Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่-9

หน่วยที่-9

Published by gitza942, 2018-09-05 10:35:22

Description: หน่วยที่-9

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 9 เครอื ข่ายไร้สาย ความหมายของเครอื ข่ายไรส้ าย สื่อกลางประเภทไร้สาย จดั ทาโดย นายศภุ กิตติ์ วะชงั เงินปวส.2 คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ(ม.6) เลขที่ 14 เสนอ ครู เพียรวิทย์ ขามณี

ความหมายของเครอื ขา่ ยไร้สาย คือ เทคโนโลยีในการตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างเครอื่ งคอมพิวเตอร์ 2 เครอ่ื ง หรือกล่มุของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ รวมถงึ การติดตอ่ สอ่ื สารระหวา่ งเครอ่ื งคอมพิวเตอร์กบั อุปกรณ์เครื่อขา่ ยคอมพิวเตอร์ ซึ่งการส่อื สารจะไม่ใช้สายสญั ญาณในการเช่อื มต่อ (LAN) แตจ่ ะใชค้ ลื่นวทิ ยุ หรอื คลนื่ อินฟาเรด ในการรับสง่ ขอ้ มูลแทน ซ่ึงในขณะนี้กาลงั เปน็ ทนี่ ยิ มเปน็ อย่างมาก จะเห็นไดจ้ ากแทบจะทุกจุดในเมอื งทสี่ าคญั ๆจะมสี ญั ญาณของ Wirelessอยแู่ ทบทกุ ทเี่ ลยทีเ่ ดยี วดว้ ยความสะดวกสบายในการใชง้ านไม่ตอ้ งมองหา plug เสียบสาย LAN กันให้ยุ่งยาก เคลอ่ื นยา้ ยงา่ ย แถมดว้ ยสญั ญาณ ทก่ี ระจายอยู่ทว่ั ไป ทาใหไ้ ม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ขอแคส่ ัญญาณไปถงึ กส็ ามารถรับ-ส่งข้อมลู กนั ได้ ไมต่ อ้ งเจาะกาแพงเดนิ สายกันใหย้ ุ่งยากอีกต่อไป

สอื่ กลางประเภทไรส้ ายการสือ่ สารขอ้ มลู แบบไร้สายนี้สามารถส่งข้อมลู ได้ทุกทศิ ทางโดยมอี ากาศเป็นตวั กลางในการสื่อสาร 1) คลืน่ วทิ ยุ (Radio Wave) วธิ ี การสอื่ สารประเภทนี้จะใช้การสง่ คลืน่ ไปในอากาศ เพอ่ื ส่งไปยงั เครอื่ งรับวทิ ยุโดยรวมกบั คล่นื เสยี งมคี วามถีเ่ สยี งท่ีเปน็ รูป แบบของคล่ืนไฟฟา้ ดังน้นั การส่งวิทยกุ ระจายเสียงจงึ ไมต่ อ้ งใช้สายส่งขอ้ มลู และยังสามารถส่งคล่ืนสญั ญาณไปได้ระยะไกล ซ่งึ จะอยูใ่ นชว่ งความถรี่ ะหวา่ ง 104 - 109 เฮริ ตซ์ ดังันนั้ เครอ่ื งรบั วทิ ยจุ ะตอ้ งปรบั ช่องความถี่ใหก้ บั คล่ืนวทิ ยทุ ี่ส่งมา ทาใหส้ ามารถรบั ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งชดั เจน2) สญั ญาณไมโครเวฟ (Microwave) เปน็ สื่อกลางในการสื่อสารทีม่ คี วามเร็วสงู ส่งขอ้ มลู โดยอาศยั สัญญาณไมโครเวฟซ่งึ เป็นสัญญาณคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ไปในอากาศพรอ้ มกับข้อมลู ทตี่ ้องการสง่ และจะตอ้ ง

มสี ถานีทที่ าหน้าทสี่ ง่ และรบั ข้อมลู และเนอื่ งจากสญั ญาณไมโครเวฟจะเดินทางเปน็เส้นตรง ไมส่ ามารถเลย้ี วหรือโค้งตามขอบโลกทม่ี คี วามโคง้ ได้ จงึ ต้องมกี ารตงั้ สถานรี บั -ส่งขอ้ มลู เป็นระยะๆ และสง่ ขอ้ มลู ต่อกนั เปน็ ทอดๆ ระหว่างสถานตี อ่ สถานจี นกวา่ จะถึงสถานีปลายทาง และแตล่ ะสถานีจะต้งั อยู่ในท่สี งู ซง่ึ จะอยู่ในช่วงความถ่ี 108 -1012 เฮริ ตซ์ 3) แสงอนิ ฟราเรด (Infrared) คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ทม่ี ีความถอี่ ย่ใู นชว่ ง 1011 – 1014 เฮิรตซ์ หรือความยาวคลื่น10-3 – 10-6 เมตร เรยี กวา่ รังสีอนิ ฟราเรด หรอื เรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ วา่ คลืน่ ความถส่ี ้นั(Millimeter waves)ซ่ึงจะมยี ่านความถ่คี าบเก่ียวกับยา่ นความถี่ของคลื่นไมโครเวฟอยู่บ้าง วัตถรุ อ้ น จะแผร่ ังสีอินฟราเรดท่มี คี วามยาวคลน่ื สั้นกวา่ 10-4 เมตรออกมาประสาทสมั ผัสทางผิวหนงั ของมนุษยส์ ามารถรบั รงั สอี ินฟราเรด ลาแสงอินฟราเรดเดินทางเปน็ เส้นตรง ไมส่ ามารถผา่ นวตั ถทุ บึ แสง และสามารถสะทอ้ นแสงในวัสดุผวิ เรียบได้เหมอื นกบั แสงท่ัวไปใชม้ ากในการส่ือสาร ระยะใกล้4) ดาวเทียม (satilite) ไดร้ บั การพัฒนาขน้ึ มาเพอื่ หลีกเลยี่ งขอ้ จากัดของสถานรี ับ - สง่ ไมโครเวฟบนผวิโลก วตั ถุประสงคใ์ นการสรา้ งดาวเทยี มเพอ่ื เปน็ สถานีรับ - ส่งสญั ญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสญั ญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสญั ญาณดาวเทยี มจะตอ้ งมี

สถานีภาคพน้ื ดินคอยทาหนา้ ทร่ี บั และส่งสญั ญาณขึน้ ไปบนดาวเทยี มทโ่ี คจรอยสู่ ูงจากพืน้ โลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทยี มเหลา่ นนั้ จะเคลอื่ นท่ดี ว้ ยความเรว็ ทเี่ ทา่ กับการหมนุของโลก จงึ เสมือนกบั ดาวเทยี มนั้นอย่นู ิง่ อยู่กับท่ี ขณะทโี่ ลกหมนุ รอบตวั เอง ทาให้การส่งสญั ญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึง่ ข้ึนไปบนดาวเทยี มและการกระจายสญั ญาณ จากดาวเทียมลงมายังสถานตี ามจดุ ต่างๆ บนผวิ โลกเป็นไปอยา่ งแม่นยา ดาวเทยี มสามารถโคจรอยู่ได้ โดยอาศยั พลงั งานท่ีไดม้ าจากการเปลยี่ น พลงั งานแสงอาทติ ย์ ด้วย แผงโซลาร์ (solar panel)5) บลทู ูธ (Bluetooth) ระบบส่ือสารของอปุ กรณอ์ เิ ล็คโทรนคิ แบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสน้ั (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบล้ิ หรอื สายสญั ญาณเชื่อมตอ่ และไม่จาเปน็ จะตอ้ งใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมอื นกบั อินฟราเรด ซึ่งถือว่าเพม่ิ ความสะดวกมากกว่าการเชอ่ื มต่อแบบอนิ ฟราเรด ที่ใช้ในการเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งโทรศัพทม์ อื ถอืกบั อุปกรณ์ ในโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่รี ุน่ ก่อนๆ และในการวจิ ัย ไมไ่ ดม้ ่งุ เฉพาะการสง่ ขอ้ มลูเพียงอยา่ งเดียว แตย่ งั ศกึ ษาถึงการส่งข้อมูลทเ่ี ป็นเสยี ง เพ่ือใช้สาหรับ Headset บนโทรศัพทม์ อื ถอื ด้วยเทคโนโลยี บลูทธู เป็นเทคโนโลยสี าหรบั การเชื่อมตอ่ อปุ กรณแ์ บบไร้สายทีน่ ่าจบั ตามองเป็นอย่าง ยิง่ ในปจั จบุ ัน ทั้งในเรอื่ งความสะดวกในการใช้งานสาหรับผใู้ ชท้ ว่ั ไป และประสทิ ธภิ าพในการทางาน เนอ่ื งจาก เทคโนโลยี บลูทูธ มรี าคาถูก ใช้

พลงั งานนอ้ ย และใชเ้ ทคโนโลยี short – range ซึ่งในอนาคต จะถกู นามาใชใ้ นการพฒั นา เพอ่ื นาไปสกู่ ารแทนทอี่ ปุ กรณ์ตา่ งๆ ท่ใี ชส้ าย เคเบลิ เชน่ Headset สาหรับโทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่ เปน็ ต้นั เทคโนโลยีการเชอ่ื มโยงหรอื การสอื่ สารแบบใหม่ทถ่ี กู คิดค้นขึ้น เปน็ เทคโนโลยขี องอินเตอรเ์ ฟซทางคล่ืนวทิ ยุ ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของการส่ือสารระยะใกล้ท่ปี ลอดภัยผา่ นช่องสญั ญาณความถี่ 2.4 Ghz โดยทีถ่ กู พฒั นาขึน้ เพอ่ื ลดขอ้ จากัดของการใชส้ ายเคเบิลในการเชือ่ มโยงโดยมี ความเรว็ ในการเชอื่ มโยงสงู สดุ ที่ 1mbp ระยะครอบคลุม 10 เมตร เทคโนโลยีการสง่ คลน่ื วทิ ยขุ องบลทู ูธจะใชก้ ารกระโดดเปลยี่ นความถี่ (Frequency hop) เพราะวา่ เทคโนโลยนี ี้เหมาะท่ีจะใชก้ บั การส่งคลนื่ วิทยทุ มี่ กี าลงั ส่งตา่ และ ราคาถกู โดยจะแบง่ ออกเปน็ หลายช่องความถ่ขึ นาดเล็ก ในระหว่างทมี่ ีการเปลยี่ นชอ่ งความถทึ่ ี่ไมแ่ นน่ อนทาใหส้ ามารถหลีกหนีสญั ญา นรบกวนท่ีเข้ามาแทรกแซงได้ ซ่งึ อปุ กรณท์ ีจ่ ะไดร้ ับการยอมรับวา่ เปน็ เทคโนโลยบี ลทู ูธ ต้องผา่ นการทดสอบจาก Bluetooth SIG (Special Interest Group) เสียกอ่ นเพอ่ื ยืนยันวา่ มนัสามารถที่จะทางานรว่ มกบั อุปกรณบ์ ลูทูธตัวอ่นื ๆ และอินเตอร์เน็ตได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook