Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 02แผนจัดการเรียนรู้กรด เบสแป่ว.แผน 3

02แผนจัดการเรียนรู้กรด เบสแป่ว.แผน 3

Published by krupawnp, 2020-04-06 04:19:16

Description: 02แผนจัดการเรียนรู้กรด เบสแป่ว.แผน 3

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรูท3่ี หนวยการเรยี นรูท่ี 1 เรอ่ื งทฤษฎกี รด เบส รหสั วชิ าว32222 รายวิชาเคมีเพ่มิ เตมิ กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปที่5 ภาคเรียนท2่ี เวลา 5 ชว่ั โมง ครผู สู อน นางสาวภัทริยา โพธิ์ศรคี ุณ 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู ผลการเรียนรู 1. ระบุ และอธิบายวาสารเปน กรดหรือเบสโดยใชทฤษฎีกรด-เบสของอารเ รเนยี ส เบรนิ สเตด-ลาวรี และลวิ อสิ 2. ระบคุ กู รด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี 2. จุดประสงคก ารเรียนรู (จากตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู) 1. อธบิ ายความหมายของกรดและเบสตามทฤษฎกี รด-เบสของอารเรเนยี ส เบรนิ สเตด-ลาวรี และลวิ อสิ ได (K) 2. อธิบายความหมายของคูกรด-เบส และระบคุ กู รด-เบสในปฏิกริ ิยาทก่ี าํ หนดให 3. อธบิ ายเหตุผลท่สี ารบางชนิดแสดงสมบตั เิ ปน ท้ังกรดและเบส รวมทั้งเขยี นสมการแสดงการถา ย โอนโปรตอนได (K) 4. บอกความแตกตางของจาํ นวนโปรตอนของสารท่เี ปน คูกรด-เบสกัน พรอ มทง้ั เขยี นแสดงปฏกิ ริ ิยา การถา ยโอนโปรตอนของสารได (K) 5. ทดลองเพอ่ื ศึกษาปฏกิ ิริยาการใหและรบั โปรตอนของโซเดยี มไฮโดรเจนคารบ อเนตได (P) 6. ต้ังใจเรยี นรแู ละแสวงหาความรู รับผิดชอบตอ หนาท่ีทไ่ี ดร บั มอบหมาย (A) 3. สาระสาํ คัญ ทฤษฎีกรด-เบสของอารเ รเนยี ส กลาววา กรด คือ สารท่ีละลายน้ําแลว แตกตัวใหไ ฮโดรเจนไอออน สว น เบส คอื สารทีล่ ะลายน้ําแลวแตกตัวใหไฮดรอกไซดไ อออน ทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี กลา ววา กรด คือ สารทใ่ี หโ ปรตอนแกสารอ่ืน สว นเบส คอื สารทร่ี ับโปรตอนจากสารอ่ืน สารทเ่ี ปนคกู รด-เบสกนั จะมีจํานวนโปรตอนตางกัน 1 โปรตอน

สารบางชนดิ สามารถทาํ หนาที่เปน ไดท้งั กรดและเบส เชน นาํ้ เรยี กสารประเภทนว้ี า แอมโฟเทอรกิ หรอื แอมฟโพรตกิ ทฤษฎกี รด-เบสของลิวอิส กลา ววา กรด คือ สารทีร่ ับคูอเิ ลก็ ตรอนจากสารอ่นื สวนเบส คอื สารทใ่ี ห คอู เิ ล็กตรอนแกส ารอื่น 4. สมรรถนะสําคญั ของผูเ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ 5. สาระการเรียนรู 5.1 ความรู (Knowledge:K) - สารในชีวติ ประจําวนั หลายชนดิ มีสมบัติเปนกรดหรอื เบส ซ่ึงพิจารณาไดโดยใชท ฤษฎกี รด-เบส ของอารเรเนยี ส เบรนิ สเตด-ลาวรี หรือลวิ อิส- ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี เมอ่ื กรดหรือเบสละลายน้ําหรือทาํ ปฏิกิริยากับสารอืน่ จะมีการถา ยโอนโปรตอนระหวาง สารตงั้ ตน ท่ีเปน กรดและเบส เกิดเปนผลติ ภัณฑซ่ึงเปนโมเลกลุ หรือไอออนท่ีเปน คกู รด-เบสของสารตั้งตน นนั้ โดยสารที่เปน คูกรด-เบสกันจะมโี ปรตอนตา งกนั 1 โปรตอน 5.2 ดานทักษะ/กระบวนการ (Process: P) เพ่อื ศกึ ษาปฏิกิรยิ าการใหและรบั โปรตอนของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต 5.3 ดานคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค(Attitude : A) 1.ใฝเ รียนรู 2.มุง มน่ั ในการทํางานและแสวงหาความรู 3.ความมวี นิ ยั 6. จดุ เนนสูการพฒั นาคณุ ภาพผเู รียน(เลือกเฉพาะจุดเนนขอ ทีม่ ใี นแผนการจัดการเรยี นรู สามารถ เพ่มิ เตมิ จดุ เนนตามนโยบายอ่ืนๆได) 6.1 ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู 3R X 8C  Reading (อานออก) (W)Riting(เขียนได) (A)Rithemetics(คิดเลขเปน)  ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไขปญหา (CriticalThinking and Problem Solving) ทักษะดานการสรา งสรรค และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทกั ษะดา นความเขาใจความตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทศั น (Cross-cultural Understanding) ทักษะดา นความรวมมือ การทาํ งานเปนทมี และภาวะผนู ํา(Collaboration,Teamwork and Leadership) ทกั ษะดานการสื่อสาร สารสนเทศและรเู ทาทนั สอื่ (Communications, Information, andMedia Literacy)

ทักษะดา นคอมพวิ เตอร และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรยี นรู (Career and Learning) ทักษะการเปล่ยี นแปลง (Change) 6.2 ทักษะดานชวี ิตและอาชพี ของคนในศตวรรษที่ 21 ความยดื หยุนและการปรับตัว การรเิ ร่ิมสรา งสรรคแ ละเปน ตวั ของตัวเอง ทกั ษะสังคมและสังคมขามวฒั นธรรม การเปน ผูส รางหรอื ผูผลติ (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได(Accountability) ภาวะผูนําและความรบั ผิดชอบ (Responsibility) 6.3 คุณลกั ษณะของคนในศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะดานการทํางาน ไดแก การปรับตัว ความเปน ผนู าํ คณุ ลกั ษณะดา นการเรียนรู ไดแ ก การชน้ี ําตนเอง การตรวจสอบการเรียนรูของตนเอง คุณลักษณะดานศลี ธรรม ไดแ ก ความเคารพผอู นื่ ความซื่อสัตย ความสํานกึ พลเมอื ง 7. การบูรณาการ(เลือกเฉพาะขอท่ีสามารถบูรณาการในแผนการจัดการเรียนรู สามารถเพิ่มเติมเร่ือง อ่นื ๆได)  โครงการสถานศกึ ษาพอเพยี ง โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม อาเซยี นศกึ ษา  คณุ ธรรม คานยิ ม 12 ประการ อนุรกั ษพลังงานและสิ่งแวดลอม อืน่ ๆ(ระบุ)..................................................................................... 8. ช้ินงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน/รองรอยแสดงความร)ู แบบฝก ทกั ษะเรือ่ งทฤษฎกี รด เบส / คกู รด เบส ใบงาน 1.1 เรอื่ ง ทฤษฎกี รด เบส

9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู สบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงที่ 1 ขัน้ นาํ ข้นั ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage) 1. ครถู ามคาํ ถาม Prior Knowledge จากหนังสอื เรียนรายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่1 กรด-เบส วา “สง่ิ ใดใชระบุความแตกตางระหวา งสารละลาย กรดและสารละลายเบส” แลว ใหน กั เรยี นรว มกนั ตอบคําถาม รว มกันอภิปราย (แนวตอบ : สารละลายกรดจะมไี ฮโดรเนยี มไอออนเปน องคประกอบ สวนสารละลายเบสจะมี ไฮดรอกไซดไอออนเปน องคประกอบ) 2. ครแู ละนักเรียนรวมกนั ทบทวนความรเู กีย่ วกบั สารละลายกรดและสารละลายเบส ดงั นี้ • สารละลายกรดทุกชนดิ มไี อออนที่เหมือนกนั คือ H3O+ ซ่งึ เปน ไอออนทแ่ี สดงสมบัติของ กรด ทําใหส ารละลายกรดเปลี่ยนสีกระดาษลติ มสั จากสีน้ําเงนิ เปน สีแดง • สารละลายเบสทกุ ชนิดมไี อออนทเ่ี หมือนกัน คอื OH- ซ่งึ เปนไอออนท่ีแสดงสมบัติของ เบส ทาํ ใหส ารละลายกรดเปลี่ยนสกี ระดาษลิตมสั จากสีแดงเปน สีนํ้าเงิน ขั้นสอน ขนั้ ที่ 2 สาํ รวจคน หา (Explore) 1. นกั เรยี นจับคกู บั เพื่อน โดยแตละคูศกึ ษาขอมูลเกีย่ วกับทฤษฎีกรด-เบสของอารเ รเนยี ส จากหนังสือเรยี นรายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 1 กรด- เบสและใบความรู แลวรว มกนั แสดงความคิดเหน็ จนเกิดความเขาใจทตี่ รงกัน 2. ครูยกตัวอยา งกรดหรือเบสบางชนดิ ทไี่ มสามารถอธบิ ายความเปนกรด-เบสโดยใชท ฤษฎี กรด-เบสของอารเ รเนียสได เชน NH3 เพือ่ ช้ใี หเ ห็นถึงขอจํากดั ของการใชท ฤษฎนี ้ี เพอ่ื เช่ือมโยงเขาสูก ารอธบิ ายสมบัตขิ องกรด-เบสโดยใชท ฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี 3. จากน้ันนักเรียนแตล ะคูศึกษาขอมลู เกีย่ วกบั ทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี จาก หนังสอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ี่ 4 กรด-เบส แลวรว มกันแสดงความคิดเหน็ จนเกิดความเขา ใจท่ีตรงกัน (หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) 4. ครตู ้งั คําถามใหนกั เรยี นรว มกันอภิปรายเก่ียวกบั ทฤษฎกี รด-เบสของอารเ รเนยี สและ เบรินสเตด-ลาวรี ดังน้ี 1) จงอธบิ ายนยิ ามของกรดและเบสตามทฤษฎีกรด-เบสของอารเรเนียส

(แนวตอบ : กรด คอื สารท่ีละลายนํ้าแลวแตกตัวใหไ ฮโดรเจนไอออน เบส คือ สารท่ีละลายนํ้าแลวแตกตวั ใหไฮดรอกไซดไ อออน) 2) ทฤษฎกี รด-เบสของอารเรเนียสไมส ามารถใชอ ธิบายความเปน กรด-เบสของสารใด (แนวตอบ : สารทไี่ มล ะลายในนํา้ หรือละลายในตวั ทาํ ละลายอื่นไมได) 3) จงอธิบายนิยามของกรดและเบสตามทฤษฎีกรด-เบสของและเบรินสเตด-ลาวรี (แนวตอบ : กรด คือ สารที่สามารถใหโ ปรตอนแกส ารอื่น เบส คือ สารทส่ี ามารถรบั โปรตอนจากสารอ่ืน) 5. นักเรยี นและครูรวมกนั อภิปรายเพื่อหาขอ สรุปเก่ยี วกับทฤษฎกี รด-เบสของอารเ รเนียส และเบรนิ สเตด-ลาวรี ซ่ึงไดขอ สรุป ดังน้ี • ทฤษฎีกรด-เบสของอารเรเนียส กลาววา กรด คอื สารทล่ี ะลายน้าํ แลวแตกตวั ให ไฮโดรเจนไอออน สว นเบส คอื สารท่ีละลายน้ําแลว แตกตัวใหไฮดรอกไซดไอออน • ทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี กลาววา กรด คอื สารทีใ่ หโ ปรตอนแกสารอื่น สว นเบส คือ สารทร่ี ับโปรตอนจากสารอ่นื • ทฤษฎกี รด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรีใชอ ธบิ ายสมบตั ขิ องกรด-เบสไดก วางกวา ทฤษฎกี รด-เบสของอารเรเนยี ส เนอ่ื งจากพจิ ารณาความเปน กรด-เบสของสารจาก การถา ยโอนโปรตอน รวมท้ังไมจ ําเปนตอ งอยใู นสารละลายท่ีมนี ้ําเปนตวั ทําละลาย (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบุคคล) ชว่ั โมงที่ 2 ขั้นท่ี 2 สํารวจคนหา (Explore) 6. ครทู บทวนความรเู กี่ยวกับทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี จากน้นั ใหนักเรยี นระบุและ อธิบายสมบัตคิ วามเปนกรดหรอื เบสของสารจากสมการการแตกตวั ในนํ้า โดยใชท ฤษฎกี รด- เบสของ เบรนิ สเตด-ลาวรี 7. นักเรยี นแบงกลุม กลมุ ละ 5 คน เพ่ือทําการทดลอง เรื่อง ปฏกิ ิริยาการใหแ ละรบั โปรตอนของ โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต จากหนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 1 กรด-เบส 8. ครูใชรปู แบบการเรยี นรูแบบรว มมอื เทคนคิ LT มาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกําหนดให สมาชิกแตล ะคนภายในกลุมมีบทบาทหนาท่ขี องตนเอง ดงั นี้ • สมาชกิ คนท่ี 1 : ทําหนาท่เี ตรยี มวัสด-ุ อุปกรณท ่ีใชใ นการทดลอง เร่อื ง ปฏิกิริยา การใหและรบั โปรตอนของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต • สมาชิกคนที่ 2 : ทําหนาที่อานวิธกี ารทดลอง ทําความเขาใจ และอธบิ ายใหสมาชิกใน กลมุ ฟง • สมาชกิ คนท่ี 3 : ทําหนา ที่บนั ทกึ ผลการทดลอง

• สมาชกิ คนท่ี 4 และ 5 : ทําหนา ท่ีนําเสนอผลการทดลอง 9. สมาชิกทุกคนในกลุม ชว ยกันลงมอื ทาํ การทดลอง (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลุม) 10. นักเรยี นแตล ะกลุมสงตัวแทน (สมาชกิ คนท่ี 4 และ 5 ของกลมุ ) ออกมานาํ เสนอผลการ ทดลอง หลงั จากน้ันใหน กั เรียนทกุ คนรว มกนั อภิปรายผลการทดลองจนมีความเขาใจที่ตรงกัน (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแบบประเมินปฏิบตั กิ าร) 11. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและหาขอสรปุ จากการปฏิบตั ิการทดลอง โดยใชแ นวคําถาม ดังน้ี 1) จงเขียนสมการการแตกตัวของ NaHCO3 ในน้าํ (แนวตอบ : H2O NaHCO3 (s) → Na+ (aq) + HCO3- (aq)) 2) เมอื่ HCO3- ทาํ ปฏกิ ิริยากับ HCl จะทาํ หนาทีเ่ ปน กรดหรือเบส จงอธิบาย พรอมเขียน สมการประกอบ (แนวตอบ : HCO3- ทาํ หนาท่ีเปนเบส เพราะจะไดรับโปรตอนจากกรด HCl เกิดเปน H2CO3 ซ่งึ จะสลายตวั ใหแกส CO2 ดงั สมการ HCO3- (aq) + H3O+ (aq) ⇌ H2CO3 (aq) + H2O (l) H2CO3 (aq) ⇌ H2O (l) + CO2 (g) ) 3) เม่ือ HCO3- ทําปฏิกิริยากับ Ca(OH)2 จะทาํ หนาทเี่ ปนกรดหรอื เบส จงอธิบาย พรอ ม เขยี นสมการประกอบ (แนวตอบ : HCO3- ทําหนาท่ีเปนกรด เพราะจะใหโปรตอนแก Ca(OH)2 เกดิ เปน ตะกอนขาวของ CaCO3 ดังสมการ HCO3- (aq) + OH- (aq) ⇌ CO32- (aq) + H2O (l) Ca2+ (aq) + CO32- (aq) ⇌ CaCO3 (s) ) 12. นกั เรียนและครูรว มกันสรปุ ผลจากการทําการทดลอง ซ่งึ ไดขอ สรปุ วา “HCO3- สามารถให และรับโปรตอนได จึงเปนไดท ้ังกรดและเบส ทั้งน้ีขึ้นอยกู บั สารทีท่ ําปฏกิ ิริยาดวย” (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบุคคล) ชัว่ โมงท่ี 3 ขนั้ ที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) 13. ครแู ละนกั เรียนรวมกันอภปิ รายเก่ียวกบั สมการการแตกตัวในนา้ํ เพือ่ เชื่อมโยงเขา สเู รื่อง คูก รด-เบสของสาร โดยพจิ ารณาจากการถา ยโอนโปรตอนของสาร

14. นักเรยี นจบั คกู บั เพ่อื น โดยแตละคูศ ึกษาเกี่ยวกบั คกู รด-เบสของสาร จากหนงั สือเรียนรายวิชา เพมิ่ เติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี1 กรด-เบส แลว รว มกนั แสดงความ คดิ เหน็ จนเกดิ ความเขาใจท่ีตรงกนั (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม) 15. ครตู ้งั คําถามใหน ักเรยี นรว มกันอภิปราย เรื่อง คูกรด-เบสของสาร เชน 1) สารทที่ ําหนาทเี่ ปนไดทงั้ กรดและเบสเรยี กวา อยางไร (แนวตอบ : สารแอมโฟเทอรกิ หรือสารแอมฟโ พรตกิ ) 2) จงระบุคเู บสของ H3O+ H2SO4 OH- และ HCl ตามลําดบั (แนวตอบ : H2O HSO4- O2- และ Cl- ตามลําดบั ) 3) จงระบคุ กู รดของ HS- HCO3- NH3 และ CN- ตามลําดับ (แนวตอบ : H2S H2CO3 NH4+ และ HCN ตามลําดบั ) 4) ถา เรียงลาํ ดับความแรงของคูเบสได ดงั น้ี NO3- < F- < NH3 < CN- < OH- คกู รดของ คูเบสที่กาํ หนดใหจ ะเรียงลาํ ดับความแรงของคูเบสจากนอ ยไปมากไดอ ยางไร (แนวตอบ : H2O < HCN < NH4+ < HF < HNO3) 5) ในหมแู ละในคาบเดยี วกัน ความแรงของกรดไฮโดรจะเพิ่มข้นึ ตามคา ใด (แนวตอบ : ในหมูเ ดียวกัน ความแรงของกรดไฮโดรจะเพม่ิ ขึ้นตามเลขอะตอมของ อโลหะในคาบเดยี วกนั ความแรงของกรดไฮโดรจะเพ่ิมขึ้นตามคาอิเลก็ โทรเนกาตวิ ิตี ของอโลหะ) 6) กรดออกซีท่มี ธี าตุองคป ระกอบเหมอื นกัน ความแรงของกรดจะเพิ่มข้นึ ตามคา ใด (แนวตอบ : กรดออกซที ีม่ ธี าตุองคป ระกอบเหมือนกนั ความแรงของกรดจะเพมิ่ ขึ้น ตามเลขออกซเิ ดชันท่เี พ่มิ ข้ึน) 16. นกั เรยี นและครูรวมกันอภปิ รายเพ่ือหาขอสรปุ เก่ียวกบั คกู รด-เบสของสาร ซึง่ ไดข อสรปุ ดังนี้ • สารท่เี ปน คกู รด-เบสกนั จะมีจํานวนโปรตอนตา งกนั 1 โปรตอน • สารบางชนิดสามารถทําหนาทเ่ี ปน ไดท ั้งกรดและเบส เชน นํ้า เรียกสารประเภทน้ีวา แอมโฟเทอรกิ หรอื แอมฟโพรตกิ (หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤตกิ รรมการทาํ งานรายบุคคล) ชวั่ โมงที่ 4 ขน้ั ที่ 2 สํารวจคน หา (Explore) 17.ครยู กตวั อยา งกรดหรอื เบสบางชนิดท่ีไมส ามารถอธิบายความเปน กรด-เบสโดยใชทฤษฎี กรด-เบสของอารเรเนยี สและทฤษฎกี รด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี ได เชน BF3 เพือ่ ช้ีใหเหน็ ถงึ ขอ จาํ กดั ของการใชส องทฤษฎนี ี้ เพ่ือเชือ่ มโยงเขาสูการอธบิ ายสมบัตขิ องกรด-เบสโดยใช ทฤษฎีกรด-เบสของลวิ อิส

18. นักเรยี นแตละคนศกึ ษาเก่ียวกบั ทฤษฎกี รด-เบสของลวิ อสิ จากหนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู 1่ี กรด-เบส จากน้นั นกั เรียนรวมกันแสดง ความคิดเห็นจนเกดิ ความเขาใจทตี่ รงกัน (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล) ขนั้ ที่ 3 อธิบายความรู (Explain) 19. ครูตัง้ คาํ ถามใหน ักเรยี นรวมกันอภปิ ราย เรื่อง ทฤษฎีกรด-เบสของลวิ อิส เชน 1) จงอธบิ ายนิยามของกรดและเบสตามทฤษฎีกรด-เบสของลวิ อิส (แนวตอบ : กรด คือ สารท่ีรบั คอู ิเล็กตรอนจากสารอน่ื สว นเบส คือ สารท่ใี หคู อเิ ลก็ ตรอนแกสารอืน่ ) 2) เพราะเหตใุ ดทฤษฎกี รด-เบสของลิวอิสจึงใชอ ธบิ ายความเปน กรด-เบสไดด ีกวา ทฤษฎอี ื่น (แนวตอบ : เน่ืองจากสารทกุ ชนดิ มอี ิเลก็ ตรอน จึงสามารถระบุไดวา เม่อื สารทํา ปฏกิ ริ ยิ ากนั สารใดใหแ ละสารใดรบั อเิ ล็กตรอน) 20. นกั เรยี นและครูรวมกันอภปิ รายเพ่ือหาขอ สรปุ เก่ยี วกับคูทฤษฎกี รด-เบสของลิวอสิ ซ่ึงไดข อ สรุปวา “ทฤษฎกี รด-เบสของลวิ อิส กลา ววา กรด คอื สารท่รี ับคูอ ิเลก็ ตรอนจากสารอ่นื สวนเบส คอื สารทีใ่ หคอู ิเลก็ ตรอนแกส ารอน่ื ” (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบุคคล) ช่ัวโมงที่ 5 ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate) 21. ครเู ปด โอกาสใหนกั เรียนซักถามขอสงสัยในเนื้อหา เรื่อง ทฤษฎีกรด-เบส เพอื่ จะใชเปนความรู เบื้องตนสําหรับการเรยี นในเนอ้ื หาตอ ๆ ไป 22. นกั เรียนทําใบงานที่ 1.1 เรื่อง ทฤษฎกี รด-เบส 23. นักเรียนทาํ แบบฝกหัดในหนงั สือแบบฝก หดั รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูที่ 1 กรด-เบส / แบบฝก ทักษะ 24. นักเรยี นทํา Topic Question จากหนังสอื เรียนรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 1 กรด-เบส ลงในสมุดประจาํ ตัว (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ข้ันสรุป ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมินผลนกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางาน รายบุคคล พฤตกิ รรมการทํางานกลมุ 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาํ ใบงานที่ 1.1 เร่ือง ทฤษฎกี รด-เบส 3. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ แบบฝก ทกั ษะ 4. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ Topic Question 5. ครวู ัดและประเมนิ ผลจากการนําเสนอผลการทดลอง เรื่อง ปฏกิ ริ ิยาการใหแ ละรับโปรตอน ของโซเดยี มไฮโดรเจนคารบอเนต 6. นักเรียนและครูรว มกนั สรปุ เกีย่ วกับทฤษฎีกรด-เบส ซ่ึงไดขอ สรปุ ดงั นี้ • ทฤษฎกี รด-เบสของอารเรเนยี ส กลาววา กรด คอื สารทีล่ ะลายนํ้าแลว แตกตวั ให ไฮโดรเจนไอออน สวนเบส คอื สารทล่ี ะลายนํ้าแลว แตกตัวใหไ ฮดรอกไซดไอออน • ทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี กลาววา กรด คือ สารท่ใี หโ ปรตอนแกส ารอน่ื สวนเบส คือ สารทร่ี บั โปรตอนจากสารอน่ื • สารท่เี ปน คกู รด-เบสกันจะมีจํานวนโปรตอนตา งกัน 1 โปรตอน • สารบางชนดิ สามารถทําหนาทเี่ ปน ไดท ้ังกรดและเบส เชน นํ้า เรียกสารประเภทนี้วา แอมโฟเทอริก หรือแอมฟโ พรตกิ • ทฤษฎกี รด-เบสของลิวอสิ กลาววา กรด คือ สารทรี่ ับคอู เิ ล็กตรอนจากสารอนื่ สวน เบส คอื สารทใี่ หคูอิเลก็ ตรอนแกส ารอื่น 10. สอ่ื การสอน 8.1 สือ่ การเรียนรู 1) หนงั สือเรียนรายวิชาเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู 1ี่ กรด-เบส 2) หนังสือแบบฝก หัดรายวิชาเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 กรด-เบส 3) วสั ดุ-อุปกรณทีใ่ ชใ นการทดลอง เรื่อง ทฤษฎกี รด เบส 4) สมุดประจําตวั 4) https://sites.google.com/site/steamchemedu/content/krd-bes/thvsdi-krd-bes 11. แหลงเรยี นรใู นหรอื นอกสถานท่ี -

12. การวัดและประเมนิ ผล (ใสตามความเหมาะสม) รายการวัด วธิ กี าร เคร่อื งมือ เกณฑก ารประเมนิ 12.1 การประเมินกอน เรยี น - แบบทดสอบกอ น - ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบกอนเรยี น - 5 ขอขึน้ ไป เรยี น หนวยการเรียนรูท ่ี 1 กอนเรยี น หนวยการ หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 กรด-เบส/แบบทดสอบ เรยี นรูท่ี 1 กรด- กรด-เบส/แบบทดสอบ เรือ่ งทฤษฎกี รด เบสกรด เบส/แบบทดสอบเรอ่ื ง เร่อื งทฤษฎกี รด เบส เบส ทฤษฎีกรด เบส 12.2 ประเมนิ ระหวาง การจดั กิจกรรมการ เรยี นรู - ตรวจแบบฝก ทักษะ - แบบฝกทกั ษะ - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ 1) ทฤษฎีกรด เบส - ตรวจสมุดประจาํ ตัว - สมดุ ประจําตัว - รอยละ 60 ผานเกณฑ 2) การทดลอง เรอ่ื ง - ประเมินการปฎบิ ัติ - แบบประเมินการ - ระดับคณุ ภาพ 2 ปฏกิ ิรยิ าการใหและ การ ปฎบิ ตั ิ การ ผา นเกณฑ รับโปรตอน 3) พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2 การทํางาน การทํางานรายบคุ คล การทาํ งานรายบคุ คล ผานเกณฑ รายบุคคล 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม -ระดบั คณุ ภาพ 2 ทํางานกลมุ การทํางานกลมุ การทํางานกลมุ ผานเกณฑ 5) คณุ ลักษณะ - สงั เกตความมีวนิ ยั - แบบประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ 2 อันพึงประสงค รับผดิ ชอบ ใฝเรยี นรู คุณลกั ษณะ ผา นเกณฑ และมุงมั่นในการ อันพงึ ประสงค ทํางาน 13. กจิ กรรมเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................

14. บนั ทึกผลหลงั การสอน 14. 1. ผลการจัดการเรียนการสอน 1. นกั เรียนจํานวน 48 คน ผา นจดุ ประสงคก ารเรียนรู 45 คน คิดเปนรอยละ 93.75 ไมผา นจดุ ประสงค 3 คน คดิ เปน รอ ยละ 6.25 ไดแก 1. นายภมู รนิ ทร ศรีคาํ 2. นายนรศิ สุขุมพรรณ 3.นายพิชาภพ กาหาวงศ นักเรียนทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ ไดแ ก 1.นางสาวอัจฉรา กนั หาคุณ 2. นางสาวกญั ญาณฐั ภูษา 3.นางสาวจริ าวรรณ ขุนอนิ ทร 2. นกั เรยี นมคี วามรคู วามเขาใจ นักเรยี นรอยละ 93.75 มีความรูค วามเขาใจเกย่ี วกับทฤษฎกี รด เบสสามารถอธิบาย ความหมายและเขยี นสมการแสดงการเกิดปฏกิ ิริยาการให- รบั โปรตอนได 3. นักเรยี นมีความรูเกดิ ทกั ษะ นกั เรยี นรอ ยละ93.75สามารถปฏิบัตกิ ารทดลองไดผ านเกณฑก ารประเมิน 4.นกั เรียนเจตคติ คานยิ ม 12 ประการ คุณธรรมจรยิ ธรรม นักเรยี นมเี จตคตทิ ีด่ ีตรงตามคุณลกั ษณะอันพึงประสงค 14.2 ปญ หา/อุปสรรค/แนวทางแกไ ข นกั เรียนรอ ยละ 6.25 ท่ียังไมผ านการประเมินไดรบั การซอมเสรมิ โดยใชเ ทคนิคเพอ่ื นชวย เพ่อื น สงผลใหนกั เรยี นผานเกณฑการประเมินทุกคน 14.3 เสนอแนะ ใชเ ทคนิคเพ่อื นชว ยเพือ่ น ................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................ภทั ริยา....................................... ( นางสาวภทั รยิ า โพธิ์ศรคี ุณ.) ตําแหนง ครู วทิ ยฐานะชํานาญการพิเศษ

ความเหน็ ของหัวหนา สถานศึกษา/ผทู ไ่ี ดรับมอบหมาย ไดท าํ การตรวจแผนการจดั การเรียนรูของ นางสาวภทั ริยา โพธศิ์ รคี ณุ แลวมคี วามคิดเห็นดังน้ี 1. องคประกอบของแผนการจดั การเรียนรู  ครบถวนและถกู ตอง ยังไมค รบถว นหรอื ไมถูกตอ ง ควรปรับปรงุ พฒั นาตอไป 2. ความสอดคลอ งของแผนการจัดการเรยี นรูกับหลกั สูตรสถานศึกษา  สอดคลอง ยงั ไมส อดคลอ ง ควรปรับปรุงพฒั นาตอ ไป 3. รปู แบบของการจดั การเรยี นรู  เนน ผูเ รียนเปนสําคญั  ยังเนนผูเรียนเปนสําคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอ ไป 4. สอ่ื การเรียนรู  เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรยี นรู  ยงั ไมเ หมาะ ควรปรับปรุงพัฒนาตอไป 5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู ครอบคลุมจุดประสงคก ารเรียนรู  ยังไมครอบคลุมประสงคการเรยี นรู ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอไป 6. ขอ เสนอแนะอืน่ ๆ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ................................................................ (นายสุเมธ หนอ แกว .) ตาํ แหนง ผูอํานวยการโรงเรียนนาํ้ ปลกี ศึกษา

ใบความรู เร่ืองทฤษฎีกรด-เบส ทฤษฎีกรด-เบสของอารเ รเนยี ส Svante Aarrhenius นักเคมีชาวสวีเดนไดใ หน ยิ ามของกรด-เบส กรด (Acid) คอื สารที่เมื่อละลายนํ้าแลวแตกตวั ให H+ เชน HCl , H2SO4 , HNO3 เปนตน ตัวอยา งที่ 1 HCl H+ + Cl- HCO-3 H+ + CO3-2 เบส (Base) คอื สารที่ละลายน้ําแลว แตกตวให OH- เชน NaOH , KOH , Ca(OH) 2 Ba(OH) 2 เปนตน ตวั อยา งท่ี 2 KOH K+ + OH- Ca(OH) 2 Ca2 + + 2OH- ขอ จาํ กดั ทฤษฎีกรด-เบสของอารเรเนยี สใชไ ดเ ฉพาะสารท่มี ี H+ และ OH- เทานั้น ทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี J.N Bronsted นกั วทิ ยาศาสตรชาวเดนมารกและ J.M. Lowry นกั วทิ ยาศาสตร ชาวอังกฤษไดใหน ยิ ามของกรด-เบสไดดังน้ี กรด (Acid) คือสารทีใ่ หโปรตอน (H+) แกส ารอนื่ เบส (Base) คอื สารทร่ี บั โปรตอน (H+)จากสารอน่ื ตวั อยางที่ 3 HCl + H2 O H3O+ + Cl- NH+4 + OH- NH3 + H2O ทฤษฎีกรด-เบสของลวิ อิส

ในป พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) Gilbert Newton Lowis นักวทิ ยาศาสตรช าวอเมรกิ า ไดเสนอทฤษฎกี รด- เบสขน้ึ ใหมโ ดยใหค าํ นิยามกรดและเบส ดังน้ี กรด คอื สารท่สี ามารถรบั อิเลก็ ตรอนคูไ ดใ นการเกิดพันธะโคเวเลนต เบส คอื สารทสี่ ามารถใหอเิ ลก็ ตรอนคไุ ดใ นการเกิดพันธะโคเวเลนต ขอจํากดั ทฤษฎีกรด-เบสของลิวอสิ ตอ งทราบโครงสรางทางอิเล็กตรอนของสารนั้นๆดวย สําหรบั การศกึ ษา ในระดับน้ีจึงไมสะดวกหรือคอ นขา งยุงยาก เรือ่ งคูกรด-เบส (Acid-Base pair) ในปฏกิ ิรยิ าท่ีผันกลบั ไดจ ะมีปฏิกริ ิยายอ ย 2 ชนิด คือ ปฏิกิริยาไปขางหนา และปฏกิ ิรยิ า ยอนกลบั ซง่ึ ในสารละลายกรดและสารละลายเบสจะมีสารที่เรยี กวา คูกรด-เบสเสมอไมว า จะ เปน ปฏกิ ิรยิ าใดโดยพจิ ารณาจากทฤษฎีกรด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี เชน ตัวอยา งท่ี NH3 + H2O NH+4 + OH- H2O เปนคูกรดของเบส OH- NH3 เปนคเู บสของกรด NH+4 CH3COOH + H2 O CH3COO- + H3O+ CH3COOH เปน คูกรดของเบส CH3COO- H2 O เปนคูเบสของกรด H3O+ ใบงานท่ี 1.1

เรื่อง ทฤษฎกี รด-เบส คําชแ้ี จง : ตอบคาํ ถามเก่ียวกบั ทฤษฎกี รด-เบส 1. พจิ ารณาสมการทก่ี ําหนดให แลว ระบวุ า สารตั้งตนเปนกรดหรือเบสตามทฤษฏีกรด-เบสของเบรินสเตด- ลาวรี พรอมใหเหตผุ ลประกอบ 1) CH3COOH (aq) + OH- (aq) ⇌ CH3COO- (aq) + H2O (l) 2) H2PO4- (aq) + H3O+ (aq) ⇌ H3PO4 (aq) + H2O (l) 2. จากปฏกิ ริ ยิ าทกี่ ําหนดให จงระบวุ า สารตั้งตน ชนดิ ใดเปน กรดและเบสตามทฤษฎกี รด-เบสลิวอิส พรอมให เหตุผลประกอบ 1) Fe3+ (aq) + 6H2O (l) ⇌ Fe(H2O)63+ (aq) 2) Ag+ (aq) + 2NH3 (aq) ⇌ Ag(NH3)22+ (aq) 3. จากสมการท่ีกาํ หนดใหตอไปน้ี H2PO4- (aq) + OH- (aq) ⇌ H2O (l) + HPO42- (aq) H2PO4- (aq) + H2SO4 (aq) ⇌ H3PO4 (aq) + HSO4- (aq) H2PO4- จดั เปน สารแอมฟโพรตกิ หรือไม เพราะเหตใุ ด 4. เตมิ คาํ ตอบเกย่ี วกบั คูก รด-เบสลงในตารางใหสมบรู ณ

คกู รด สตู รของคูก รด คูเ บส สูตรของคู กรดไฮโดรไซยานิก เบส CH3COOH แอซเี ตตไอออน HSO4- SO42- CN- H2PO4- HPO42- HS- S2- 5. ถาเรียงลาํ ดบั ความแรงของคูกรดตามขอ 4. ได ดงั นี้ HSO4- > CH3COOH > H2PO4- > HCN > HS- คู เบสของคกู รดท่กี าํ หนดใหจ ะเรียงลําดับความแรงของคูเบสจากมากไปนอ ยอยางไร

ใบงานที่ 1.1 เฉลย เรอื่ ง ทฤษฎีกรด-เบส คาํ ช้แี จง : ตอบคําถามเกี่ยวกับทฤษฎีกรด-เบส 1. พจิ ารณาสมการทก่ี าํ หนดให แลว ระบวุ า สารต้ังตนเปนกรดหรือเบสตามทฤษฏีกรด-เบสของเบรินสเตด- ลาวรี พรอ มใหเหตผุ ลประกอบ 1) CH3COOH (aq) + OH- (aq) ⇌ CH3COO- (aq) + H2O (l) CH3COOH เปนกรดตามทฤษฏีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี เพราะให H+ แก OH- สวน OH- เปนเบสตามทฤษฏีกรด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี เพราะรบั H+ จาก CH3COOH 2) H2PO4- (aq) + H3O+ (aq) ⇌ H3PO4 (aq) + H2O (l) H3O+ เปนกรดตามทฤษฏีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี เพราะให H+ แก H2PO4- สวน H2PO4- เปนเบสตามทฤษฏีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี เพราะรับ H+ จาก H3O+ 2. จากปฏิกริ ยิ าท่ีกําหนดให จงระบวุ าสารต้ังตนชนดิ ใดเปนกรดและเบสตามทฤษฎีกรด-เบสลวิ อสิ พรอ มให เหตผุ ลประกอบ 1) Fe3+ (aq) + 6H2O (l) ⇌ Fe(H2O)63+ (aq) Fe3+ เปน กรด เพราะรบั อเิ ล็กตรอนคูโดดเด่ยี ว สวน H2O เปน เบส เพราะมีอิเล็กตรอนคูโดดเดย่ี ว 2) Ag+ (aq) + 2NH3 (aq) ⇌ Ag(NH3)22+ (aq) Ag+ เปนกรด เพราะรบั อเิ ลก็ ตรอนคูโ ดดเดยี่ ว สว น NH3 เปน เบส เพราะมอี ิเล็กตรอนคโู ดดเดย่ี ว 3. จากสมการทกี่ าํ หนดใหตอ ไปน้ี H2PO4- (aq) + OH- (aq) ⇌ H2O (l) + HPO42- (aq) H2PO4- (aq) + H2SO4 (aq) ⇌ H3PO4 (aq) + HSO4- (aq) H2PO4- จัดเปนสารแอมฟโพรติกหรอื ไม เพราะเหตุใด จากสมการ แสดงวา H2PO4- สามารถทงั้ ใหแ ละรับโปรตอนได กลาวคือ H2PO4- ทําหนาท่ีเปนทั้งกรด และเบส ดงั นนั้ จึงจัดเปนสารแอมฟโ พรติก 4. เติมคําตอบเกย่ี วกบั คกู รด-เบสลงในตารางใหส มบูรณ

คกู รด สตู รของคู คเู บส สตู รของคู กรด เบส กรดแอซตี กิ แอซีเตตไอออน ไฮโดรเจนซัลเฟตไอออน CH3COOH ซลั เฟตไอออน CH3COO- กรดไฮโดรไซยานกิ HSO4- ไซยาไนดไอออน SO42- ไดไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน ไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน CN- ไฮโดรเจนซลั ไฟดไอออน HCN ซัลไฟดไ อออน HPO42- H2PO4- S2- HS- 5. ถา เรยี งลาํ ดบั ความแรงของคกู รดตามขอ 4. ได ดังน้ี HSO4- > CH3COOH > H2PO4- > HCN > HS- คู เบสของคูกรดทีก่ าํ หนดใหจ ะเรยี งลาํ ดบั ความแรงของคูเบสจากมากไปนอ ยอยา งไร S2- > CN- > HPO42- > CH3COO- > SO42-

แบบฝก ทักษะเรือ่ ง ทฤษฎกี รด – เบส --------------------------------------------------------------------- คําช้ีแจง ใหน กั เรยี นตอบคําถามตอไปน้ี 1. กรดและเบสตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด – ลาวรี คอื อะไรและแตกตางจากทฤษฎี กรด-เบสของอารเ รเนียสอยางไร……………………………………………………………………………………………….. 2. จงเขยี นสมการแสดงปฎิกริ ิยาทเ่ี กิดขึน้ ระหวางสารตอไปน้แี ละระบุดว ยวาสารใดเปนกรดหรอื เบสตาม ทฤษฎีเบรนิ สเตด – ลาวรี 2.1 HNO3 + HCO3- ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.2 HSO4- + OH- ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.3 NH4+ + HCO3- ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. กรดและเบสตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรนิ สเตด – ลาวรี คอื อะไรและแตกตางจากทฤษฎี กรด-เบสของอารเรเนียสอยางไร ……………………………………………………………………………………………….. 4. จงระบคุ กู รด-เบสจากปฏิกิริยาดังตอไปน้ี CH3COOH + CN- 1 CH3COO- + HCN ……………………………………………………………………………………………….. HPO4 2- + NH4+ 2 H2PO4- + NH3 ……………………………………………………………………………………………….. CH3NH3+ + ClO- 3 HClO + CH3NH2 ……………………………………………………………………………………………….. 4 CO32- + H2O HCO3- + OH- ……………………………………………………………………………………………… 5.จงเขยี นสมการท่ีแสดงวา HPO42- และ H2O เปนไดทั้งกรดและเบส ………………………………………………………………………………………………………………..…………………… 6.จงเขียนสมการและแผนภาพแสดงคกู รด – เบส เม่อื สารตอ ไปนล้ี ะลายในน้ํา ก. กรดคารบ อนกิ ( H2CO3 ) ข. กรดฟอรม กิ ( HCOOH ) …………………………………………………………………………………………..………………………………

แบบฝกทักษะเรอ่ื ง คกู รด – เบส คําชี้แจง ใหนกั เรียนตอบคําถามตอไปน้ี 1. จงระบุคกู รด-เบสจากปฏิกริ ยิ าดงั ตอ ไปน้ี CH3COOH + CN- 1.1 CH3COO- + HCN ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1.2 H2PO4- + NH3 HPO4 2- + NH4+ ………………………………………………………………………………………………………….……………………………….. CH3NH3+ + ClO- 1.3 HClO + CH3NH2 ………………………………………………………………………………………………….………………………………………….. 2. จงเขียนสมการแสดงการแตกตวั ในน้ําของสารตอไปน้ี และบอกดว ยวาในสารละลาย มไี อออนและโมเลกุลชนิดใดบา ง 2.1 กรดไฮโปรคลอรสั ( HClO ) เปนอเิ ล็กโทรไลตออน ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………… 2.2 กรดไนตรกิ ( HNO3 ) เปน อิเล็กโทรไลตแก ………………………………………………………………………………..………………………….…………………………… 2.3 แบเรียมไฮดรอกไซด ( Ba(OH )2) เปน อิเล็กโทรไลตแ ก ………………………………………………………………………………………………………….……………………………… 3. จงเขียนสมการทีแ่ สดงวา HPO42- และ H2O เปนไดท งั้ กรดและเบส …………………………………………………………………………………………………..…………………………………… 4. จงเขียนสมการและแผนภาพแสดงคูกรด – เบส เม่ือสารตอไปนีล้ ะลายในนํา้ ก. กรดคารบ อนิก ( H2CO3 ) ข. กรดฟอรม ิก ( HCOOH ) …………………………………………………………………………………..……………………………………………… เกณฑการใหคะแนน รายการ คะแนน เกณฑ คาํ ตอบถูกบางส่ือความหมายไมชดั เจน 1 ออ น พอใช คาํ ตอบถกู บา งสอื่ ความหมายยังไมคอ ย 2 ชดั เจน ดี คําตอบถูกตองสื่อความหมายไดชัดเจน 3

แบบทดสอบเรื่อง ทฤษฎีกรด-เบส จงเลือกคาํ ตอบทถี่ กู ตอ งทสี่ ุดจากคําถามแตล ะขอ 1. ใชอธบิ ายสารทีม่ ีสมบัติเปน เบสตามทฤษฎกี รด-เบสของอารเรเนียส 1. HS-(aq) + H2O(l) ↔ H3O+(aq) + S2-(aq) 2. H2O(l) + CN-(aq) ↔ HCN(aq) + OH-(aq) 3. KOH(aq) → K+(aq) + OH-(aq) 4. HF(aq) + H2O(l) ↔ H3O+(aq) + F-(aq) 2. พิจารณาปฏกิ ิรยิ าตอไปนี้ 1) NH3 + H2O ↔ NH + + OH- 4 2) NH + + H2O ↔ NH3 + H3O+ 4 3) NH − + NH + ↔ 2NH3 2 4 ขอใดถกู ตอ ง 1. H2O ในขอ 1) และ 2) เปน เบส 2. NH3 ในขอ 1) และ 2) เปนกรด 3. NH + ในขอ 1) และ 3) เปน กรด 4. NH3 ในขอ 1) เปน กรดและในขอ 2) เปนเบส 4 3. จากปฏกิ ริ ยิ าตอ ไปน้ี H2PO − + H2O ↔ HPO 2− + H3O+ 4 4 HS- + H2O ↔ S2- + H3O+ ไอออนในขอใดเปนคูกรด-เบสซ่ึงกนั และกนั 1. H2PO − กับ HPO 2− 2. H2PO − กบั H3O+ 4 4 4 3. H3O+ กับ S2- 4. H3O+ กบั HS-

4. สารใดเปนคกู รดของเบส HPO 2− 3 1. H3PO3 2. PO 3− 3 2. NaHPO3 4. H2PO − 3 5. สารกลมุ ใดเปนเบสตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี 1. CO 2− , NH + , Cl- 2. Na+, Ca(OH)2, NO − 3 4 3 3. OH-, HCO − , NH3 4. KOH, H3O+, SO 2− 3 4 6. สารใดเปนเบสตามทฤษฎีกรด-เบสของลิวอิสไมได 1. NH3 2. CH4 3. CN- 4. S2- 7. จากสมการที่กําหนดให BF3 + F- → BF − จงพิจารณาวา ขอใดไมถกู ตอง 4 1. BF3 เปน กรดตามทฤษฎกี รด-เบสของลวิ อสิ 2. F- เปนเบสตามทฤษฎีกรด-เบสของลวิ อสิ 3. F- เปน เบสตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี 4. สมการนไี้ มส ามารถอธิบายความเปนกรด-เบสของสารโดยใชทฤษฎกี รด-เบสของอารเ ร เนยี สหรือ ของเบรินสเตด-ลาวรไี ด 8. ไอออนใดทเ่ี ปน ผลิตภัณฑทีเ่ กดิ จากสารทม่ี สี มบัติเปน เบสตามทฤษฎกี รด-เบสของอารเ รเนยี ส 1. H2O 2. OH- 3. H3O+ 4. ไมส ามารถระบุได 9. ถา H2O มีสมบตั ิเปน เบสตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี ผลติ ภัณฑทเ่ี กิดขึ้นควรเปน สาร 1. H3O+ 2. OH- 3. H9O + 4. ไมสามารถระบไุ ด 4

10. สารใดไมสามารถเปนกรดตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรีได 1. HS- 2. NH3 3. H2PO − 4. SiO4 4 เฉลยแบบทดสอบแผนการจัดการเรยี นรู 1. 3 2. 3 3. 1 4. 4 5. 3 6. 2 7. 3 8. 2 9. 1 10. 4

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ คาํ ชแี้ จง : ใหผูสอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขีด ลงในชอ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน การมี ลาํ ดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การยอมรับ การทาํ งาน ความมี สว นรว มใน รวม ของนักเรียน ฟงคนอนื่ น้ําใจ ความ ตามทไ่ี ดรบั การ 15 คดิ เห็น มอบหมาย ปรับปรงุ คะแนน ผลงานกลมุ 321321321321321 ลงชื่อ...................................................ผปู ระเมิน ............./.................../............... เกณฑการใหคะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยางสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอยครัง้ ให 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตดั สินคุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช ต่ํากวา 8 ปรบั ปรุง

แบบประเมินทกั ษะการปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลมุ (10 คะแนน) สําหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี ….. ผูรบั การประเมิน/กลมุ .................................................................... ระดบั ชน้ั /หอ ง.................. ผปู ระเมิน  ตอนเอง  เพอ่ื น  ครู ประเมนิ ครง้ั ท่ี ..............................วันท่ี ..................เดือน ..................................... พ.ศ............... เรื่องท่ีเรียนร.ู ................................................................................................................................ คําชแ้ี จง : ใหผปู ระเมินสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น แลว ทาํ เคร่ืองหมาย ใหตรงกบั ระดับคณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ พฤตกิ รรม ดีมาก ดี ปาน นอ ย นอ ย พฤติ กลาง ทส่ี ุด (2) กรรมท่ี (5) (4) (3) (1) สงั เกต 1. การทบทวนตรวจสอบความรูเดิม 2. การแสวงหาความรใู หม 3. การศกึ ษาและสรางความเขาใจขอมูล ความรูใหม 4. การแลกเปลย่ี นความรกู บั ความเขาใจกับ กลุม 5. การสรุปและจดั ระเบยี บความรู 6. การปฏบิ ัติ การแสดงความรูแ ละผลงาน 7. การประยุกตใ ชความรู 8. การนําเสนอหนาชั้นเรียน 9. การแสดงความคดิ เหน็ -ถาม-ตอบ 10. การใช เกบ็ รักษาอุปกรณ รวมคะแนน

ขอสังเกต หลักฐาน รอ งรอย อนื่ ๆ เกณฑการใหคะแนน - พฤติกรรมที่ดเี ดนเปนทย่ี อมรบั และเปนแบบอยางทีด่ ี ให 5 คะแนน - พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบัติชัดเจนและสม่ําเสมอให 4 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏบิ ัติชัดเจน ให 3 คะแนน - พฤตกิ รรมท่ีปฏบิ ตั ิบอยครง้ั ให 2 คะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั บิ างครงั้ ให 1 คะแนน - พฤตกิ รรมที่ไมปฏบิ ัติเลย ให 0คะแนน หมายเหตุ นาํ คะแนนทีไ่ ด 50 คะแนน มาหารดวย 5 จะไดคะแนนเตม็ 10 คะแนน แลวแปลความหมายตามเกณฑดงั นเ้ี กณฑการแปลความหมายของชวงคะแนน ชวงคะแนน ความหมาย 9 -10 ดีมาก 7-8 ดี 5–6 ปานกลาง 3–4 นอย 0–2 นอ ยที่สุด ผลการประเมินทักษะการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุม อยใู นระดบั  ดมี าก  ดี ปานกลาง  นอย  นอยท่สี ดุ สรุปผลการประเมนิ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลุม(ผา น ตองมคี ะแนนตง้ั แต 5 คะแนนขน้ึ ไป)  ผาน  ไมผา น ลงช่อื …………………………….………………….ผปู ระเมิน (..................................................) ………../……………../…….….

แบบประเมินสมรรถนะสําคัญของผเู รยี น 5 ประการ (10 คะแนน) สําหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ….. ผูรับการประเมิน/กลุม ...................................................................... ระดับชัน้ /หอ ง.................. ผปู ระเมนิ  ตอนเอง  เพื่อน  ครู ประเมนิ ครง้ั ท่ี ..............................วนั ที่ ...................เดอื น .................................. พ.ศ............... เร่ืองท่เี รยี นรู........................................................................................................................ คําช้แี จง : ใหผปู ระเมนิ สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียน แลว ทาํ เคร่ืองหมาย ใหต รงกบั ระดบั คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ สมรรถนะดาน รายการประเมิน ดี ดี ปาน นอย นอย ปรับ หลกั ฐาน มาก กลา (2) ทีส่ ดุ ปรงุ ทีเ่ ดนชัด (5) (4) ง (1) (0) (3) 1. 1.1 มคี วามสามารถในการรบั – สง สาร ความสามารถ 1.2 มคี วามสามารถในการถา ยทอด ในการสื่อสาร ความรู ความคิด ความเขาใจของตนเอง โดยใชภาษาอยางเหมาะสม 1.3 ใชว ิธีการสอื่ สารทเ่ี หมาะสม 1.4 วิเคราะหแ สดงความคิดเห็นอยางมี เหตุผล 1.5 เขียนบนั ทกึ เหตกุ ารณป ระจําวันแลว เลา ใหเ พ่อื นฟงได 2. 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห ความสามารถ สงั เคราะห ในการคดิ 2.2 มีทักษะในการคดิ นอกกรอบอยา ง สรางสรรค 2.3 สามารถคิดอยางมวี ิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการคดิ อยา งมี ระบบ 2.5 ตัดสินใจแกปญ หาเกี่ยวกบั ตนเองได

สมรรถนะ ระดบั คุณภาพ ดาน รายการประเมิน ดี ดี ปาน นอ ย นอ ย ปรับ หลักฐาน มาก กลาง ทส่ี ดุ ปรงุ ทเี่ ดนชดั (5) (4) (3) (2) (1) (0) 3. 3.1 สามารถแกป ญ หาและอปุ สรรคตาง ๆ ความสามารถ ท่ีเผชิญได ในการ 3.2 ใชเหตผุ ลในการแกปญ หา แกปญหา 3.3 เขา ใจความสัมพันธแ ละการ เปลีย่ นแปลงในสงั คม 3.4 แสวงหาความรู ประยุกตความรมู า ใชใ นการปองกนั และแกไ ขปญหา 3.5 สามารถตัดสนิ ใจไดเ หมาะสมตามวยั 4. 4.1 เรียนรดู วยตนเองไดเ หมาะสมตามวยั ความสามารถ 4.2 สามารถทาํ งานกลุมรวมกบั ผูอน่ื ได ในการใชท กั ษะ 4.3 นาํ ความรทู ไ่ี ดไ ปใชประโยชนใน ชีวติ ชวี ติ ประจาํ วัน 4.4 จัดการปญหาและความขัดแยงได เหมาะสม 4.5 หลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไมพงึ ประสงคท ่ี สงผลกระทบตอ ตนเอง 5. 5.1 เลอื กและใชเทคโนโลยีไดเหมาะสม ความสามารถ ตามวัย ในการใช 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เทคโนโลยี 5.3 สามารถนําเทคโนโลยไี ปใชพัฒนา ตนเอง 5.4 ใชเทคโนโลยใี นการแกปญหาอยาง สรา งสรรค 5.5 มีคุณธรรม จรยิ ธรรมในการใช เทคโนโลยี ขอสังเกต หลกั ฐาน รองรอย อื่น ๆ ....................................................................................................................................................

เกณฑก ารใหคะแนน - พฤติกรรมท่ีดเี ดนเปน ที่ยอมรับและเปน แบบอยางทดี่ ี ให 5 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏบิ ัติชัดเจนและสม่ําเสมอ ให 4 คะแนน - พฤติกรรมท่ปี ฏิบัตชิ ัดเจน ให 3 คะแนน - พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิบอยคร้ัง ให 2 คะแนน - พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัติบางคร้งั ให 1 คะแนน - พฤติกรรมทีไ่ มป ฏบิ ัติเลย ให 0คะแนน นําคะแนนท้งั หมดรวมกนั ไดคะแนนเต็ม 125 คะแนน แลวหาร 12.5 จะไดคะแนนเตม็ 10 คะแนน เกณฑก ารแปลความหมายของชวงคะแนน ชวงคะแนน ความหมาย 9 -10 ดีมาก 7-8 ดี 5 – 6 ปานกลาง 3 – 4 นอย 0 – 2 นอยทสี่ ุด ผลการประเมินสมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น 5 ประการ อยใู นระดับ  ดมี าก  ดี ปานกลาง  นอย  นอ ยท่ีสดุ สรุปผลการประเมนิ สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น 5 ประการ  ผาน  ไมผ า น(ผา น ตองมคี ะแนนตั้งแต 5 คะแนนขึ้นไป) ลงช่อื …………………………….………………….ผูประเมนิ (..................................................) ………../……………../…….….

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค (10 คะแนน) สําหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ ….. ผูรับการประเมนิ /กลมุ ....................................................................... ระดับชน้ั /หอ ง.................. คาํ ชแ้ี จง : ใหผปู ระเมินสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียน แลวทาํ เครื่องหมาย ใหต รงกบั ระดับคุณภาพ คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พึงประสงค 3210 1.รกั ชาติ ศาสน 1.1 มคี วามรกั และภมู ใิ จในความเปนชาติ กษตั ริย 1.2 ปฏิบตั ิตนตามหลกั ของศาสนา 1.3 แสดงออกถงึ ความจงรักภกั ดตี อสถาบันพระมหากษัตรยิ  2.ซ่ือสตั ยสุจรติ 2.1 ปฏิบตั ติ ามระเบียบการสอน และไมลอกการบาน 2.2 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงตอความเปน จริงตอ ตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏบิ ตั ติ รงตอความเปน จริงตอผอู ่นื 3.มวี ินยั 3.1 เขาเรยี นตรงเวลา 3.2 แตงกายเรยี บรอยเหมาะสมกบั กาลเทศะ 3.3 ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของหอง 4.ใฝหาความรู 4.1 แสวงหาขอ มูลจากแหลงเรียนรตู า งๆ 4.2 มีการจดบันทกึ ความรูอยางเปน ระบบ 4.3 สรุปความรไู ดอ ยา งมีเหตผุ ล 5.อยูอยาง 5.1 ใชทรัพยสนิ และส่ิงของของโรงเรียนอยางประหยดั พอเพยี ง 5.2 ใชอปุ กรณก ารเรียนอยางประหยดั และรูคณุ คา 5.3 ใชจ ายอยางประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ 6. มุง มน่ั ในการ 6.1 มคี วามต้ังใจ และพยายามในการทาํ งานทไี่ ดร ับมอบหมาย ทาํ งาน 6.2มีความอดทนและไมทอแทตอ อุปสรรคเพือ่ ใหง านสําเรจ็ 7.รกั ความเปน 7.1 มจี ติ สาํ นกึ ในการอนรุ ักษวฒั นธรรมและภูมปิ ญญาไทย ไทย 7.2 เหน็ คณุ คาและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8.มีจติ 8.1 รจู กั การใหเพือ่ สว นรวมและเพ่ือผูอืน่ สาธารณะ 8.2 แสดงออกถงึ การมีน้ําใจหรอื การใหความชวยเหลอื ผอู น่ื 8.3 เขารวมกิจกรรมบําเพ็ญตนเพือ่ สว นรวมเมือ่ มโี อกาส ลงชือ่ ......................................................................ผปู ระเมนิ (.....................................................................) ............. /................./...............

เกณฑก ารใหคะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนและสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัติชดั เจนและบอยคร้งั ให 2 คะแนน - พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั บิ างคร้ัง ให 1 คะแนน - พฤติกรรมทไ่ี มไดป ฏิบตั ิ ให 0 คะแนน ขอ สงั เกต หลกั ฐาน รองรอย อน่ื ๆ .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... เกณฑการใหค ะแนน คุณลกั ษณะเกดิ บอยครง้ั ให 2 คะแนน บางครง้ั ให 1 คะแนน ไมเกดิ เลย ให 0 คะแนน สรุปผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค  ผาน  ไมผา น(ผาน ตองมคี ะแนนต้ังแต 5 คะแนนข้ึนไป) ลงชอื่ …………………………….………………….ผูประเมิน (..................................................) ตําแหนงครู วิทยฐานะ.................... ………../……………../…….….

แบบประเมนิ ทักษะผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) (10 คะแนน) ผรู บั การประเมนิ /กลมุ ........................................................................ ระดบั ชั้น/หอง.................. ผูประเมนิ  ตนเอง  เพ่ือน  ครู ประเมินครงั้ ที่ .......................วันท่ี ......................เดือน ......................................... พ.ศ............... เร่อื งท่เี รยี นร.ู ............................................................................................................................... คาํ ชีแ้ จง : ใหผูประเมินสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี น แลว ทําเครื่องหมาย ใหตรงกบั ระดบั คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ทักษะผเู รยี น รายการประเมนิ ดี ดี ปาน นอ ย นอย ปรบั หลกั ฐาน ดา น กลาง ทีส่ ุด ปรุง ท่ีเดนชัด มาก (3) (2) (1) (0) (5) (4) ทกั ษะผเู รียนในศตวรรษท่ี 21(21st Century Skills) ทกั ษะในสาระ 1. Reading (อา นออก) วชิ าหลัก (Core 2. (W)Riting(เขยี นได) 3. (A)Rithemetics(คดิ เลขเปน ) Subjects–3Rs) ทักษะการ 1.Critical Thinking and Problem เรียนรแู ละ Solving (ทักษะดา นการคิดอยา งมี นวตั กรรม วิจารณญาณและทักษะในการแกปญหา) (Learning and 2.Creativity and Innovation (ทกั ษะดา น การสรา งสรรค และนวตั กรรม) Innovation Skills – 8Cs) 3. Cross-cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจความตา ง วัฒนธรรม ตางกระบวนทศั น) 4. Collaboration,Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา นความรวมมอื การทาํ งานเปน ทมี และภาวะผูนํา) 5. Communications, Information, and Media Literacy (ทกั ษะดา นการส่อื สาร สารสนเทศ และรูเทาทันส่ือ) 6. Computing and ICT Literacy (ทกั ษะ ดานคอมพวิ เตอร และเทคโน โลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร)

ระดับคณุ ภาพ ทกั ษะผูเรียน รายการประเมนิ ดี ดี ปาน นอ ย นอ ย ปรบั หลกั ฐาน ดาน มาก กลาง ทีเ่ ดนชดั ทสี่ ุด ปรงุ (5) (4) (3) (2) (1) (0) 7. Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู) 8. Compassion (มีคุณธรรมมีเมตตา กรณุ ามรี ะเบยี บวินยั ) ทกั ษะการเรียนรูและภาวะผนู าํ (2Ls) ทักษะการ 1. Learning(ทกั ษะการเรยี นรู) เรียนรแู ละ 2. Leadership(ภาวะผูนํา) ภาวะผนู ํา (2Ls) ขอ สังเกต หลักฐาน รอ งรอย อนื่ ๆ .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... เกณฑการใหคะแนน - พฤตกิ รรมที่ดเี ดน เปนทยี่ อมรบั และเปนแบบอยา งท่ดี ี ให 5 คะแนน - พฤตกิ รรมท่ีปฏบิ ตั ชิ ดั เจนและสม่ําเสมอ ให 4 คะแนน - พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ัดเจน ให 3 คะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตบิ อ ยครงั้ ให 2 คะแนน - พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั บิ างครง้ั ให 1 คะแนน - พฤตกิ รรมทไ่ี มปฏบิ ตั เิ ลย ให 0คะแนน นาํ คะแนนท้ังหมดรวมกันไดคะแนนเต็ม 65 คะแนน แลวหาร 6.5 จะไดคะแนนเต็ม 10 คะแนน

เกณฑก ารแปลความหมายของชวงคะแนน ชว งคะแนน ความหมาย 9 -10 ดมี าก 7 – 8 ดี 5 – 6 ปานกลาง 3 – 4 นอย 0 – 2 นอยที่สดุ ผลการประเมนิ ทักษะผูเรยี นในศตวรรษที่ 21 อยใู นระดบั  ดมี าก  ดี ปานกลาง  นอ ย  นอยที่สุด สรุปผลการทักษะผูเ รียนในศตวรรษท่ี 21  ผาน  ไมผ าน(ผาน ตองมคี ะแนนตั้งแต 5 คะแนนข้ึนไป) ลงชือ่ …………………………….………………….ผปู ระเมนิ (..................................................) ………../……………../…….….




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook