว่างในการต้อนรับ แขกในงานบญุ เกือบทกุ ท่ี เปน็ ผลติ ภัณฑท์ ี่รับประทานงา่ ยและกรอบอร่อย ทส่ี ำคัญไม่มีโคเรสเตอรอล มโี ปรตีน คาร์โบไฮเดรต และโซเดียมที่จำเป็นต่อร่างกาย การผลิตข้าวแตนน้ำแตงโม เพื่อจำหน่ายแก่คนในท้องถิ่น นักท่องเที่ยว และส่งไปขายทั่วประเทศและต่างประเทศสามารถสร้างรายได้และลดรายจ่ายแก่ครอบครัวและ ชมุ ชน 7. มีเน้ือหาสาระสอดคล้องกับการจัดการศึกษาของ กศน.  กลุม่ การศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ  กลุ่มการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน  กลุ่มการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี กลุ่มอาชีพ  เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคิดสรา้ งสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลุม่ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน หน้าที่ 9

สาระการเรียนรู้  ทักษะการเรียนรู้  ความรพู้ น้ื ฐาน  การประกอบอาชีพ  ทกั ษะการดำเนินชวี ิต  การพฒั นาสงั คมและชมุ ชน 8. ภาพประกอบ - เจา้ ของแหล่งเรยี นรู้ - ภาพกจิ กรรมเด่นของแหล่งเรยี นรู้ - คิวอาร์โค้ดทรี่ ะบุพกิ ัดแหล่งเรยี นรู้ ผบู้ นั ทกึ นางสาวอรทยั เต็มสอาด ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 099-1986226 ผรู้ บั รองข้อมูล (ผู้นำชมุ ชน) นายบญุ กอง สอนสุภาพ ตำแหนง่ ผใู้ หญบ่ า้ น เบอร์โทร 089-9290960 หนา้ ท่ี 10

แหล่งเรียนรู้ สวนพรกิ จนิ ดา บ้านศรีวิไล ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จังหวดั เลย นายรุ่งโรจน์ บบุ ผามะตะมัง หนา้ ท่ี 11

ประวตั ิความเปน็ มาของแหลง่ เรียนรู้ สวนพริกจนิ ดา บ้านศรวี ไิ ล สำนกั งาน กศน.จังหวัดเลย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนปอแดง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรยี นรู้  ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ 2. ชื่อแหล่งเรียนรู้ สวนพริกจนิ ดา 3. ช่อื เจ้าของแหล่งเรยี นรู้ นางโสรญา ธรรมมา 4. ขอ้ มลู การติดต่อ ทต่ี ั้ง/ที่อยู่ (ประกอบด้วย เลขท่ี, หม่ทู ่ี, ชือ่ หมบู่ ้าน, ตำบล, อำเภอ, จงั หวดั ) บา้ นเลขที่ 342 บา้ นศรีวไิ ล หมทู่ ่ี 17 ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จงั หวดั เลย 42240 5. ประเภทแหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ 6. องคค์ วามร้ใู นแหล่งเรยี นรู้ - มาตรฐาน/รางวัลที่ได้รบั รางวลั รองชนะอันดบั 1 ในการประกวดพริกจินดา - เนือ้ หาสาระ พริกจินดา จัดอยู่ในกลุ่มพริกขี้หนูผลใหญ่ที่มีความสำคัญในฐานะพืชเศรษฐกิจของไทย เช่นกัน ใช้ทั้งในรูปพริกแห้ง พริกสด และซอสพริก มีแหล่งผลิตที่สําคัญอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมาคือภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง เป็นตน้ พริกจินดา ผลมีขนาดเล็กเรียวยาว ผลชี้ขึ้นเป็นสว่ นมาก ผลดิบมีสีเขียว แก่ ผลสุกสีแดงเข้ม ใช้ได้ทั้งผลผลิตสดและแห้ง ผลที่ตากแห้งแล้วจะมีสีสวย กรอบ ตําให้แหลกง่าย มีจํานวนเมล็ดมาก น้ำหนัก มาก ทนทานต่อโรค เจริญเติบโตดี และสามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี ทรงพุ่มกว้างประมาณ 50-60 เซนติเมตร ต้นสูงประมาณ 45-60 เซนติเมตร อายุเก็บเกี่ยวหลังการย้ายกล้าประมาณ 90 วัน และสามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตได้ประมาณ 60-90 วัน พันธุ์ที่ปลูกมีทั้งพันธุ์พื้นเมืองและพันธุ์ลูกผสมที่พัฒนาวิจัยโดยหน่วยงาน ราชการและเอกชน 7. มเี นอ้ื หาสาระสอดคลอ้ งกบั การจัดการศกึ ษาของ กศน.  กล่มุ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ  กลมุ่ การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน  กลุ่มการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชพี กลมุ่ อาชพี  เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคิดสร้างสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง พาณิชยกรรมและการบริการ  กลุม่ การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน หนา้ ที่ 12

สาระการเรียนรู้  ทกั ษะการเรยี นรู้  ความรพู้ ื้นฐาน  การประกอบอาชีพ  ทักษะการดำเนนิ ชีวติ  การพฒั นาสงั คมและชุมชน 8. ภาพประกอบ - เจ้าของแหล่งเรยี นรู้ - ภาพกิจกรรมเด่นของแหล่งเรียนรู้ - คิวอารโ์ คด้ ทร่ี ะบุพกิ ัดแหล่งเรียนรู้ ผบู้ นั ทึก นางสาวอรทัย เต็มสอาด ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 099-1986226 ผู้รบั รองข้อมลู (ผู้นำชุมชน) นายรุ่งโรจน์ บุบผามะตะมัง ตำแหน่ง ผูใ้ หญ่บ้าน เบอร์โทร 084–0160275 หน้าท่ี 13

แหลง่ เรยี นรู้ รา้ นคำโฮมคาเฟ่ บ้านนิยมไทย ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จงั หวัดเลย นางสาวสภุ าวดี นารอ่ ง หนา้ ที่ 14

ประวตั ิความเปน็ มาของแหลง่ เรยี นรู้ ร้านคำโฮมคาเฟ่ บ้านนิยมไทย สำนักงาน กศน.จังหวัดเลย ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนปอแดง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรยี นรู้  ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ 2. ชอื่ แหลง่ เรยี นรู้ ร้านคำโฮมคาเฟ่ 3. ชื่อเจา้ ของแหล่งเรียนรู้ นางสาวสุภาวดี นาร่อง 4. ขอ้ มลู การตดิ ต่อ ทต่ี ั้ง/ท่ีอยู่ (ประกอบด้วย เลขที,่ หมทู่ ี,่ ชื่อหม่บู ้าน, ตำบล, อำเภอ, จงั หวดั ) บ้านเลขท่ี 342 บ้านนยิ มไทย หมทู่ ่ี 13 ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จังหวัดเลย 42240 Facebook: คำโฮมเบเกอรร์ ี่ 5. ประเภทแหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ 6. องคค์ วามรูใ้ นแหล่งเรยี นรู้ - จดุ เดน่ เป็นเบเกอรโ่ี ฮมเมดในท้องถ่ิน - เนือ้ หาสาระ โฮมเมดเบเกอรี่ คือ เบเกอรี่ หรือ ขนมอบต่างๆ ที่เราทำขึ้นด้วยตัวเอง ในบ้านของเราเอง เพื่อให้คนในครอบครัวได้กินขนมสดใหม่และปลอดภัย วัตถุดิบเลือกใช้ทำกินเองต้องเน้นใช้วัตถุดิบคุณภา พดี แนน่ อน และเมื่อมีการทำขายก็อยากใหล้ ูกค้าได้กนิ ของดีมีคุณภาพเหมือนทีเ่ รากิน Homemade Bakery การ รับเขามาขายเราจะรู้ได้อย่างไรว่าเขาใส่อะไรลงไปบ้าง และมีขั้นตอนการทำอย่างไร ใส่สารกันเสียหรือไม่ จึง เป็นเหตุผลท่ีต้องเลือกทำแบบ Homemade เอง ทำด้วยตัวเองส่งให้คนในครอบครัวและคนที่เรารักรวมไปถึง ลูกค้า เพราะรักในการทำขนม จึงทำด้วยใจรัก และอยากให้ลูกค้าได้กินขนม ที่เป็นสไตล์ Homemade ทำ สดใหม่ แตล่ ะครั้งทท่ี ำจะทำในจำนวนทีไ่ ม่มากเกนิ ไป ทำให้ขนมใหม่และสดอยู่เสมอ สูตรขนมทีท่ ำขายจะผ่าน การทดลองจนลงตัวที่สุด และในการทำจะมีการชั่งตวงตามสูตรจึงการนั ตีได้ถึงความอร่อยเหมือนกันทุกคร้งั ท่ี ทำ เลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพเป็นวัตถุดิบที่ใช้ทำเพื่อกินกันเองภายในบ้านเพื่อรสชาติที่ดีและปลอดภัยต่อ สขุ ภาพ ใส่ใจทกุ ขน้ั ตอนการผลติ ไม่ใส่สารกันเสยี แน่นอน 7. มีเนอ้ื หาสาระสอดคล้องกับการจดั การศกึ ษาของ กศน.  กลมุ่ การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ  กลุม่ การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน  กลมุ่ การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ หน้าท่ี 15

กลุม่ อาชีพ  เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคิดสรา้ งสรรค์  อาชีพเฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลุม่ การศึกษาข้ันพื้นฐาน สาระการเรียนรู้  ทักษะการเรียนรู้  ความรูพ้ น้ื ฐาน  การประกอบอาชีพ  ทกั ษะการดำเนินชีวติ  การพัฒนาสงั คมและชุมชน 8. ภาพประกอบ - เจ้าของแหล่งเรียนรู้ - ภาพกิจกรรมเด่นของแหลง่ เรยี นรู้ - คิวอาร์โคด้ ทร่ี ะบพุ ิกัดแหล่งเรียนรู้ ผ้บู ันทกึ นางสาวอรทยั เต็มสอาด ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 099-1986226 ผู้รบั รองขอ้ มลู (ผนู้ ำชมุ ชน) นายแสน พรมเวยี ง ตำแหนง่ ผใู้ หญ่บ้าน เบอรโ์ ทร 086-2282807 หน้าท่ี 16

แหล่งเรยี นรู้ การปลูกกลว้ ยหอมทอง บ้านหว้ ยยาง ตำบลโนนปา่ ซาง อำเภอผาขาว จงั หวัดเลย นายเดวิช บญุ มาตย์ หนา้ ท่ี 17

ประวตั ิความเปน็ มาของแหล่งเรยี นรู้ การปลกู กลว้ ยหอมทอง บ้านห้วยยาง สำนกั งาน กศน.จงั หวัดเลย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนปา่ ซาง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหลง่ เรียนรู้  ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น 2. ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ การปลูกกล้วยหอมทอง บ้านหว้ ยยาง 3. ชอ่ื เจา้ ของแหล่งเรียนรู้ นายเดวิช บุญมาตย์ 4. ข้อมูลการติดต่อ ท่ีตัง้ /ท่ีอยู่ (ประกอบด้วย เลขท่ี, หมทู่ ี่, ชอ่ื หมบู่ ้าน, ตำบล, อำเภอ, จงั หวัด) บา้ นเลขท่ี 178 บา้ นห้วยยาง หมูท่ ่ี 2 ตำบลโนนป่าซาง อำเภอผาขาว จังหวดั เลย 42240 5. ประเภทแหลง่ เรียนรู้ แหลง่ เรียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี งในท้องถ่ิน 6. องคค์ วามรู้ในแหลง่ เรียนรู้ - เนื้อหาสาระ กล้วยหอมทองพื้นที่ 1 ไร่ จำนวน 177 หน่อ จะเก็บเกี่ยวได้ประมาณ 80 - 90% (ขึ้นอยู่กับ การดูแล) รายได้เฉล่ยี /เครือประมาณ 180 - 200 บาท (ในสภาพทกี่ ล้วยสมบูรณแ์ ละไดร้ ับผลเตม็ ท่)ี - การปลูก การเตรียมดินไถ 1 ครั้ง ตากดินแล้วไถพรวน 1- 2 ครั้ง ให้ดินร่วนซุยไม่มีวัชพืช ถา้ มีวัชพชื มากกวา่ รอ้ ยละ 20 ตอ้ งไถพรวนใหมห่ รอื ทำแปลงขนาดกวา้ ง 7 เมตร ปลกู 3 แถว 2 x 1.8 เมตร - การเตรียมและการปลกู 1. ใช้หนอ่ พนั ธุท์ ่ีสมบูรณ์ ปราศจากศตั รูพืช หน่อมคี วามยาว 25–35 ซม. มใี บแคบ 2–3 ใบ 2. วางหนอ่ พันธุ์ท่ีกน้ หลุม 3. กลบดินและกลบดินบริเวณโคนต้นให้แน่น คลุมดินด้วยฟางข้าวหรือหญ้าแห้ง และรดน้ำ ใหช้ ุ่มการดแู ลรักษา - การให้น้ำ ต้องให้น้ำอย่างสม่ำเสมอตลอดฤดูปลูก เมื่อหน้าดินแห้งต้องให้น้ำ(โดยเก็บ ตัวอย่างดินจากผวิ ดนิ ลึก 15 เซนตเิ มตร กำเปน็ กอ้ น ถา้ แบมือแลว้ แตกรว่ งควรให้นำ้ เพม่ิ เติมแกต่ น้ กล้วย) - อ่นื ๆ ตามความสามารถ 7. มีเน้อื หาสาระสอดคล้องกับการจัดการศกึ ษาของ กศน.  กลุ่มการศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะชีวติ  กลุม่ การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน  กลุม่ การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี หนา้ ที่ 18

กลุ่มอาชพี  เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคดิ สรา้ งสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลมุ่ การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สาระการเรียนรู้  ทักษะการเรยี นรู้  ความรู้พน้ื ฐาน  การประกอบอาชีพ  ทักษะการดำเนินชีวิต  การพฒั นาสังคมและชุมชน 8. ภาพประกอบ - เจา้ ของแหล่งเรียนรู้ - ภาพกจิ กรรมเดน่ ของแหลง่ เรยี นรู้ - ภาพเจา้ ของดำเนนิ กจิ กรรมแหลง่ เรียนรู้ - ควิ อาร์โคด้ ทีร่ ะบุพิกดั แหล่งเรยี นรู้ ผู้บันทึก นางสาวนภิ าวรรณ คำประทุม ตำแหนง่ ครู ศรช. เบอร์โทร 099-2907752 ผรู้ ับรองข้อมูล (ผู้นำชุมชน) นายปรีชา คำประทุม ตำแหน่ง ผ้ใู หญบ่ า้ น เบอรโ์ ทร 083-6136407 หน้าที่ 19

แหล่งเรยี นรู้ การทอผา้ ถุงมดั หม่ี บ้านหว้ ยยาง ตำบลโนนปา่ ซาง อำเภอผาขาว จงั หวดั เลย นางอว่ ง สารบี ุตร หนา้ ที่ 20

ประวตั ิความเป็นมาของแหลง่ เรยี นรู้ การทอผ้าถุงมดั หม่ี บา้ นหว้ ยยาง สำนกั งาน กศน.จงั หวัดเลย ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนป่าซาง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรยี นรู้  ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ 2. ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ การทอผา้ ถุงมัดหมี่ บ้านหว้ ยยาง 3. ชอ่ื เจา้ ของแหล่งเรียนรู้ นางอ่วง สารบี ตุ ร 4. ข้อมูลการตดิ ต่อ ทีต่ ้ัง/ที่อยู่ (ประกอบดว้ ย เลขท่ี, หมู่ท,่ี ช่อื หมบู่ า้ น, ตำบล, อำเภอ, จังหวดั ) บา้ นเลขท่ี 78 บา้ นห้วยยาง หมทู่ ี่ 11 ตำบลโนนปา่ ซาง อำเภอผาขาว จังหวดั เลย 42240 5. ประเภทแหลง่ เรียนรู้ แหลง่ เรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งในท้องถนิ่ 6. องคค์ วามรใู้ นแหล่งเรยี นรู้ - จดุ เดน่ เหมาะสำหรับผทู้ ่ีสนใจในงานฝีมือ สามารถหารายได้ - เน้ือหาสาระ ได้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ประชาชนในพืน้ ที่ตำบลโนนป่าซาง สามารถฝึกทักษะเกี่ยวกับ ขั้นตอนและวิธีการผ้าถุงมัดหมี่ ให้กับบุคคลที่สนใจ สามารถนำวิชาความรู้ที่ได้รับเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชนแ์ ละนำไปประกอบอาชีพเสริมเพอื่ ใหเ้ กดิ รายไดใ้ ห้กับตนเองและครอบครัวได้ 7. มีเนือ้ หาสาระสอดคล้องกับการจัดการศกึ ษาของ กศน.  กลมุ่ การศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ  กลมุ่ การศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน  กล่มุ การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ กลุ่มอาชีพ เกษตรกรรม  อตุ สาหกรรม  ความคดิ สรา้ งสรรค์  อาชีพเฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลมุ่ การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน สาระการเรียนรู้  ทกั ษะการเรียนรู้  ความรู้พื้นฐาน  การประกอบอาชีพ  ทกั ษะการดำเนนิ ชวี ิต  การพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าท่ี 21

8. ภาพประกอบ - เจ้าของแหล่งเรียนรู้ - ภาพกิจกรรมเดน่ ของแหลง่ เรยี นรู้ - ภาพเจ้าของดำเนนิ กจิ กรรมแหล่งเรยี นรู้ - คิวอาร์โคด้ ท่รี ะบพุ กิ ดั แหล่งเรยี นรู้ ผู้บนั ทึก นางสาวนภิ าวรรณ คำประทุม ตำแหนง่ ครู ศรช. เบอรโ์ ทร 099-2907752 ผรู้ ับรองขอ้ มลู (ผูน้ ำชมุ ชน) นายบญุ เพง็ สงิ ห์ทยุ ตำแหนง่ ผู้ใหญบ่ ้าน เบอร์โทร 093-0853285 หนา้ ท่ี 22

แหล่งเรยี นรู้ การยอ้ มฝ้ายจากสธี รรมชาติ บา้ นสนั ติภาพพัฒนา ตำบลโนนปา่ ซาง อำเภอผาขาว จังหวัดเลย นางเพญ็ ศรี ประดบั ศรี หนา้ ที่ 23

ประวัตคิ วามเปน็ มาของแหลง่ เรียนรู้ การยอ้ มฝา้ ยจากสธี รรมชาติ บา้ นสันตภิ าพพฒั นา สำนักงาน กศน.จังหวดั เลย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนปา่ ซาง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรียนรู้  ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น 2. ช่ือแหล่งเรยี นรู้ แหลง่ เรียนรู้ การย้อมฝา้ ยจากสธี รรมชาติ บา้ นสันตภิ าพพัฒนา 3. ชือ่ เจา้ ของแหล่งเรียนรู้ นางเพญ็ ศรี ประดบั ศรี 4. ขอ้ มูลการติดต่อ ทีต่ ้ัง/ท่ีอยู่ (ประกอบดว้ ย เลขท่ี, หมทู่ ,ี่ ช่ือหมบู่ า้ น, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด) บา้ นเลขท่ี 53 หมู่ 9 บา้ นสันตภิ าพพฒั นา ตำบลโนนปา่ ซาง อำเภอผาขาว จังหวัดเลย 5. ประเภทแหล่งเรียนรู้ การย้อมฝา้ ยจากสธี รรมชาติ 6. องค์ความรูใ้ นแหลง่ เรียนรู้ - จุดเด่น เป็นฝา้ ยท่ีย้อมจากสธี รรมชาติ ระบายความร้อนได้ดซี ักรีดได้งา่ ยเบานุ่มนวล มีนำ้ หนกั ทิ้งตวั - มาตรฐาน/รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ รางวลั ชนะเลิศที่ 1 การแข่งขันทักษะวชิ าการ 1 คน 1 อาชีพ (กลุ่มภูธานี) - เนือ้ หาสาระ ผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติมีคุณลักษณะพิเศษที่สามารถระบายความร้อนได้ดี และไม่เกิด สารพิษต่อร่างกายเมื่อถูกแสงแดดเนื้อผ้ามีความเบา นุ่มนวล มีน้ำหนักทิ้งตัวเมื่อใช้เป็นอาภรณ์ชุดแต่งกาย ความสวยงามประณตี ของผ้าทอมือยังสอดแทรกดว้ ยภมู ปิ ัญญาของบรรพบุรษุ โดยมีการมัดหม่ีแล้วนำไปย้อมให้ เกิดลวดลาย โดยผสมผสานด้วยเทคนคิ การทอผา้ แบบพื้นบา้ น เชน่ ลายขิด ลายนำ้ ไหล ลายกระจบั น้อย ลาด ขัดพื้นฐานและความชำนาญการย้อมสีธรรมชาติ จึงกลายเป็นผ้าทอมือที่มีความงดงาม มีสีสันลวดลายที่ สวยงาม และมีเอกลกั ษณ์ทโ่ี ดดเดน่ เฉพาะตัว 7. มีเน้ือหาสาระสอดคล้องกับการจัดการศึกษาของ กศน.  กลุ่มการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ  กลุ่มการศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน  กลมุ่ การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี กลมุ่ อาชีพ เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคดิ สร้างสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณิชยกรรมและการบริการ  กลมุ่ การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน สาระการเรยี นรู้  ทกั ษะการเรียนรู้  ความรพู้ ้ืนฐาน  การประกอบอาชีพ  ทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต  การพฒั นาสังคมและชุมชน หนา้ ที่ 24

8. ภาพประกอบ - เจา้ ของแหล่งเรียนรู้ - ภาพกจิ กรรมเดน่ ของแหลง่ เรยี นรู้ - ภาพเจา้ ของดำเนินกจิ กรรมแหลง่ เรยี นรู้ - คิวอารโ์ คด้ ทร่ี ะบุพิกดั แหล่งเรยี นรู้ ผู้บนั ทึก นางขวญั จติ ร ทองดี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 088-3304709 ผรู้ บั รองข้อมลู (ผ้นู ำชมุ ชน) นายสมัย บษุ บก ตำแหนง่ ผใู้ หญ่บา้ น เบอร์โทร 081-2023675 หนา้ ท่ี 25

แหล่งเรียนรู้ การทอผ้าไหมมัดหมี่ บา้ นโนนสวา่ ง ตำบลโนนป่าซาง อำเภอผาขาว จงั หวดั เลย นางอบุ ลรัตน์ มุกขะกัง หนา้ ที่ 26

ประวตั ิความเปน็ มาของแหล่งเรยี นรู้ การทอผา้ ไหมมัดหม่ี บ้านโนนสวา่ ง สำนกั งาน กศน.จงั หวดั เลย ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนปา่ ซาง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรียนรู้  ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน 2. ช่อื แหล่งเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรู้ การทอผ้าไหมมดั หม่ี บ้านโนนสวา่ ง 3. ชื่อเจ้าของแหล่งเรียนรู้ นางอุบลรัตน์ มกุ ขะกงั 4. ขอ้ มูลการติดต่อ ท่ีต้งั /ท่ีอยู่ (ประกอบด้วย เลขที่, หมู่ที,่ ชอื่ หมบู่ า้ น, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด) บา้ นเลขที่ 169 หมู่ 8 บา้ นโนนสวา่ ง ตำบลโนนปา่ ซาง อำเภอผาขาว จงั หวดั เลย 5. ประเภทแหลง่ เรียนรู้ การทอผ้าไหมมัดหมี่ 6. องค์ความรูใ้ นแหลง่ เรียนรู้ - จุดเด่น มีความประณีตงดงาม ใส่แล้วเรียบหรู อ่อนนุ่มใส่สบาย งดงาม มีลวดลายเฉพาะบนแต่ละ ผนื อ่อนโยนตอ่ ผวิ ปกปอ้ งผิวหนงั - เน้อื หาสาระ การทอผ้าไหมมัดหมี่ มีการถ่ายทอดวิชาความรู้เทคนิคต่อจากบรรพบุรุษ การทอผ้าไหมด้วยกี่ โบราณ” เป็นขั้นตอนที่สำคัญก่อนจะได้เห็นผ้าไหมมัดหมี่ที่สวยงาม ซึ่งถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ต้องใช้ฝีมือ ความรู้ ความชำนาญ สมาธิ รวมไปถงึ ความอดทน ผา้ ไหมมัดหมี่ มกี ารทำกันอยา่ งแพรห่ ลาย โดยเฉพาะผา้ ไหม ที่มีความสวยงาม ลวดลายและสีสัน ยังเป็นปัจจัยที่ช่วยสร้างความสวยงามให้มากยิ่งขึ้น การอนุรักษ์ลวดลาย โบราณ และนำมาประยุกต์ใช้ จึงเป็นสงิ่ ทน่ี า่ ส่งเสริมพัฒนาเปน็ อย่างยิ่ง เปน็ งานศิลป์ทม่ี ีคุณค่า สานต่อจากรุ่น สรู่ ่นุ ผา่ นกาลเวลา การพฒั นามาอย่างต่อเนือ่ ง ลายทกุ ลายทท่ี อขน้ึ ลว้ นทอด้วยภมู ิปัญญา ประสบการณ์ และ เรอ่ื งราวตา่ งๆ ที่ลว้ นแตม่ ีความหมาย มีคณุ คา่ มคี วามประณีต 7. มเี นือ้ หาสาระสอดคลอ้ งกบั การจดั การศึกษาของ กศน.  กลุม่ การศึกษาเพือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ  กลมุ่ การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน  กลมุ่ การศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ กลุ่มอาชพี เกษตรกรรม  อตุ สาหกรรม  ความคิดสร้างสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลุม่ การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สาระการเรียนรู้  ทักษะการเรียนรู้  ความรู้พื้นฐาน  การประกอบอาชีพ  ทักษะการดำเนินชีวติ  การพฒั นาสังคมและชุมชน หน้าที่ 27

8. ภาพประกอบ - เจ้าของแหล่งเรียนรู้ - ภาพกจิ กรรมเด่นของแหล่งเรียนรู้ - ภาพเจ้าของดำเนินกิจกรรมแหลง่ เรียนรู้ - คิวอารโ์ คด้ ทรี่ ะบพุ ิกดั แหล่งเรียนรู้ ผ้บู นั ทึก นางขวญั จติ ร ทองดี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 088-3304709 ผู้รบั รองขอ้ มลู (ผนู้ ำชมุ ชน) นายประวทิ ย์ พาลี ตำแหน่ง ผ้ใู หญบ่ ้าน เบอรโ์ ทร 086-8620245 หนา้ ท่ี 28

การจักสานจากไมไ้ ผ่ ด้วยภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ บา้ นโนนป่าซาง ตำบลโนนปา่ ซาง อำเภอผาขาว จังหวัดเลย นายหนกู ล้า กรรณลา หน้าที่ 29

ประวัตคิ วามเปน็ มาของการจกั สานจากไมไ้ ผ่ ดว้ ยภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ บ้านโนนป่าซาง สำนกั งาน กศน.จงั หวดั เลย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโนนป่าซาง กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรียนรู้  ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น 2. ชอ่ื แหลง่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การจกั สานจากไม้ไผ่ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นบา้ นโนนปา่ ซาง 3. ชือ่ เจา้ ของภมู ิปัญญาท้องถนิ่ นายหนกู ล้า กรรณลา 4. ข้อมูลการตดิ ต่อ ท่ีตงั้ /ท่ีอยู่ (ประกอบดว้ ย เลขท่ี, หมทู่ ่,ี ชื่อหมบู่ า้ น, ตำบล, อำเภอ, จงั หวัด) บ้านเลขท่ี 7 หมู่ 1 บา้ นโนนป่าซาง ตำบลโนนป่าซาง อำเภอผาขาว จงั หวัดเลย 42240 5. ประเภทภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาเกย่ี วกับกระประดิษฐก์ รรม การจักสานจากไม้ไผ่ 6. องคค์ วามรู้ในภูมิปัญญาท้องถิ่น - จุดเดน่ เครือ่ งจักสานหลายชนิด มีความงดงาม มีรูปทรง โครงสรา้ งและลวดลายท่ลี งตวั - เน้ือหาสาระ เครื่องจักสานเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่สำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิต เครื่องจักสานจากไม้ไผ่ เป็นตวั อยา่ งหนง่ึ ที่แสดงให้เห็นภมู ิปัญญาอันเฉลียวฉลาดของคนในท้องถิ่น ท่ใี ชภ้ ูมิปัญญาสามารถนำสิ่งท่ีมีอยู่ ในชมุ ชนมาประยกุ ต์ทำเป็นเครอื่ งมือเครอ่ื งใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ซงึ่ มปี ระโยชนใ์ นการดำรงชวี ติ จะเห็นได้ว่าเครื่องจักสานสากไม้ไผ่ มีมานานแล้วและได้มีการพัฒนามาตลอดเวลาโดยอาศัยการ ถา่ ยทอดความรู้จากคนรุ่นหนง่ึ ไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง สะท้อนให้เห็นการเรยี นรู้ ความรู้ท่ีสะสมท่ีสืบทอดกันมาจาก อดตี จนถงึ ปัจจบุ ันหรือที่เรยี กกนั ว่าภมู ิปัญญาท้องถิน่ ดงั นัน้ กระบวนถ่ายทอดความรจู้ ึงมีความสำคัญอย่างยิ่งท่ี ทำภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นนน้ั คงอยู่ตอ่ เนื่องและยง่ั ยนื และดำรงอยู่คสู่ งั คมสืบต่อไป 7. มีเนือ้ หาสาระสอดคลอ้ งกบั การจัดการศึกษาของ กศน.  กลุ่มการศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ  กลุม่ การศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน  กลุ่มการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี กล่มุ อาชีพ เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคิดสรา้ งสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลมุ่ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน สาระการเรยี นรู้  ทกั ษะการเรียนรู้  ความรู้พนื้ ฐาน  การประกอบอาชีพ  ทกั ษะการดำเนนิ ชวี ิต  การพัฒนาสงั คมและชุมชน หนา้ ที่ 30

8. ภาพประกอบ - เจ้าของภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ - ภาพกจิ กรรมเดน่ ของภูมิปัญญาท้องถ่นิ - ภาพเจ้าของดำเนินกจิ กรรมภูมปิ ัญญาท้องถิ่น - ควิ อาร์โคด้ ทรี่ ะบพุ กิ ดั ผบู้ ันทกึ นางขวญั จิตร ทองดี ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เบอรโ์ ทร 088-3304709 ผ้รู บั รองข้อมูล (ผ้นู ำชมุ ชน) นายประวิทย์ พาลี ตำแหน่ง ผใู้ หญบ่ ้าน เบอรโ์ ทร 086-862 หนา้ ท่ี 31

แหลง่ เรยี นรู้ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ บา้ นดงน้อย ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวดั เลย ชุมชนบ้างดงนอ้ ย หนา้ ที่ 32

ประวัติความเป็นมาของแหล่งเรียนรู้ กลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ บา้ นดงน้อย สำนกั งาน กศน.จงั หวดั เลย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลผาขาว กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหลง่ เรียนรู้  ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ 2. ช่ือแหล่งเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรู้ กล่มุ ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลติ บา้ นดงนอ้ ย 3. ช่ือเจา้ ของแหล่งเรยี นรู้ ชุมชนบ้างดงนอ้ ย 4. ข้อมลู การติดต่อ ทต่ี ง้ั /ที่อยู่ (ประกอบดว้ ย เลขที่, หมู่ท่ี, ช่ือหม่บู า้ น, ตำบล, อำเภอ, จงั หวดั ) ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชมุ ชน บา้ นดงนอ้ ย หมูท่ ี่ 4 ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จงั หวัดเลย 42240 5. ประเภทแหลง่ เรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ ศนู ยจ์ ัดการกองทนุ ชมุ ชน(ศนู ยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง) 6. องค์ความร้ใู นแหลง่ เรียนรู้ - มาตรฐาน/รางวัลทไ่ี ด้รบั ไดร้ ับการยกย่องชูเกียรติเป็นศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชมุ ชนดเี ด่นระดบั จงั หวดั ปี 2561 - เนอื้ หาสาระ กลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดงน้อย หมูท่ ี่ 4 ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวดั เลย เร่ิม ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2538 โดยเริ่มจากการรวมตัวกันของแม่บ้าน บ้านดงน้อย แรกเริ่มมีสมาชิก จำนวน 75 คน และมเี งนิ สจั จะสะสมคร้ังแรก จำนวน 1,330 บาท กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต หมายถึง กระบวนการรวมคนไม่จำกัดเพศ วัย ฐานะ ระดับ การศกึ ษา ซง่ึ มแี นวคดิ เหมือนกนั ในการระดมเงนิ ออมเพอ่ื ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิก ท้ัง ทางด้านการประกอบอาชีพ และความเป็นอยู่ในครอบครัว ตรงตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่มออม ทรัพย์ฯ เพ่ือใชเ้ งินพัฒนาคน พัฒนาสงั คม และพฒั นาเศรษฐกจิ 7. มเี นอื้ หาสาระสอดคลอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาของ กศน.  กลุ่มการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ  กลุ่มการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน  กลุ่มการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี กล่มุ อาชีพ  เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคิดสรา้ งสรรค์  อาชีพเฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลุม่ การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน หน้าที่ 33

สาระการเรียนรู้  ทกั ษะการเรียนรู้  ความรพู้ ื้นฐาน  การประกอบอาชีพ  ทักษะการดำเนินชีวิต  การพฒั นาสังคมและชุมชน 8. ภาพประกอบ - เจ้าของแหล่งเรยี นรู้ - ภาพกิจกรรมเด่นของแหล่งเรยี นรู้ - คิวอาร์โค้ดทรี่ ะบพุ กิ ดั แหล่งเรยี นรู้ ผบู้ ันทกึ นางสาวจฬุ าลักษณ์ ทพั ซา้ ย ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เบอรโ์ ทร 088-5377797 ผรู้ ับรองข้อมูล (ผนู้ ำชุมชน) นายพนิ ิจ ชัยชนะ ตำแหน่ง ผู้ใหญบ่ า้ น เบอรโ์ ทร - หนา้ ที่ 34

การทอเสือ่ จากภูมิปญั ญาท้องถน่ิ บ้านผาขาว ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวัดเลย นางไพยพ์ ะนอม ศาลางาม หนา้ ที่ 35

ประวัตคิ วามเปน็ มาของการทอเส่ือ จากภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ บ้านผาขาว สำนกั งาน กศน.จงั หวดั เลย ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลผาขาว กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหลง่ เรียนรู้  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ 2. ชอ่ื ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ การทอเสอื่ จากภมู ิปัญญาท้องถิ่นบา้ นผาขาว 3. ชอ่ื เจา้ ของภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ นางไพย์พะนอม ศาลางาม 4. ข้อมลู การตดิ ต่อ ทต่ี ง้ั /ท่ีอยู่ (ประกอบดว้ ย เลขท่ี, หมูท่ ี,่ ชอื่ หมบู่ ้าน, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด) บา้ นเลขท่ี 107 บา้ นผาขาว หม่ทู ี่ 1 ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวัดเลย 5. ประเภทภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ภมู ปิ ญั ญาเกีย่ วกับกระประดิษฐก์ รรม 6. องค์ความรู้ในภมู ิปัญญาท้องถนิ่ - เนอ้ื หาสาระ การทอเส่ือกก เปน็ ภมู ิปญั ญาของคนในทอ้ งถิ่น ทีน่ ำเอาต้นกกมาแปรสภาพให้เปน็ เส้น ยอ้ มสี แล้วสานทอให้เป็นแผ่นผืน เพื่อนำมาใช้ปูลาดรองนั่งหรือนอน หรือทำธุรกรรมต่างๆ ตลอดจนทำพิธีกรรมทาง ศาสนาและความเชอ่ื 7. มเี นือ้ หาสาระสอดคล้องกับการจัดการศกึ ษาของ กศน.  กล่มุ การศึกษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวติ  กลุ่มการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน  กลมุ่ การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชพี กลุ่มอาชีพ  เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคิดสร้างสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลมุ่ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน สาระการเรียนรู้  ทักษะการเรียนรู้  ความร้พู ้นื ฐาน  การประกอบอาชีพ  ทกั ษะการดำเนนิ ชวี ติ  การพฒั นาสังคมและชมุ ชน หนา้ ท่ี 36

8. ภาพประกอบ - เจา้ ของภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ - ภาพกจิ กรรมเดน่ ของภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ - ภาพเจ้าของดำเนินกจิ กรรมภูมิปัญญาท้องถ่ิน - ควิ อารโ์ ค้ดที่ระบพุ ิกดั ผ้บู ันทึก นางสาวจารณุ ี สีลา ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล เบอรโ์ ทร 095-1873895 ผู้รับรองขอ้ มูล (ผนู้ ำชุมชน) นายยงยทุ ธ ศรบี ตุ รโคตร ตำแหน่ง ผูใ้ หญบ่ า้ น เบอรโ์ ทร 099-6913078 หนา้ ท่ี 37

การสานสวิงตกั ปลา จากภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ บา้ นผาขาว ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวดั เลย นางศรีนวล มูลชมภู หนา้ ที่ 38

ประวัตคิ วามเป็นมาของการสานสวงิ ตกั ปลา จากภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ บ้านผาขาว สำนกั งาน กศน.จังหวัดเลย ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลผาขาว กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหลง่ เรยี นรู้  ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ 2. ชื่อภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น การสานสวงิ ตกั ปลา จากภูมิปัญญาท้องถ่นิ บ้านผาขาว 3. ชือ่ เจา้ ของภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ นางศรนี วล มูลชมภู 4. ขอ้ มลู การติดต่อ ท่ตี ้งั /ที่อยู่ (ประกอบดว้ ย เลขท่ี, หมูท่ ,่ี ช่ือหมูบ่ า้ น, ตำบล, อำเภอ, จงั หวดั ) บา้ นเลขท่ี 97 บ้านผาขาว หมทู่ ี่ 1 ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จงั หวดั เลย 5. ประเภทภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ภมู ิปญั ญาเก่ียวกับกระประดษิ ฐ์กรรม 6. องค์ความรใู้ นภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ - เนือ้ หาสาระ สวิงมใี ชแ้ พร่หลายทัว่ ไปทุกหลงั คาเรือนในพื้นท่ชี นบท แม่บ้านจะเป็นผู้ถักทำข้ึน ใช้เองเมื่อมี เวลาว่างโดยไม่เร่งรบี ทำแต่ประการใด ทำขึ้นเพื่อใชท้ ดแทนสวิงเก่าที่เร่ิมชำรุดหรือต้องการมสี วิงเพิ่มขึ้น โดย จะใช้ไม้ไผ่เหลาเป็นเส้นกลมปลายมนยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พันเชือกไว้กลางเส้นไม้ คลายเชือกออกมา ผูกตรงกลางก่อนเหมือนจอมแหสั้น ๆ แล้วผูกริมออกมา ใช้ปลายไม้งัดสอดดึงผูกเป็นตาถี่ ขยายเป็นรัศมีวง กว้างออกเปน็ รอบ ๆ จากตาแหเลก็ ขยายตาให้ห่างแต่ก็ยงั ถือวา่ เป็นตาถอี่ ยู่ ขณะเดียวกันก็บังคับถักให้เป็นถุงลักษณะเป็นถุงตาข่าย เม่ือเห็นว่าได้ความกว้างและความ ลึกพอที่กำหนดไว้ ตามกงหรือขอบวงกลมที่เตรียมไว้ทำจากกิ่งต้นข่อยลอกเปลือกเหลือเนื้อไม้ดัดเป็นขอบ วงกลม โดยรวมสวิงจะมขี นาดประมาณเสน้ ผ่าศูนยก์ ลางระหวา่ ง 40 – 50 เซนตเิ มตร เม่ือเหน็ ว่าไดข้ นาดตาม กำหนด แล้วจึงใช้เส้นไม้ไผ่ที่เหลาค่อนข้างแบนร้อยผูกตามช่องริมตาข่ายโดยรอบเป็นวงกลม ผูกปลายไม้ ติดกัน นำไปทาบพอดีด้านในเส้นกงหรือขอบนอก ใช้ตะปูดอกเล็ก ๆ ตอกเส้นไม้ไผ่ติดกับกงขอบนอกห่างกนั เป็นระยะ 3 เซนติเมตรโดยรอบ ก็จะได้สวงิ ทสี่ มบูรณ์ 7. มเี น้ือหาสาระสอดคล้องกบั การจดั การศึกษาของ กศน.  กลมุ่ การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวติ  กล่มุ การศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน  กลุ่มการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ หนา้ ที่ 39

กลมุ่ อาชีพ  เกษตรกรรม  อตุ สาหกรรม  ความคดิ สร้างสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลุ่มการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สาระการเรียนรู้  ทกั ษะการเรยี นรู้  ความรพู้ ืน้ ฐาน  การประกอบอาชีพ  ทักษะการดำเนนิ ชีวติ  การพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 8. ภาพประกอบ - เจา้ ของภมู ิปัญญาท้องถิ่น - ภาพกจิ กรรมเดน่ ของภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ - ภาพเจ้าของดำเนินกิจกรรมภมู ิปัญญาท้องถน่ิ - คิวอารโ์ ค้ดทรี่ ะบุพกิ ดั ผบู้ นั ทกึ นางสาวจารุณี สลี า ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล เบอรโ์ ทร 095-1873895 ผรู้ บั รองขอ้ มูล (ผนู้ ำชมุ ชน) นายยงยทุ ธ ศรีบตุ รโคตร ตำแหน่ง ผูใ้ หญบ่ า้ น เบอรโ์ ทร 099-6913078 หน้าที่ 40

การสานมวยน่งึ ขา้ ว จากภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นบา้ นผาขาว ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวดั เลย นายมงคล มูลชมภู หนา้ ที่ 41

ประวตั ิความเปน็ มาของการสานมวยนึง่ ข้าว จากภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นบ้านผาขาว สำนักงาน กศน.จังหวดั เลย ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลผาขาว กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรยี นรู้  ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ 2. ชอื่ ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ การสานมวยนึ่งขา้ ว จากภูมิปญั ญาท้องถิ่นบา้ นผาขาว 3. ชือ่ เจ้าของภมู ิปญั ญาท้องถิ่น นายมงคล มลู ชมภู 4. ขอ้ มลู การติดต่อ ท่ตี ั้ง/ท่ีอยู่ (ประกอบดว้ ย เลขท,ี่ หมทู่ ,่ี ชือ่ หมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ, จังหวดั ) บ้านเลขท่ี 97 บา้ นผาขาว หม่ทู ี่ 1 ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวดั เลย 5. ประเภทภมู ิปัญญาท้องถิ่น ภมู ปิ ญั ญาเกยี่ วกบั กระประดษิ ฐ์กรรม 6. องค์ความรู้ในภูมิปัญญาท้องถนิ่ - เนือ้ หาสาระ เป็นงานหัตถกรรม ที่เกิดจากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษในท้องถิ่นซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยเริ่มตั้งแต่การใช้กระบอกไม้ไผ่ มาทำเป็นข้าวหลามใส่กระบอกไม้ไผ่ ต่อมาจะใช้ไม้เนื้อแข็งนำมาเจาะเป็น โพงจะมีท่ีรองเหมือนถงั ใชห้ มอ้ ดินรองนึ่งใชส้ ำหรบั การนึ่งขา้ ว 7. มีเนอ้ื หาสาระสอดคล้องกบั การจดั การศึกษาของ กศน.  กลมุ่ การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวติ  กลุ่มการศึกษาเพ่อื พฒั นาสังคมและชมุ ชน  กลมุ่ การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี กลุม่ อาชีพ  เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ความคดิ สรา้ งสรรค์  อาชีพเฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลุม่ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สาระการเรยี นรู้  ทกั ษะการเรียนรู้  ความรู้พน้ื ฐาน  การประกอบอาชีพ  ทักษะการดำเนนิ ชวี ติ  การพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หนา้ ท่ี 42

8. ภาพประกอบ - เจา้ ของภมู ิปัญญาท้องถนิ่ - ภาพกิจกรรมเดน่ ของภูมปิ ัญญาท้องถิ่น - ภาพเจ้าของดำเนนิ กิจกรรมภมู ิปัญญาท้องถ่ิน - ควิ อารโ์ ค้ดทร่ี ะบพุ กิ ัด ผู้บันทกึ นางสาวจารณุ ี สลี า ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 095-1873895 ผ้รู ับรองขอ้ มลู (ผนู้ ำชมุ ชน) นายยงยุทธ ศรบี ุตรโคตร ตำแหนง่ ผูใ้ หญ่บ้าน เบอร์โทร 099-6913078 หนา้ ท่ี 43

การสานกระตบิ ขา้ วเหนียว จากภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ บ้านผาขาว ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวัดเลย นายหวาง พมิ ใจ หนา้ ที่ 44

ประวตั คิ วามเป็นมาของการสานกระตบิ ขา้ วเหนียว จากภมู ิปญั ญาท้องถิ่นบา้ นผาขาว สำนักงาน กศน.จังหวดั เลย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลผาขาว กศน.อำเภอผาขาว 1. การสำรวจ  แหล่งเรียนรู้  ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ 2. ชอ่ื ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ การสานกระตบิ ขา้ วเหนียว จากภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นบา้ นผาขาว 3. ชอ่ื เจ้าของภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ นายหวาง พิมใจ 4. ข้อมลู การติดต่อ ทีต่ ั้ง/ที่อยู่ (ประกอบด้วย เลขที,่ หมู่ที่, ชือ่ หมบู่ า้ น, ตำบล, อำเภอ, จงั หวัด) บา้ นเลขที่ 59 บ้านผาขาว หม่ทู ่ี 1 ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว จังหวดั เลย 5. ประเภทภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาเกี่ยวกับกระประดิษฐ์กรรม 6. องคค์ วามรูใ้ นภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น - เน้อื หาสาระ กระติบข้าวสามารถทำได้จากวัสดุหลายอย่าง เช่น ใบจาก ใบตาล ใบลาน เป็นต้น แต่ที่นิยม ใชท้ ำมาก และมีคุณภาพดที ีส่ ุด ต้องทำจากไม้ไผไ่ ม้ไผ่มหี ลายชนิด แต่ละชนิด เหมาะกบั งานแตล่ ะอยา่ ง และไม้ ไผท่ ีน่ ิยมนำมาทำกระตบิ ข้าว คือไม้ไผบ่ ้าน หรอื ไมไ้ ผ่ใหญ่ อายุประมาณ 10 เดอื น ถึง 1 ปี เพราะมีปล้องใหญ่ และปลอ้ งยาว เนอ้ื ไม้เหนียวกำลงั ดี ไมเ่ ปราะงา่ ย 7. มเี นื้อหาสาระสอดคลอ้ งกบั การจัดการศกึ ษาของ กศน.  กลุ่มการศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ติ  กล่มุ การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน  กลมุ่ การศึกษาเพอื่ พฒั นาอาชพี กลุม่ อาชีพ  เกษตรกรรม  อตุ สาหกรรม  ความคิดสร้างสรรค์  อาชพี เฉพาะทาง  พาณชิ ยกรรมและการบริการ  กลุ่มการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สาระการเรียนรู้  ทกั ษะการเรยี นรู้  ความรู้พื้นฐาน  การประกอบอาชีพ  ทักษะการดำเนนิ ชวี ิต  การพฒั นาสังคมและชุมชน หน้าท่ี 45

8. ภาพประกอบ - เจา้ ของภมู ิปญั ญาท้องถิ่น - ภาพกจิ กรรมเดน่ ของภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ - ภาพเจ้าของดำเนินกจิ กรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น - ควิ อาร์โค้ดที่ระบพุ ิกัด 3 ผูบ้ ันทึก นางสาวจารุณี สลี า ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 095-1873895 ผู้รับรองขอ้ มูล (ผนู้ ำชมุ ชน) นายยงยทุ ธ ศรบี ุตรโคตร ตำแหนง่ ผู้ใหญ่บา้ น เบอรโ์ ทร 099-6913078 หนา้ ท่ี 46

แหลง่ เรียนรู้ พิพิธภัณฑ์ทางโบราณคดี วัดโพธช์ิ ยั บ้านผาสวรรค์ ตำบลบา้ นเพ่มิ อำเภอผาขาว จงั หวัดเลย หนา้ ท่ี 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook