Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 03-เล่มที่-3-การเหนี่ยวนำไฟฟ้า

03-เล่มที่-3-การเหนี่ยวนำไฟฟ้า

Published by weerachai11013, 2020-06-15 22:17:36

Description: 03-เล่มที่-3-การเหนี่ยวนำไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

การเหน่ยี วนำไฟฟา้ โรงเรยี นเบดิ พิทยาสรรค์

สารบัญ เรอ่ื ง คำนำ หนา้ สารบัญ คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการสอน ........................................................................................... 1 มาตรฐาน ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวัง จุดประสงค์การเรยี นรู้ ................................................................. 2 แบบทดสอบก่อนเรียน ......................................................................................................................... 3 การเหนยี่ วนำไฟฟา้ ............................................................................................................................. 6 อิเลก็ โตรสโคป........................................................................................................................................ 7 กจิ กรรมการทดลอง .............................................................................................................................. 10 แบบทดสอบหลงั เรียน ......................................................................................................................... 13 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น ................................................................................................................ 16 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน ................................................................................................................. 16 บรรณานกุ รม .................................................................................................................. ..................... 17 ประวัตผิ ู้จัดทำ ...................................................................................................................................... 18

1 คำแนะนำการใชเ้ อกสารประกอบการสอน สาระสำคัญ คำแนะนำสำหรับครู 1. เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาฟสิ ิกส์ 4 รหสั วิชา ว33204 2. แนะนำวิธีใช้เอกสารประกอบการสอนเล่มนใ้ี ห้นักเรยี นเขา้ ใจก่อนนำเข้าสู่บทเรียน 3. แจ้งผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวังกอ่ นสอนเน้ือหาตามบทเรียน 4. คอยให้คำปรึกษาแก่นกั เรียนเม่อื มีปัญหา คำช้แี จงสำหรับนกั เรยี น เอกสารประกอบการสอนเลม่ นี้ สร้างขึน้ เพ่ือใหน้ ักเรยี นได้ศึกษา และไดร้ บั ประโยชน์ จากบทเรยี นตามจุดประสงค์ท่ีตั้งไว้ ด้วยการปฏิบตั ติ ามคำแนะนำต่อไปนี้ 1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนแล้วบันทกึ คะแนนไว้ 2. นกั เรยี นศกึ ษาบทเรียนตามลำดับข้ันตอนที่ครูสอน เม่ือเข้าใจแลว้ ให้ทำแบบฝึกเสรมิ ประสบการณ์ หรือโจทย์คำถาม ห้ามขีดเขยี นขอ้ ความใด ๆ ลงในเอกสารประกอบการสอน 3. เมือ่ ศึกษาบทเรียนจบแลว้ ใหท้ ำแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจคำตอบจากเฉลย แล้วนำผลคะแนนที่ไดไ้ ปเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรยี น 4. ส่งคืนบทเรยี นนี้ตามกำหนดเวลาและตอ้ งรักษาให้อยู่ในสภาพดี และไมส่ ญู หาย

2 สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ไฟฟ้าสถิต เกิดจากการนำวัตถุสองชนิดมาถูกันทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้น การที่วัตถุสองชนิดท่ีนำมา ถูกันแล้วเกิดมีอำนาจดูดของเบาๆ ได้นั้น เรียกว่า วัตถุท้ังสองต่างเกิดมีประจุไฟฟ้าขึ้น เมื่อวัตถุนั้น หมดอำนาจไฟฟา้ แล้ว เรียกว่า วตั ถนุ ้ันเปน็ กลาง มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 4.1 : เข้าใจธรรมชาติของแมเ่ หล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วงและแรงนวิ เคลียร์ มีกระบวนการสบื เสาะหา ความรู้ สือ่ สารส่ิงทเี่ รียนรแู้ ละนำไปใช้ประโยชนอ์ ย่างถูกต้อง ว 5.1 : เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างพลงั งานกบั การดำรงชีวิต การเปลี่ยนรปู พลงั งาน ปฏิสมั พนั ธ์ ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลังงานต่อส่ิงมีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สอ่ื สารส่ิงที่เรียนรแู้ ละนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ ➢ นกั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การทำให้วัตถมุ ีประจุไฟฟ้าโดยการเหน่ียวนำ ตรวจสอบ ประจไุ ฟฟ้าและชนิดของประจุไฟฟา้ ( มฐ. ว 4.1.1 ) จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ➢ นักเรียนสามารถทำกจิ กรรมเพอ่ื ศกึ ษาวิธกี ารทำใหว้ สั ดุมปี ระจไุ ฟฟา้ โดยการเหนีย่ วนำ และอธบิ ายผลท่ีเกดิ ขนึ้ ได้ ➢ นกั เรยี นสามารถบอกวธิ ีการตรวจสอบประจไุ ฟฟา้ ของวตั ถุและชนดิ ของประจุไฟฟา้ โดยใช้ อิเลก็ โตรสโคปได้ สาระการเรยี นรู้ ➢ การเหนี่ยวนำไฟฟ้า ➢ อิเล็กโตรสโคป

3 เรอื่ ง การเหนยี่ วนำไฟฟ้า 1. ข้อสอบชุดน้มี ีจำนวน 10 ข้อ เป็นข้อสอบปรนัยชนดิ 4 ตวั เลอื ก 2. ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบท่ีถกู ต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดยี ว แล้วทำเคร่ืองหมาย (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ขณะท่ีอิเล็กโตรสโคปกำลังกางอยู่ เมื่อนำวตั ถุ A ซึ่งตรวจพบว่ามปี ระจไุ ฟฟา้ ลบเขา้ ใกล้ จานโลหะ เราจะทราบว่าประจไุ ฟฟ้าที่อเิ ล็กโตรสโคปเป็นชนดิ อะไร ได้อยา่ งไร ก. เป็นบวก ถา้ แผ่นโลหะกางมากขน้ึ เปน็ ลบ ถ้ากางเทา่ เดมิ ข. เปน็ บวก ถ้าแผ่นโลหะกางนอ้ ยข้ึน เปน็ ลบ ถ้ากางเทา่ เดมิ ค. เปน็ บวก ถ้าแผน่ โลหะกางมากขึน้ เปน็ ลบ ถา้ กางน้อยลง ง. เป็นบวก ถ้าแผน่ โลหะกางน้อยลง เป็นลบ ถา้ กางมากขึน้ 2. ถ้ามลี กู พิทอยู่ 3 ลูก เมื่อทดลองนำลกู พทิ เข้าใกล้กันทีละคู่จนครบ 3 คู่ ปรากฏวา่ แรงกระทำ ระหวา่ งลกู พทิ ทั้ง 3 คู่ เปน็ แรงดงึ ดูด ข้อสรุปต่อไปนขี้ ้อใดถูกต้องท่สี ุด ก. ลกู พิท 2 ลกู มีประจไุ ฟฟ้าชนดิ ตรงกนั ขา้ มกนั ส่วนลูกทเ่ี หลือไมม่ ีประจุ ข. ลูกพิท 2 ลูกมีประจไุ ฟฟ้าชนิดเดยี วกนั ส่วนลูกท่เี หลอื ไมม่ ีประจุ ค. ลกู พทิ ลกู หนึ่งมีประจุไฟฟา้ สว่ นอกี 2 ลูกไมม่ ี ง. ลกู พิท 3 ลกู ต่างมีประจุไฟฟ้า 3. นำวัตถทุ ่สี งสยั เขา้ ใกล้อเิ ล็กโตรสโคปแบบลกู พิท ถ้าลูกพิทเบนออกจากวตั ถุอาจจะสรุปได้วา่ อยา่ งไร ก. ลกู พทิ มีประจุ วตั ถไุ ม่มีประจุ ข. ลูกพิทไม่มีประจุ วตั ถุมีประจุ ค. ลกู พิทและวตั ถุมปี ระจุตา่ งกัน ง. ลูกพทิ และวัตถุมปี ระจชุ นิดเดยี วกัน 4. วธิ ที ที่ ำใหผ้ วิ ลูกพิทเปน็ ตัวนำ คอื ขอ้ ใด ก. ใชพ้ ลาสติกใสหนาๆ หุ้ม ข. คลกุ กบั ผงกำมะถัน ค. ใช้โลหะหุ้ม ง. ขอ้ ก และ ข ถกู

4 5. เมอื่ นำแผน่ พีวีซีทีม่ ีประจุไฟฟ้าลบ เข้าใกลล้ ูกพิทของอเิ ลก็ โตรสโคป ปรากฏวา่ ลูกพิทเคลอ่ื นท่ี เข้าหาแผ่นพวี ซี ี แสดงว่าลกู พทิ มปี ระจชุ นดิ ใด ก. เปน็ กลาง ข. ประจุบวกเท่าน้ัน ค. มีประจุลบเทา่ นัน้ ง. อาจมีประจุหรือไมป่ ระจุก็ได้ 6. จากรูป ถา้ แยก A และ B ออกจากกัน แล้วนำ C ออกไป ผลท่ีได้คือข้อใด ก. ทั้ง A และ B จะไม่มีประจุ ข. A จะมปี ระจบุ วก B จะมปี ระจุลบ ค. A จะมีประจลุ บ B จะมีประจุบวก ง. A จะมีประจุบวก B มจี ะประจุบวก 7. ตามรปู A มีประจุบวกอิสระ B และ C เป็นกลางวางติดกัน นำ A เข้าใกล้ B และ C เป็นระยะเวลา หน่ึง แล้วแยก B กับ C ออกจากกัน แล้วนำ A ออกไป ผลทีไ่ ด้จะเป็นอย่างไร ก. B มปี ระจไุ ฟฟ้าบวก C มีประจไุ ฟฟา้ ลบ ข. B มีประจไุ ฟฟา้ ลบ C มีประจุไฟฟ้าบวก ค. B และ C มปี ระจุไฟฟา้ ลบทัง้ คู่ ง. B และ C ไม่มีประจไุ ฟฟา้ 8. ในการทดลองการเหนยี่ วนำประจไุ ฟฟ้า โดยใชอ้ ิเลก็ โตรสโคป แผ่นโลหะและแผน่ ตัวนำโดยในตอนแรก อิเล็กโตรสโคปมปี ระจุไฟฟ้าเป็นบวก แผน่ ตัวนำเปน็ กลางทางไฟฟ้า เม่ือเด็กนักเรียนคนหนงึ่ ถอื แผ่นตวั นำ ปลายข้างหนงึ่ ค่อยๆ สอดปลายอกี ข้างหน่งึ เข้ามาใกล้ๆ กับอิเลก็ โตรสโคป ผลทีเ่ กิดข้นึ จะเปน็ ดงั นี้ ก. จะมปี ระจุไฟฟ้าลบอยูท่ ่ปี ลายของแผ่นตัวนำดว้ ยขนาดเท่ากับ ประจไุ ฟฟา้ บวกบนอเิ ล็กโตรสโคป ข. แผน่ โลหะจะกางออกเหมือนเดมิ และจะหบุ สนิทเม่ือแผ่น ตวั นำแตะกบั แผน่ โลหะ ค. แผน่ โลหะจะค่อยๆ หบุ ลงเม่ือแผน่ ตวั นำเขา้ มาใกล้มากข้ึน ง. แผ่นโลหะจะหุบสนิททันที 9. ขณะที่อิเล็กโตรสโคปกำลังกางอยู่ เม่ือนำวัตถุ A ซง่ึ ตรวจพบวา่ มปี ระจุไฟฟา้ บวกเข้าใกล้ จานโลหะ เราจะทราบวา่ ประจไุ ฟฟ้าทีอ่ เิ ล็กโตรสโคปเปน็ ชนิดอะไร ได้อย่างไร ก. เป็นบวก ถ้ากางน้อยลง เป็นลบ ถ้ากางมากข้นึ ข. เปน็ บวก ถา้ กางน้อยขึ้น เปน็ ลบ ถ้ากางเท่าเดิม ค. เปน็ บวก ถ้ากางมากขึน้ เปน็ ลบ ถา้ กางนอ้ ยลง ง. เปน็ บวก ถา้ แผ่นโลหะกางมากขึน้ เปน็ ลบ ถ้ากางเทา่ เดมิ

5 10. การทำใหว้ ตั ถุมปี ระจุไฟฟา้ โดยวิธีใด ที่ยงั คงเหลอื ไฟฟา้ เปน็ ปรมิ าณเทา่ เดิม และสามารถนำกลบั มาใช้ ใหมไ่ ด้อกี ก. การถูกัน ข. การแตะกนั ค. การเหน่ยี วนำ ง. การเคล่อื นยา้ ยประจุไฟฟ้า

6 วัตถุใดๆก็ตาม เม่ือปรากฏมีประจุไฟฟ้าข้ึนแล้ว ประจุไฟฟ้าท่ีมีปรากฏอยู่น้ันจะส่งอำนาจไฟฟ้า ออกไปเป็นบริเวณโดยรอบ เรยี กว่า \"สนามไฟฟ้า\" ถ้านำวัตถุอ่ืนซึ่งเปน็ กลางเข้ามาในสนามไฟฟ้าน้ี วตั ถุ ที่ นำเข้ามานั้นจะแสดงอำนาจไฟฟ้าได้ และจะปรากฏมีประจุไฟฟ้าบวกและลบเกิดขึ้นพร้อมกันบนผิวของวัตถุ น้ัน การท่ีวัตถุซึ่งมีประจุไฟฟ้าส่งอำนาจไฟฟ้าออกไป เป็นผลให้วัตถุอ่ืนท่ีเป็นกลางเกิดมีประจุไฟฟ้าขึ้นบนผิว ของวัตถุได้ เราเรียกว่า การเหน่ียวนำไฟฟ้า และเรียกประจุไฟฟา้ ทเ่ี กิดข้นึ โดยวธิ ีการเช่นนี้ว่า ประจุไฟฟ้า เหนี่ยวนำ (Induced Charge) ซึ่งจะเกิดข้ึนพร้อมกันท้ังชนิดบวกและชนิดลบ จะมีจำนวนประจุเท่ากัน ประจุไฟฟ้าเหนยี่ วนำท่ีเกิดทางด้านใกลก้ ับประจุไฟฟ้าที่นำมาล่อ จะเป็นประจไุ ฟฟ้าตา่ งชนิดกันกับประจุไฟฟ้า ที่นำมาลอ่ เสมอ วัตถุท่ีมปี ระจุไฟฟา้ จะเหนยี่ วนำให้วตั ถทุ เ่ี ป็นกลางเกิดอำนาจไฟฟ้าได้ เมื่อนำมาใกล้กัน A มีประจุไฟฟ้าบวก นำมาใกล้ BC ซ่ึงเป็นกลาง อิเล็กตรอนในวัตถุ BC จะมาออท่ีปลาย B เนื่องจากถูก A ดูด ปลาย B จึงเป็นประจุไฟฟ้าลบ ปลาย C เกิดประจุไฟฟ้าบวก เหตุการณ์เหล่าน้ี เกดิ ชวั่ คราว ถ้าเอา A ออก อิเล็กตรอนที่ B จะเคลือ่ นทกี่ ลับสู่ท่ีเดมิ BC จงึ เป็นกลางเหมือนเดิม A มีประจุไฟฟ้าลบ อิเล็กตรอนทางด้าน B ถูกผลกั ใหเ้ คลื่อนย้ายไปอยู่ทางด้าน C ทำให้ด้าน B เกิด ประจุฟ้าบวก และ C เกดิ ประจุไฟฟ้าลบ แตป่ ระจุไฟฟ้าน้ีไม่อิสระเพราะเมอ่ื เอา A ออกไป BC จะเป็นกลาง เหมอื นเดิม จะเห็นวา่ การเหน่ยี วนำจะเกดิ ประจไุ ฟฟ้าชนดิ ตรงข้าม ท่ีปลายซง่ึ อยใู่ กล้กบั ประจทุ ี่นำมาลอ่ เสมอจึง ทำให้เกิดแรงดึงดดู วตั ถุทเี่ ปน็ กลางอยา่ งเดียวเท่าน้นั ไมม่ ีการผลัก การทำใหเ้ กิดประจอุ สิ ระบนตวั นำด้วยการเหนยี่ วนำ (Bound Charge) 1. การทำวิธีนี้ วตั ถทุ ีไ่ ดร้ บั การเหนีย่ วนำ จะมีประจุตรงข้ามกบั วัตถทุ ีน่ ำมาเหนยี่ วนำเสมอ 2. วัตถทุ เี่ หนีย่ วนำ จะไม่สูญเสยี ประจุ

7 ก) ถา้ A เป็นประจไุ ฟฟา้ บวก ถกู นำไปใกล้วัตถตุ วั นำ BC ซงึ่ เปน็ กลาง อิเล็กตรอน จะมาที่ ปลาย B (ดังรปู ) ทำใหป้ ลาย C เปน็ ประจุไฟฟ้าบวก เอานว้ิ แตะทป่ี ลาย C ทำให้สะเทือนเเลว้ เอานว้ิ ออก ( ขณะที่ A ยงั เหนีย่ วอยู่) ตอ่ มาเอา A ออก ประจุไฟฟ้าลบกระจายออกทั่ว BC ทำให้ตวั นำ BC เปน็ ลบ ซึง่ เรียกวา่ BOUND CHARGE ข) ในทำนองเดียวกัน ถ้าปลาย A เป็นประจุไฟฟ้าลบ ย่อมทำให้ BC เป็นบวก ให้สังเกตว่า อิเลก็ ตรอนเป็นตัวเคล่ือนที่เสมอ ดงั น้ันเวลาท่ีเราเอานิ้วแตะหรือต่อลงดิน อิเล็กตรอนจากปลาย C จะลงดิน หรอื ไหลจากดินขึน้ มา ทำใหป้ ลาย C เป็นกลาง ขอ้ สังเกต 1. ปกติเราถอื วา่ โลกอยู่ในสถานะเป็นกลางทางไฟฟา้ ประกอบกับขนาดของโลกใหญ่มาก เม่ือ เทียบกบั ขนาดของสงิ่ ต่าง ๆ บนพ้นื โลก ดงั นน้ั การทคี่ นจะถ่ายเทประจุไฟฟ้าให้กับโลก หรือถ่ายเทประจุ ไฟฟา้ ออกจากโลก จะไมม่ ีผลต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าของโลกแตอ่ ยา่ งใด เพราะปรมิ าณ ประจไุ ฟฟ้าทีถ่ า่ ยเทนั้นมีค่าน้อยมากเม่ือเทียบกบั ปรมิ าณประจไุ ฟฟ้าท้ังหมดท่ีโลกมอี ยู่ 2. ในกรณที ใ่ี ชน้ ว้ิ แตะกเ็ ช่นกัน จำนวนประจไุ ฟฟา้ ท่ีถา่ ยเทเข้าออกปลายน้วิ น้อยมาก เมอื่ เทยี บกับ จำนวนประจุไฟฟ้าทัง้ หมดในรา่ งกายของเรา อิเลก็ โตรสโคป เปน็ เคร่ืองมือสำหรบั ตรวจไฟฟา้ สถิต ท่ีควรทราบมี 2 ชนดิ คือ 1. อิเล็กโตรสโคปแบบพิทบอล (Pith Eolectrocope) อิเล็กโตรสโคปแบบน้ีเป็นอิเล็กโตรสโคป แบบง่ายที่สุด ประกอบด้วยลูกกลมเล็กที่ทำด้วยไส้ไม้สน หรือไส้หญ้าปล้องซึ่งมีน้ำหนักเบามาก ตัวลูกกลม แขวนดว้ ยเชือกด้าย หรอื ไหมเส้นเล็กๆ จากปลายเสาทตี่ ้งั บนแท่นฉนวนไฟฟา้ ดังรูป ก) เม่ือต้องการตรวจวัตถใุ ดมปี ระจไุ ฟฟา้ หรือไม่ ก็ปฏบิ ตั ดิ ังน้ี ใช้น้ิวคลึงลูกกลมให้ท่ัว แน่ใจว่า ลูกกลมเป็นกลางจริงๆ จากนี้นำวัตถุ ท่ตี อ้ งการตรวจว่ามปี ระจไุ ฟฟา้ หรือไม่เข้ามา ใกลๆ้ ลูกกลมนั้น หากปรากฏว่าลกู กลมเคลอื่ นท่ีโดยถูกดูดเขา้ หาวตั ถุนน้ั และเมื่อลูกกลม ถูกดูดเข้าจนสัมผัสกับผิววัตถุน้ันแล้ว ลูกกลมเคลื่อนท่ีดีดหนีออกห่าง จากวัตถุน้นั ซึง่ เมือ่ ลูกกลมดีดห่างออกแล้ว จะนำวตั ถุนน้ั มาลอ่ ใกลเ้ พยี งใดลูกกลมจะเคลอ่ื นหนีห่างโดยตลอด เมื่อปรากฏ เช่นน้ี ก็แสดงว่า วัตถุที่นำมาทดลองนั้นมีประจุไฟฟ้า ถ้าปรากฏว่าเมื่อนำวัตถุที่ต้องการ ตรวจสอบเข้าใกล้ลกู กลมน้ันแล้วลกู กลม ไมเ่ คลอ่ื นท่เี ลย ก็แสดงวา่ วตั ถุนน้ั เปน็ กลางไม่มีประจุไฟฟา้

8 ข) เม่ือต้องการใช้อิเล็กโตรสโคปน้ีตรวจชนิดประจุให้ปฏิบัติดังนี้ ขั้นแรก ทำการให้ประจุไฟฟ้า ที่ทราบชนิดแล้วแก่ลูกกลมเสียก่อน ขั้นต่อไปจึงนำวัตถุท่ีมีประจุไฟฟ้าซ่ึงต้องการตรวจชนิดประจุนั้นมาใกล้ ลูกกลม หากปรากฏว่าเกิดแรงผลักโดยลูกกลมเคลอ่ื นท่ีหนีห่างวัตถุ ก็แสดงว่าประจุไฟฟ้าบนวัตถนุ ้ันเป็นชนิด เดียวกนั กับประจไุ ฟฟ้าบนลูกกลม แตถ่ ้าปรากฏวา่ เกดิ แรงดดู คอื ลูกกลมเคล่อื นที่เข้าหาวัตถนุ น้ั ก็แสดงว่า ประจุไฟฟ้าบนวัตถุนั้นเป็นประจุต่างชนิดกันกับประจุไฟฟ้าบนลูกกลม เม่ือเราทราบชนิดประจุไฟฟ้าบน ลูกกลมอยแู่ ลว้ จงึ สามารถบอกได้วา่ ประจไุ ฟฟา้ บนวตั ถนุ น้ั เป็นชนดิ ใด 2. อิเล็กโตรสโคปแบบแผ่นทองคำเปลว (Gold leaf Electroscope) อิเล็กโตรสโคปแบบนี้ ประกอบด้วยแผน่ ทองคำเปลวหรือแผ่นอะลูมิเนียมบางๆ สองแผ่น ติดห้อยประกบกัน ทป่ี ลายแท่งโลหะ AB ปลายบนของแทง่ โลหะน้ีเช่อื มตดิ กับจานโลหะ D ตัวแทง่ โลหะสอดติดแนน่ อยใู่ นฉนวนไฟฟา้ ท่อนหน่ึง (ระบาย ทึบในรูป) ซ่ึงอาจเป็นแท่งอิโบไนต์ก็ได้ ตัวท่อนฉนวนเสียบแน่นติดอยู่กับปลั๊กยาง P ซึ่งสอดแนบสนิทกับฝ่า บนของกล่องโลหะ C ด้านหน้าและด้านหลังของกล่องโลหะจะตัดออกและกรุไว้ด้วยแผ่นกระจก เพ่ือให้ มองเห็นแผน่ ทองคำเปลวได้สะดวก เน่ืองจากตวั กล่องเป็นโลหะ และวางอยู่บนพื้น ก็เท่ากับถกู เอริ ์ทอย่ตู ลอดเวลา ศกั ยไ์ ฟฟา้ ของตัวกล่องโลหะ จึงเปน็ ศนู ย์เท่ากบั ศักยไ์ ฟฟ้าของโลกอยเู่ สมอ แผน่ ทองคำเปลว ทง้ั สองจะกางออกจากกนั ได้ เพราะเกิดความตา่ งศักยร์ ะหว่าง แผน่ ทองคำกับกล่องโลหะ เมื่อนำอเิ ลก็ โตรสโคปต้งั บนพืน้ โต๊ะ ตวั กล่องโลหะถูกเอริ ์ทยอ่ มมศี ักย์ไฟฟ้าเป็นศนู ย์เทา่ กบั ศักยไ์ ฟฟา้ ของโลกอยู่ตลอดเวลา เม่ือใหป้ ระจุไฟฟ้าแก่จานโลหะแผ่นทองคำเปลวทั้งสอง และทั้งสามสิ่งนี้จะมีศกั ย์ไฟฟ้า เท่ากันโดยตลอด ขณะน้ีจะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างแผ่นทองคำเปลวกับกระป๋องโลหะทันที แผน่ ทองคำเปลวจะกางออกจากกนั (ดังรูป ก.) ส่วนรปู ข. แสดง การให้ประจุไฟฟา้ ลบอิสระแก่จานโลหะ ดังนั้น แผน่ ทองคำเปลว จึงปรากฏมีประจุไฟฟา้ ลบจงึ ยอ่ มมีศกั ย์ไฟฟา้ ลบ ส่วนผิวในของกลอ่ ง โลหะ มีประจไุ ฟฟ้าเหนย่ี วนำชนิดบวก แต่ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ จงึ เกิดความต่างศักยร์ ะหว่างแผน่ ทองคำเปลวกับกล่องโลหะ แผน่ ทองคำเปลวจงึ อา้ ออก การนำอิเลก็ โตรสโคปแบบแผน่ ทองคำเปลวไปใช้ประโยชน์ ในการศึกษาไฟฟา้ สถติ เบื้องต้น เรานำอิเลก็ โตรสโคปแบบแผน่ ทองคำเปลวไปใช้ประโยชนแ์ สดง ความจริงทางไฟฟา้ สถิตได้มากมายหลายประการ ดังนี้ 1. ตรวจวา่ วัตถมุ ปี ระจไุ ฟฟา้ หรอื ไม่ 2. ตรวจชนดิ ของประจุไฟฟ้า 3. ตรวจวา่ วตั ถุเปน็ ตัวนำไฟฟ้าหรอื ฉนวนไฟฟ้า โดยทง้ั 3 ประการทีก่ ล่าวถงึ จะปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1) ตรวจวา่ วัตถมุ ีประจุไฟฟ้าหรอื ไม่ ทำได้โดยวางอิเล็กโตรสโคปลงบนพื้นโต๊ะ เพื่อให้กล่องโลหะ ถูกเอิร์ท ใช้นิ้วแตะจานโลหะเพื่อให้จานโลหะ ก้านโลหะและแผ่นทองเปลว เป็นกลางจริงๆ ในการนี้แผ่น ทองเปลวจะหุบจากน้ันนำวัตถุที่จะตรวจเข้ามาล่อใกล้ๆ จานโลหะ ถ้าปรากฏแผ่นทองคำเปลวหุบอยู่อย่าง

9 เดิม แสดงว่าวัตถุที่นำมาทดลองน้ันเป็นกลางไม่มีประจุไฟฟ้า แต่ถ้าปรากฏว่าแผ่นทองคำเปลวกางอ้าออก กแ็ สดงวา่ วัตถุนั้นมีประจุไฟฟา้ 2) ตรวจชนดิ ของประจุไฟฟา้ ทำไดโ้ ดยการให้ประจอุ สิ ระทท่ี ราบชนดิ แล้วแกจ่ านโลหะของ อเิ ล็กโตรสโคปเสียกอ่ น แผน่ ทองคำเปลวย่อมจะกางออก จากนัน้ จึงนำวตั ถุที่มปี ระจุไฟฟ้าแลว้ เข้ามาลอ่ ใกล้ จานโลหะ (ก) ถา้ ปรากฏว่าแผน่ ทองคำเปลวกางออกมากขึน้ แสดงวา่ ประจุไฟฟ้าบนวตั ถุนน้ั เปน็ ประจุ ไฟฟ้าชนดิ เดียวกันกบั ประจุไฟฟา้ ทีม่ ีอยูบ่ นจานโลหะของอิเลก็ โตรสโคป ในกรณนี ้ีถา้ ยิ่งเลื่อนวตั ถุเขา้ ใกลจ้ าน โลหะเข้าไปอกี แผ่นทองคำเปลวจะกางออกมากข้นึ อีก (ข) ถา้ ปรากฏวา่ แผน่ ทองคำเปลวกลบั กางน้อยลงคือเกือบหุบ แสดงวา่ ประจุไฟฟา้ บนวตั ถุน้ัน เป็นประจุต่างชนิดกับประจุไฟฟ้าที่มบี นจานโลหะ สำหรับกรณนี ถ้ี ้าหากนำวตั ถุนั้นเข้าใกล้จานโลหะเขา้ ไปอีก แผน่ ทองคำเปลวจะหบุ ลงอีกจนในที่สดุ จะหุบสนทิ และถ้าเล่ือนวัตถนุ ั้นเข้าใกล้อกี คราวน้ีแผน่ ทองเปลว จะเริ่มกางออกได้อกี 3) ตรวจว่าวัตถหุ นึง่ เป็นตัวนำหรอื ฉนวนไฟฟา้ ทำได้โดยให้ประจไุ ฟฟ้าอสิ ระแก่จานอิเล็กโตรสโคป เสียก่อน จะเป็นประจุไฟฟ้าชนดิ ใดก็ได้ แผน่ ทองเปลวจะกางอ้าออก จากนั้นถือวัตถุที่ตอ้ งการจะตรวจมาแตะ ท่ีจานโลหะ (ขณะนวี้ ัตถเุ อิรท์ อยูเ่ พราะเราถือไว้) (ก) ถา้ ปรากฏว่าแผ่นทองหุบสนิทแสดงว่าวัตถุน้ันเป็นตัวนำไฟฟ้า เพราะประจไุ ฟฟ้าเคล่ือนที่ ระหว่างแผ่นทองคำเปลวกับผิวโลกโดยผ่านวัตถุตัวนำและมือ จนท่ีสุดแผ่นทองคำเปลวมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ เท่ากับศักย์ของโลก ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทองคำเปลวและตัวกล่องโลหะจึงไม่มี แผ่นทองคำเปลวจึงหุบ สนิท (ข) ถา้ ปรากฏว่าแผ่นทองคำเปลวกางอยู่อย่างเดมิ ก็แสดงว่าวัตถทุ น่ี ำมาทดลองน้ีเป็นฉนวน ไฟฟา้ การทแ่ี ผน่ ทองคำเปลวยงั คงกางอยู่ได้ก็เพราะว่าไม่มีการเคลือ่ นที่ของประจไุ ฟฟา้ ระหวา่ งแผน่ ทองคำ เปลวกบั ผิวโลก เนอ่ื งจากประจุไฟฟ้าเคลอื่ นทผี่ ่านฉนวนไฟฟา้ ไม่ได้ ความตา่ งศกั ย์ระหวา่ งแผ่นทองคำเปลว กบั ตวั กล่องโลหะจึงยงั คงมอี ยู่ แผน่ ทองคำเปลวจึงยังกางอยู่ได้

10 คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นทำการทดลองตามวธิ กี ารทดลดองต่อไปน้ี พร้อมท้ังบันทึกผลการทดลอง และสรปุ ผล การทดลองใหส้ มบรู ณ์ วัสดุอุปกรณ์ รายการ จำนวนตอ่ กลุม่ 1. แผ่นเปอร์สเปกซ์ 1 แผน่ 2. ผา้ สกั หลาด 1 ผนื 3. อิเล็กโทรสโคปแผ่นโลหะ 1 ชุด วธิ ที ดลอง นำแผ่นเปอร์สเปกซ์ท่ีมีประจุเข้าใกล้จานโลหะ แล้วดึงออกห่าง สังเกตการกางของแผ่นโลหะบาง ต่อไปนำแผ่นเปอร์สเปกซ์ท่ีมีประจุเข้าใกล้ด้านหนึ่งของจานโลหะอีก แล้วใช้น้ิวแตะจานโลหะที่ด้านตรงข้าม แล้วยกนิ้วออก หลงั จากน้ันนำแผ่นเปอรส์ เปกซ์ออกหา่ งจากจานโลหะ สังเกตการกางของแผน่ โลหะบาง การ ทดลองนี้อาจใช้สายไฟที่ปลายหนึ่งต่อโยงกับตัวนำท่ีฝังใต้พื้นดินช้ืน ๆ แล้วนำอีกปลายหน่ึงมาแตะกับจาน โลหะแทนการใช้นวิ้ กไ็ ด้

11 ใบรายงานผลการทดลอง เรอื่ ง การเหนย่ี วนำไฟฟ้า ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ การทดลอง เรอ่ื ง การให้ประจุไฟฟ้าโดยการเหน่ยี วนำพร้อมกบั ต่อสายดนิ จดุ ประสงค์ .......................................................................................................................................................... ............................................................................................... ....................................................................... ....... ปญั หา………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมมุตฐิ าน…………………………………………………………………..………………………………………………………………………. วิธีการทดลอง....................................................................................................................................................... ............................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................... .............................................................................. .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................... .............................................................................. ผลการทดลอง ............................................................................................... .............................................................................. .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................... .............................................................................. สรปุ ผลการทดลอง ............................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................... .............................................................................. สมาชกิ กลมุ่ 1.ชือ่ ..........................................นามสกลุ ....................................ช้ัน............เลขท…ี่ … 2.ชือ่ ..........................................นามสกุล....................................ชน้ั ............เลขท…ี่ … 3.ช่ือ..........................................นามสกลุ ....................................ชน้ั ............เลขท…่ี … 4.ชือ่ ..........................................นามสกุล....................................ช้ัน............เลขท…ี่ … 5.ชอ่ื ..........................................นามสกลุ ....................................ชั้น............เลขท…่ี …

12 แนวการตอบใบรายงานผลการทดลอง เร่ือง การเหนีย่ วนำไฟฟ้า -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การทดลอง เรื่อง การใหป้ ระจุไฟฟา้ โดยการเหน่ยี วนำพรอ้ มกบั ต่อสายดนิ จุดประสงค์ เพื่อศึกษาวธิ กี ารทำให้วตั ถุมีประจโุ ดยการเหนี่ยวนำ ปัญหา เราสามารถทำให้ตวั นำทีเ่ ปน็ กลางทางไฟฟ้ามีประจโุ ดยการเหนย่ี วนำไดห้ รอื ไม่ สมมุติฐาน เราสามารถทำให้ตัวนำทีเ่ ป็นกลางทางไฟฟ้ามีประจุโดยการเหนีย่ วนำ วธิ กี ารทดลอง นำแผ่นเปอร์สเปกซ์ที่มีประจุเข้าใกล้จานโลหะ แล้วดึงออกห่าง สังเกตการกางของแผ่นโลหะบาง ต่อไปนำแผ่นเปอร์สเปกซ์ท่ีมีประจุเข้าใกล้ด้านหน่ึงของจานโลหะอีก แล้วใช้น้ิวแตะจานโลหะท่ีด้านตรงข้าม แล้วยกน้วิ ออก หลังจากน้ันนำแผ่นเปอร์สเปกซ์ออกห่างจากจานโลหะ สังเกตการกางของแผน่ โลหะบาง การ ทดลองน้ีอาจใช้สายไฟที่ปลายหน่ึงต่อโยงกับตัวนำท่ีฝังใต้พื้นดินช้ืน ๆ แล้วนำอีกปลายหน่ึงมาแตะกับจาน โลหะแทนการใช้น้วิ ก็ได้ ตวั อย่างผลการทดลอง 1. เมอื่ นำแผน่ เปอรส์ เปกซ์ท่ีมีประจุไฟฟ้าเข้าใกล้จานโลหะ แผ่นโลหะบางกางออก และเมื่อดึง ออก แผน่ โลหะบางจะหุบเข้า 2. เมื่อนำแผ่นเปอร์สเปกซ์ที่มีประจไุ ฟฟ้าเข้าใกลจ้ านโลหะ แผน่ โลหะบางกางออก และเมื่อใช้น้ิว แตะจานบนของอิเลก็ โทรสโคปแผน่ โลหะบางจะหบุ เข้า เม่ือยกนว้ิ ออกโดยแผ่นเปอร์สเปกซ์ยงั อยู่ทเ่ี ดิม แผน่ โลหะของอิเล็กโทรสโคปยังหุบอยู่เชน่ เดิม หลงั จากนั้นดงี แผ่นเปอร์สเปกซ์ออก แผ่นโลหะบางจะกางออกอีก ครั้ง 3. เมอื่ ใช้สายไฟแทนการใช้มือจับ จะไดผ้ ลเชน่ เดยี วกนั สรุปผลการทดลอง 1. การทำใหอ้ ิเล็กโทรสโคปมปี ระจุไฟฟา้ โดยการเหน่ยี วนำน้นั จะใช้การเหนี่ยวนำอย่างเดยี วไม่ได้ ตอ้ งมีการเหนย่ี วนำพร้อมท้ังใช้นว้ิ แตะหรือต่อสายไฟกบั พ้ืนดนิ 2. การทำให้วตั ถมุ ีประจุไฟฟ้าดงั กลา่ วในข้อ 1 นั้น สมมติว่าถา้ นำประจุบวกเข้าใกลจ้ านโลหะของ อิเล็กโทรสโคป จะทำให้อิเล็กโทรสโคปมปี ระจุไฟฟ้าได้

13 เรอ่ื ง การเหน่ียวนำไฟฟ้า 1. ข้อสอบชุดนม้ี ีจำนวน 10 ขอ้ เปน็ ขอ้ สอบปรนัยชนดิ 4 ตัวเลอื ก 2. ให้นักเรียนเลอื กคำตอบท่ีถูกต้องทสี่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว แล้วทำเครอื่ งหมาย (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. เมอ่ื นำแผน่ พวี ีซีที่มีประจุไฟฟ้าลบ เข้าใกล้ลูกพิทของอิเลก็ โตรสโคป ปรากฏวา่ ลกู พิทเคล่อื นท่ี เข้าหาแผ่นพีวซี ี แสดงว่าลูกพิทมีประจชุ นดิ ใด ก. เปน็ กลาง ข. ประจุบวกเท่านนั้ ค. มปี ระจุลบเท่าน้นั ง. อาจมปี ระจหุ รือไมป่ ระจุกไ็ ด้ 2. จากรปู ถา้ แยก A และ B ออกจากกนั แลว้ นำ C ออกไป ผลทีไ่ ดค้ ือข้อใด ก. ทง้ั A และ B จะไม่มปี ระจุ ข. A จะมปี ระจุบวก B จะมีประจลุ บ ค. A จะมีประจลุ บ B จะมปี ระจบุ วก ง. A จะมีประจุบวก B มจี ะประจบุ วก 3. ตามรปู A มีประจบุ วกอิสระ B และ C เปน็ กลางวางติดกัน นำ A เข้าใกล้ B และ C เปน็ ระยะเวลา หนึ่ง แล้วแยก B กับ C ออกจากกัน แลว้ นำ A ออกไป ผลทไ่ี ดจ้ ะเปน็ อย่างไร ก. B มปี ระจุไฟฟ้าบวก C มีประจไุ ฟฟ้าลบ ข. B มปี ระจุไฟฟา้ ลบ C มปี ระจุไฟฟ้าบวก ค. B และ C มีประจไุ ฟฟา้ ลบทง้ั คู่ ง. B และ C ไม่มีประจไุ ฟฟา้ 4. ในการทดลองการเหนย่ี วนำประจุไฟฟ้า โดยใช้อิเล็กโตรสโคป แผน่ โลหะและแผน่ ตัวนำโดยในตอนแรก อิเลก็ โตรสโคปมีประจุไฟฟ้าเปน็ บวก แผ่นตัวนำเปน็ กลางทางไฟฟ้า เมอ่ื เด็กนกั เรียนคนหนงึ่ ถอื แผ่นตัวนำ ปลายข้างหน่ึง ค่อยๆ สอดปลายอีกข้างหน่ึงเข้ามาใกลๆ้ กับอิเลก็ โตรสโคป ผลที่เกิดข้นึ จะเป็นดงั น้ี ก. จะมปี ระจุไฟฟ้าลบอยูท่ ป่ี ลายของแผน่ ตวั นำดว้ ยขนาดเทา่ กับ ประจไุ ฟฟ้าบวกบนอเิ ล็กโตรสโคป ข. แผน่ โลหะจะกางออกเหมือนเดมิ และจะหบุ สนทิ เม่ือแผ่น ตวั นำแตะกับแผน่ โลหะ ค. แผน่ โลหะจะค่อยๆ หบุ ลงเม่ือแผน่ ตัวนำเขา้ มาใกล้มากข้นึ ง. แผ่นโลหะจะหบุ สนทิ ทันที

14 5. ขณะที่อเิ ลก็ โตรสโคปกำลงั กางอยู่ เม่ือนำวัตถุ A ซง่ึ ตรวจพบว่ามีประจไุ ฟฟ้าบวกเข้าใกล้ จานโลหะ เราจะทราบว่าประจไุ ฟฟ้าทอ่ี ิเล็กโตรสโคปเป็นชนิดอะไร ได้อยา่ งไร ก. เป็นบวก ถา้ กางน้อยลง เปน็ ลบ ถ้ากางมากข้นึ ข. เปน็ บวก ถา้ กางน้อยขึ้น เป็นลบ ถา้ กางเท่าเดิม ค. เปน็ บวก ถา้ กางมากขึ้น เป็นลบ ถ้ากางน้อยลง ง. เปน็ บวก ถ้าแผน่ โลหะกางมากขน้ึ เป็นลบ ถ้ากางเท่าเดิม 6. การทำใหว้ ตั ถมุ ปี ระจุไฟฟา้ โดยวิธีใด ทยี่ ังคงเหลือไฟฟ้าเปน็ ปรมิ าณเท่าเดมิ และสามารถนำกลับมาใช้ ใหมไ่ ด้อีก ก. การถูกนั ข. การแตะกัน ค. การเหนย่ี วนำ ง. การเคล่อื นย้ายประจุไฟฟ้า 7. ขณะท่ีอเิ ล็กโตรสโคปกำลงั กางอยู่ เมื่อนำวตั ถุ A ซึ่งตรวจพบว่ามปี ระจไุ ฟฟ้าลบเขา้ ใกล้ จานโลหะ เราจะทราบวา่ ประจไุ ฟฟา้ ทีอ่ ิเล็กโตรสโคปเป็นชนิดอะไร ได้อย่างไร ก. เป็นบวก ถ้าแผน่ โลหะกางมากขึ้น เป็นลบ ถ้ากางเทา่ เดิม ข. เปน็ บวก ถา้ แผ่นโลหะกางน้อยขนึ้ เปน็ ลบ ถ้ากางเท่าเดิม ค. เป็นบวก ถา้ แผน่ โลหะกางมากข้นึ เป็นลบ ถ้ากางน้อยลง ง. เปน็ บวก ถา้ แผน่ โลหะกางน้อยลง เปน็ ลบ ถ้ากางมากข้ึน 8. ถ้ามีลกู พิทอยู่ 3 ลกู เมื่อทดลองนำลกู พิทเขา้ ใกลก้ นั ทีละคู่จนครบ 3 คู่ ปรากฏวา่ แรงกระทำ ระหวา่ งลกู พทิ ทั้ง 3 คู่ เปน็ แรงดึงดูด ข้อสรุปต่อไปนข้ี ้อใดถูกต้องทส่ี ุด ก. ลกู พิท 2 ลกู มปี ระจุไฟฟ้าชนิดตรงกันขา้ มกนั ส่วนลูกทเี่ หลือไม่มปี ระจุ ข. ลกู พทิ 2 ลกู มปี ระจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน สว่ นลกู ทีเ่ หลอื ไม่มปี ระจุ ค. ลกู พิทลกู หน่งึ มปี ระจไุ ฟฟา้ ส่วนอีก 2 ลกู ไมม่ ี ง. ลูกพิท 3 ลกู ต่างมปี ระจไุ ฟฟา้ 9. นำวัตถุทส่ี งสัยเข้าใกล้อเิ ลก็ โตรสโคปแบบลกู พทิ ถ้าลกู พิทเบนออกจากวตั ถุอาจจะสรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร ก. ลูกพิทมีประจุ วตั ถุไม่มีประจุ ข. ลูกพิทไม่มปี ระจุ วตั ถุมีประจุ ค. ลกู พิทและวัตถมุ ปี ระจุตา่ งกัน ง. ลูกพิทและวัตถุมปี ระจุชนิดเดียวกนั 10. วธิ ที ที่ ำใหผ้ ิวลกู พิทเป็นตัวนำ คือข้อใด ก. ใช้พลาสตกิ ใสหนาๆ หมุ้ ข. คลกุ กับผงกำมะถัน ค. ใช้โลหะหมุ้ ง. ขอ้ ก และ ข ถูก

15 ภาคผนวก

16 ขอ้ 1. ง ขอ้ 6. ค ขอ้ 2. ก ขอ้ 7. ข ข้อ 3. ง ขอ้ 8. ค ข้อ 4. ค ขอ้ 9. ค ขอ้ 5. ง ขอ้ 10. ค ขอ้ 1. ง ข้อ 6. ค ข้อ 2. ค ข้อ 7. ง ข้อ 3. ข ข้อ 8. ก ขอ้ 4. ค ขอ้ 9. ง ข้อ 5. ค ขอ้ 10. ค

17 บรรณานุกรม ณสรรค ์ ผลโภค. ฟิสิกสแ์ ผนใหม่ 4-5-6 ฉบับเตรยี มสอบเอ็นทรานซ.์ พิมพ์คร้ังที่ 3. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พ์ SCIENCE CENTER, 2543. วรทัต ลยั นนั ทน.์ คูม่ ือปฏิบัติการสร้างผลงานวชิ าการ. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 2545. วารนิ ทร รัศมีพรม. การออกแบบและพัฒนาระบบการเรยี นการสอน. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัย ศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร, 2542. วชิ าการ กรม, กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดุภณั ฑ, 2544. สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ. หนงั สือเรียนวิชาฟสิ กิ ส์ เล่ม 4 ว023. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว, 2542. . หนังสอื เรยี นวิชาฟิสิกส์ เลม่ 6 ว025. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว, 2545. . หนังสอื เรยี นวชิ าฟิสิกส์ เลม่ 4 ว028. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว, 2543. . คมู่ ือการจดั สาระการเรียนรกู้ ล่มุ วิทยาศาสตร์ หลักสตู รการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน. กรุงเทพฯ : ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว, 2545. . คมู่ อื ครรู ายวชิ าเพม่ิ เติมฟิสิกส์ เล่ม 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2554.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook