Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9.รูปแบบการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ท

9.รูปแบบการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ท

Published by chakkapob saisuya, 2021-07-13 04:35:03

Description: 9.รูปแบบการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ท

Search

Read the Text Version

รูปแบบการเขยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ทด่ี ี

โครงสร้างของรายงานฉบับสมบูรณ์ ทาให้มองภาพรวมและมองประเด็นต่างๆ ให้ครบถ้วนกอ่ นลงมือ  หน้าปก ปกหนา้ เป็ นปกแข็ง และปกในเป็ นปกอ่อน  เนือ้ หาของรายงาน ประกอบดว้ ย  บทคดั ยอ่  บทนา  เน้ือเร่ือง ระบุรายละเอยี ดเกีย่ วกบั ข้นั ตอน/แผนการดาเนนิ งาน วธิ ีดาเนนิ การทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และผลการดาเนนิ งานทาโครงงาน วทิ ยาศาสตร์  บทสรุป  ส่วนประกอบตอนท้าย ประกอบดว้ ยเอกสารอา้ งองิ และภาคผนวก (ถา้ มี)

หัวข้อโครงงานวทิ ยาศาสตร์ > ไม่ยาว ไม่เว่อร์ ไม่เบลอ ไม่ยาว หมายถึง กะทดั รดั และให้ ไม่เวอร์ หมายถงึ ไม่ทาใหเ้ ขา้ ใจผิด ผอู้ ่านจบั ใจความไดท้ นั ทวี า่ เป็ น หรือมคี วามคาดหวงั เกนิ เลยเกินไป เรื่องเกยี่ วกบั อะไร มีการคน้ พบที่ สาคญั อยา่ งไรบา้ ง จากผลงานท่ีทา ไม่เบลอ หมายถึง การทาใหช้ ดั เจนและไม่กากวม เช่น สมุนไพรไทย “บางชนิด” ที่มา: ศ.ดร.ยอดหทยั เทพธรานนท์,การเขยี นบทความวิจัยระดับนานาชาติด้าน ว และ ท

ตวั อย่างการต้งั ชื่อ ชอื่ กวา้ งไป ชอื่ เฉพาะเจาะจงมากข้นึ  การศึกษานิเวศวทิ ยาของป่ าในเขต  การเปลี่ยนแปลงประชากรของสาหร่ายสี เหนอื น้าเงินแกมเขยี วในลมุ่ น้าปิ ง  แนวคดิ เร่ืองการหวงถ่ินของ  ความสาคญั ของการปรบั ตวั เพอ่ื ความอยู่ สตั วเ์ ล้ือยคลาน รอดโดยการหวงถน่ิ ในก้ิงก่า  การศึกษาอตั ราการรอดของกงุ้ ใน  การศกึ ษาอตั ราการรอดของกงุ้ ในนาขา้ ว ประเทศไทย

บทคดั ย่อควรเขียนหลงั จากเขียนรายงานท้งั เล่มแลว้ บทคดั ย่อ เป็ นการสรุปเนือ้ หาท้งั หมดในลกั ษณะย่อ กะทดั รัด  บทสรุปเน้ือหาท้งั หมด มีความยาว เทคนิคการเขยี น : เร่ิมตน้ 1-3 ประโยคแรก เพื่อ ประมาณ 1-2 หนา้ ควรกล่าวถึงโครงงาน บอกวา่ ทาอะไร ดว้ ยวธิ ีไหน โดยตดั หรือปรับจาก วิทยาศาสตร์ในลกั ษณะยอ่ กะทดั รดั ประโยคหลกั ในหัวขอ้ บทนาหรือหัวขอ้ การ ทดลอง  และมีสาระสาคญั เนื้อหาที่เขียนควร 1. ดงึ ประโยคผลการทดลองเป็นขอ้ สรุปสาคญั เพื่อ ครอบคลุมถึงวตั ถุประสงค์ ขอบเขตของ บอกผลทไ่ี ดจ้ ากการวิจยั การวิจยั 2. ดึงประโยควเิ คราะหว์ ิจารณผ์ ล ทส่ี รุปวา่ ขอ้ มูล หรือขอ้ สรุปใดของงานเราทมี่ ีความนา่ เช่ือถือและ  กิจกรรมหลกั ท่ีไดท้ า ผลท่ีไดร้ ับและ ถกู ตอ้ ง ขอ้ จากดั บทวิเคราะหแ์ ละสรุป ประโยชน์ท่ี ไม่ควรอา้ งอิงเอกสาร รูปภาพ ตารางใดๆ ไดร้ บั จากการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ 3. ไมค่ วรเกนิ 200 คาหรือ 3% ของเนื้อเร่ือง  ควรบรรยายความแปลกใหม่และ 4. impact ท่ีได้ ทมี่ า รศ.ดร.สุพจน์ หารหนองบวั คณะวทิ ยฯ์ จุฬาฯ

บทนาที่ดีคือ การอธิบายเหตุจูงใจว่า ทาไมถึงศึกษาเร่ืองน้ี บทนา เป็ นเครื่องมือจูงใจที่จะชักชวนให้ตดิ ตาม  เป็ นส่วนที่จะนาผอู้ า่ นเขา้ สู่ปัญหาท่ี เทคนิคการเขยี น : ควรเขียนอธิบายใหม้ ี นามาทาโครงงานน้ี ความเป็ นมา น้าหนกั เพอ่ื ช้ใี หเ้ หน็ ถึงความสาคญั ท่ที า และความสาคญั ของปัญหา และ โครงงานวทิ ยาศาสตร์น้ี ทีม่ าของปัญหา เหตผุ ลที่นา่ สนใจ รวบรวมขอ้ มลู ทบทวนผลงานสาคญั ในอดีต ของการศึกษาน้ี วตั ถุประสงคข์ อง ซ่งึ สะทอ้ นผลลพั ธใ์ นระดบั หน่งึ เพอ่ื นามา โครงงานวทิ ยาศาสตร์ กล่าวถึง อา้ งอิง เป้าหมายท่ตี อ้ งการศึกษา การบนั ทึกยอ่ ทมี่ าและนยั สาคญั และเรียบ เรียง การอา้ งถงึ ผลงานที่ผา่ นมาท่ีน่าเช่อื ถอื  วตั ถปุ ระสงค์หรือผลทคี่ าดวา่ จะ แสดงความนา่ สนใจของหวั ขอ้ โครงงาน ไดร้ บั จากโครงงานวทิ ยาศาสตร์

วธิ ีการวจิ ยั /ทดลอง เป็ นการวางแผนงานวจิ ยั ให้ถูกต้อง น่าเช่ือถือและสามารถนาไปปฏบิ ัติได้  เรียงลาดบั ตามวธิ ีการวจิ ยั และผลการทดลอง  ครบถว้ น ชดั เจน กระชบั  แสดงความนา่ เช่อื ถอื ของงานวจิ ยั โดยระบุวธิ ีการ สารเคมี เครื่องมือ อุปกรณ์ ท่ีใช้  ผอู้ ่านผลงานสามารถนาไปศกึ ษาในลกั ษณะเดียวกนั และใหผ้ ลการศึกษา เช่นเดยี วกนั ได้

ผลการทดลอง เป็ นส่วนสาคญั ที่สุดของงานที่ควรสัมพนั ธ์กบั เนือ้ หาที่ ได้แจ้งไว้ในวตั ถุประสงค์  น่าสนใจ เขา้ ใจงา่ ย นา่ ตดิ ตามต่อเนอ่ื ง และเป็ นเหตุเป็ นผล  กราฟ ตาราง รูปภาพ เรียบงา่ ยแตม่ ปี ระสิทธิภาพ มีรายละเอียดท่ีถกู ตอ้ ง และ มคี าบรรยายภาพทีส่ มบูรณ์  หลกี เลย่ี งการใชศ้ ิลปะหรือจินตนาการเกินจาเป็ น  ไม่ควรอธิบายยดื ยาว หากเป็ นไปควรเสนอในรูปตาราง กราฟ หรือรูปภาพ

บทสรุป เป็ นการสรุปเรื่องราวในการทา เทคนคิ การเขียน โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ปัญหา  เขยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั บทคดั ยอ่ อปุ สรรค พรอ้ มท้งั เสนอแนะ  สรุปส้ันๆ จากงานที่เราทาเทา่ น้นั เกย่ี วกบั การวจิ ยั ในข้นั ต่อไป และขอ้ ดีของงานช้นิ น้ี (ไมใ่ ช่สรุป ตลอดจนประโยชน์ในการ จากความรูข้ องผอู้ ื่นมารวมเป็ น ผลงานของเรา) ประยกุ ตใ์ ชผ้ ลการวจิ ยั ทีไ่ ด้ (ถา้ มี)

การอภปิ รายหรือการวเิ คราะห์วจิ ารณ์ คือ การวเิ คราะหแ์ ละ  แสดงถงึ impact ของงาน สังเคราะหผ์ ลเพอื่ ใหผ้ ูอ้ า่ น  การเปรียบเทียบกบั ทฤษฎแี ละผลงานท่ีมี คลอ้ ยตามถงึ ความสมั พนั ธข์ อง หลกั การหรือกฎเกณฑ์เพอื่ มากอ่ น (สอดคลอ้ ง ขดั แยง้ นาไปอธิบาย ช้แี นะใหผ้ ูอ้ ่านเห็นความสาคญั หรือเขา้ ใจผลงานทีม่ อี ยแู่ ลว้ ) ของการทดลองที่ไปสนบั สนนุ  เสนอแนะความคิดเหน็ ใหมๆ่ ทีไ่ ด้ หรือคดั คา้ นสมมุติฐานหรือ  แสดงความสามารถในการคดิ คน้ จนิ ตนาการ ต้งั สมมตุ ิฐานและทฤษฏใี หม่ ทฤษฏี และการเปรียบเทยี บผล การทดลอง ที่มา : ศ.ดร.ยงยทุ ธ ยทุ ธวงศ์ การเขยี นบทความวิจัย : หลกั การและวิธีการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook