Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการบริหารงาน และการบริหารงานสาธารณสุข

หลักการบริหารงาน และการบริหารงานสาธารณสุข

Published by hataya, 2018-07-05 03:02:07

Description: ดร.หัทยา เพ็ขรเจริญ
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี

Search

Read the Text Version

รหสั วชิ า ๔๒๒๓ ๓๔๐รายวชิ า บรหิ ารงานสาธารณสขุ Public Health Administrationจํานวนหนวยกิต ๓ (๓-๐-๖) หมวดวิชาชพี อ.หัทยา เพ็ชรเจรญิ อ.ประไพ นันทโกวัฒน วันองั คาร เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐น.

หนว ยท่ี ๑ : หลักการบริหารงานทมี่ คี วามสําคัญกบั การบริหารงาน สาธารณสุขหนวยท่ี ๒ : ทรพั ยากรทางการบรหิ าร การจัดการบุคลากร : การบรหิ ารจดั การการเงนิ และงบประมาณ : การบรหิ ารพสั ดุหนว ยท่ี ๓ : การจดั การองคก ารของหนว ยงานสาธารณสุขและ องคกรปกครองสว นทอ งถิ่น และการจดั สํานักงานหนว ยท่ี ๔ : การประยุกตส ารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารงานสาธารณสุขหนว ยท่ี ๕ : การวเิ คราะหห นว ยงานสาธารณสุขระดบั ตนในการบรหิ ารงาน และการจดั ทาํ แผนสาธารณสขุ ระดับตน สอบกลางภาค

หนวยท่ี ๕ : การวิเคราะหห นว ยงานสาธารณสขุ ระดับตน ใน ดา นการบริหารงานและการจัดทาํ แผนงาน สาธารณสขุ ระดบั ตน (ตอ)หนวยท่ี ๖ : การอาํ นวยการ การควบคมุ กํากบั งานและ การประเมนิ ผลการดําเนินงานหนว ยท่ี ๗ : การจดั สํานกั งานหนว ยท่ี ๘ : หลกั ประกันคณุ ภาพมาตรฐานการดาํ เนนิ งาน และการประเมนิ การดาํ เนินงานงาน การประกนั คณุ ภาพงานสาธารณสุขหนว ยท่ี ๙ : งานสารบรรณ สอบปลายภาค

การประเมินผลตรงตอเวลา, ครูพีเ่ ลี้ยง ๕ %, ๕ %รายงานกลมุ ๓๐ %รายงานสวนบุคคล ๑๕ %การมีสว นรว ม ๕%สอบกลางภาค ๒๐%สอบปลายภาค ๒๐ %มรี ะยะเวลาการศึกษา ไมตาํ่ กวา ๘๐ % (การเขา เรียน)มีผลการประเมินภาคทฤษฎี ไมตํา่ กวา ๖๐%ตดั เกรด A – C/D

การศึกษาคน ควา รายกลมุ (๓๐ %) ๑. กระบวนการบรหิ าร (๕ %) ๒. การบรหิ ารองคก ารสาธารณสขุ สว นกลาง สวนภมู ิภาคสว นทอ งถ่ิน และเขตบริการสขุ ภาพ (๕ %) ๓. การวิเคราะหปญหาการบรหิ ารงานสาธารณสขุ จัดลาํ ดับความสาํ คัญของปญ หา วเิ คราะหองคกรโรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตาํ บล 1 แหง กําหนดยทุ ธศาสตรองคก รเพือ่ แกไ ขปญหา (๑๕ %) ๔. Thailand 4.0 และ ยทุ ธศาสตรก ระทรวงสาธารณสุข 20ป (๕ %) 5

การศกึ ษาคน ควา รายบคุ คล (๑๕ %) ๑. เขียนโครงการแบบ Logical Framework ( ๕ %) ๒. เขยี นโครงการแบบ Conventional Project ( ๕ %) ๓. หนังสอื ราชการภายใน : เชญิ เขา รวมประชุม, เชญิ เปนประธานประชมุ , ขออนุมตั ิโครงการ หนังสอื ราชการภายนอก : เชิญวิทยากร, ขอรับการสนับสนนุ ....ในการจดั ทาํ โครงการ ( ๕ %) 6

การใหคําปรกึ ษาและแนะนําทางวชิ าการช่อื -สกลุ อาจารย สถานที่ทํางาน email เวลาใหค าํ ปรกึ ษา อ. หทั ยา hatayadrph@ องั คาร พธุ พฤหสั ภาควชิ าสาธารณสขุ ศาสตร gmail.com ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. เพ็ชรเจรญิ ช้ัน ๔ อาคารอินทนนิ เพลส 081-780-7255 จนั ทร อ.ประไพ อาคารอาํ นวยการ 090-764-7751 ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. นนั ทโกวฒั น ชน้ั ๑ หอ งประกนั คณุ ภาพ การศกึ ษา 7

8

หนว ยท่ี ๑ หลกั การบรหิ ารงานท่ีมคี วามสาํ คญั กบั การบริหารงานสาธารณสขุ 9

วตั ถปุ ระสงคร ายบท๑. บอกความหมาย ความสาํ คัญของการบริหารงานและการบรหิ ารงานสาธารณสุข๒. อธบิ ายขอบเขตและหลักการบรหิ ารงานสาธารณสุข๓. อธบิ ายแนวคิด ทฤษฎใี นการบริหาร๔. ประยุกตใ ชกระบวนการบรหิ ารกบั งานสาธารณสขุ ได 10

ขอบเขตเนอื้ หา๑. ความหมาย ความสําคญั ของการบริหารงานและการบรหิ ารงานสาธารณสขุ๒. ขอบเขตและหลักการบริหารสาธารณสขุ๓. แนวคดิ ทฤษฎีในการบรหิ าร๔. กระบวนการบรหิ ารงานสาธารณสุข 11

ความหมาย ความสําคญั ของการบรหิ ารงาน และการบรหิ ารงานสาธารณสขุ Copyright © Wondershare Software

ความหมายและความสาํ คัญของการบริหาร• มาจากภาษาลาติน “administatrae” หมายถงึ ชวยเหลอื(assist) หรอื อํานวยการ (direct)• ศิลปะในการทาํ งานใหบ รรลเุ ปาหมายรว มกบั ผอู ่ืน Peter F. Drucker• การทํางานของคณะบุคคลตัง้ แต 2 คนขึ้นไป ที่รวมกนั ดาํ เนนิ การใหบรรลวุ ัตถปุ ระสงคร วมกัน Herbert A. Simon 13

ความหมายและความสาํ คัญของการบริหาร• กิจกรรมทบ่ี ุคคลตง้ั แต 2 คนขน้ึ ไป รว มมือกันดาํ เนนิ การ เพื่อใหบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท ร่ี วมกันกาํ หนด โดยใชก ระบวนการอยา งมรี ะบบใชท รพั ยากร และเทคโนโลยตี า งๆอยา งเหมาะสม Barnard 14

ลักษณะของการบรหิ าร• เปนศาสตร และศิลป• เปน กระบวนการ เปนระบบ• มจี ดุ มุง หมาย• เนน บรรลคุ วามสําเร็จตามเปาหมาย• สําคัญตอองคการท้ังภายในและภายนอก 15

การบริหาร (Administration) เปนกระบวนการทเ่ี กย่ี วของกบั การกาํ หนดนโยบายแผนงาน และงบประมาณ ตลอดจนการกาํ กบั ดแู ล เพื่อใหแนใ จวาความสําเรจ็ ที่เกดิ ขึ้นสอดคลองกบั นโยบายและแผนที่วางไว ใชใ นองคกรของรัฐ ภาคราชการ การจัดการ (Management) เปนกระบวนการของการนาํ นโยบายและแผนงานไปปฏิบัติใหบ รรลตุ ามเปาหมายที่กําหนดในข้นั ของการบริหาร ใชใ นองคกรเอกชน ภาคธุรกจิ 16

การบรหิ ารงานสาธารณสขุPUBLIC HEALTH ADMINISTRATION หมายถึง การประยุกตศ าสตรแ ละศิลปในการบรหิ ารเพอื่ ใชท รพั ยากรสาธารณสขุ ใหเกดิ ประโยชนสูงสดุ เกดิ ความรวมมือของกลุมบคุ คล งานสาธารณสุขบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคทกี่ ําหนดไวอยา งมี ประสิทธิภาพ ประชาชนมีความสมบรู ณพ รอ มทัง้ รา งกาย จิตใจและความ เปนอยทู ีด่ ีในสงั คม 17

ความสําคัญของการบรหิ ารสาธารณสุข  ระบุปญ หาสาธารณสขุ ทส่ี าํ คญั  กําหนดนโยบายและต้ังเปาหมายของงานสาธารณสขุ ไดเหมาะสม  วางแผนการใชทรพั ยากรสาธารณสขุ ท่มี จี าํ กดั ไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ  งานสาํ เรจ็ บรรลุวัตถปุ ระสงคท ่ีกาํ หนดไวอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ  กําหนดมาตรฐานและปรับปรงุ คุณภาพ ใชท รพั ยากรสาธารณสขุ ทม่ี ีอยูจํากัด ใหเกดิ ประโยชนสูงสดุ กระจายไปสูประชาชนอยา งทว่ั ถึงและเทา เทียมกัน เพอ่ื บรรลุ วตั ถุประสงคข องการมสี ขุ ภาพดถี วนหนาของประชาชน 18

ขอบเขตและหลกั การบรหิ ารสาธารณสุข Copyright © Wondershare Software

ขอบเขตของการบรหิ ารสาธารณสุข  การสงเสริมสุขภาพ  การปองกันโรค  การรักษาพยาบาล  การฟนฟสู ภาพ 20

หลักการบรหิ ารสาธารณสุข ประสทิ ธิผล (Effectiveness) ….เปาหมาย ประสทิ ธิภาพ (Efficiency) ….ประหยดั ตน ทุน ทรัพยากร เวลา เทา เทียม (Equality) / เสมอภาค (Equity) ครอบคลมุ (Coverage) ซื่อสตั ยแ ละมีเกยี รติ (Honest and Honor)......จริยธรรม 21

22

หลกั การบริหารท่มี ีประสทิ ธภิ าพ (Edgar L Morphet)1. มเี อกภาพในการบงั คับบญั ชา (Unity of command)2. กาํ หนดมาตรฐานการทาํ งานทช่ี ัดเจน (Standardization)3. แบงฝา ย งาน และผูรบั ผดิ ชอบใหชดั เจน (Division of Labor)4. กระจายอาํ นาจและความรบั ผิดชอบใหแ กผ รู วมงาน (Delegation of Authority and Responsibility)5. กาํ หนดการควบคุมกํากบั การทํางานที่ชดั เจน (Span of control) 23

หลกั การบรหิ ารทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ6. มอบหมายการควบคุมดแู ลท่ีเหมาะสม (Stability)7. เปด โอกาสใหม กี ารเปลย่ี นแปลงใหม ๆ ในองคก าร(Flexibility)8. ทําใหค นในองคการเกดิ ความรูส กึ อบอนุ และปลอดภยั (Security)9. ยอมรบั นโยบายการบรหิ ารบคุ คลทีม่ คี วามสามารถ (Personnel Policy)10. ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านทัง้ สวนบคุ คลและองคก าร (Evaluation) 24

ปจจยั ท่มี ีอทิ ธพิ ลตอการบรหิ ารงานสาธารณสุข ปจ จยั ภายใน McKinsey 7s  Strategy วสิ ยั ทัศน พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร  Structure โครงสรางองคก ร  System ระบบการทํางาน  Staff บุคลากร  Skill ทกั ษะ ความรู ความสามารถ  Style รปู แบบการบรหิ ารจัดการ  Share Values คา นยิ มรว ม วฒั นธรรมองคกร 25

ปจจยั ท่มี ีอิทธพิ ลตอการบรหิ ารงานสาธารณสุขปจ จยั ภายนอก PEST HE P Policy ปจ จัยทางการเมือง E Economic ปจจัยทางเศรษฐกจิ S Social ปจ จัยทางสังคม ประชากร, การศกึ ษา T Technology H Health ปจจยั สขุ ภาพ E Environment ปจ จยั สิ่งแวดลอมแวดลอ ม สภาพภมู ิศาสตร, อุบตั ภิ ัยธรรมชาติ 26

แนวคิด ทฤษฎีในการบรหิ าร Copyright © Wondershare Software

ทฤษฎีการบรหิ าร ทฤษฎกี ารบรหิ ารจดั การในยุคเรมิ่ แรก ทฤษฎีการบรหิ ารจัดการแบบดัง้ เดิม แนวคดิ การบริหารจัดการเชิงมนุษยสมั พันธ ทฤษฎีการบรหิ ารจดั การรวมสมัย 28

ทฤษฎีการบริหาร ทฤษฎีการบริหารจัดการในยคุ เรม่ิ แรก ( EARLY MANAGEMENT THOUGHT) (อดตี – 1880) ธรุ กิจสวนบคุ คล ขนาดยอม เจา ของคนเดียว 29

Adam Smith ปฏวิ ัติความคิดดา นเศรษฐกิจ “The Wealth of Nation, 1776” อุตสาหกรรมทอผาเขาสโู รงงาน ผลดีของการแบง งาน (Division of Labors)  เกดิ ความชาํ นาญเฉพาะทาง (Specialization)  ประหยดั เวลาจากการเปลยี่ นงานยอ ยหนึง่ ไปอกี งานหนึ่ง  สรา งเคร่ืองมือชว ยเสริมการผลิต ประหยัดแรงงาน 30

Robert Owen (1771-1858) กาํ หนดอายขุ ั้นต่ําในการทาํ งานของคนงานใหสูงขน้ึ 31 ลดชัว่ โมงการทาํ งานของเด็กนอ ยกวาผใู หญ ลดชว่ั โมงการทํางานของคนงานทกุ คน จัดโรงอาหาร ชมุ ชน ทพ่ี กั อาศยั ทดี่ ีใหค นงาน จายผลตอบแทนตามผลงาน

Henry Robinson Towne (1844 – 1924) วศิ วกรเครื่องกลชาวอเมรกิ นั ประธานบรษิ ทั Yale & Towne manufacturing  นาํ เทคนิคการจดั การมาใชในโรงงานอยา งเปนระบบ  ศกึ ษาความรทู ส่ี ะสมมาของผูป ฏิบตั ิงาน และนาํ มา ถา ยทอดแกก นั 32

ทฤษฎีการบรหิ าร ทฤษฎีการบริหารแบบด้งั เดิม ( CLASSICAL MANAGEMENT THEORY ) (1880 – 1930) เนน การผลติ ขนาดใหญ ใชเคร่ืองจักร หาเทคนคิ ใหมๆจดั สรรทรัพยากร เพ่ิมประสิทธภิ าพการทํางาน 33

Frederick Winslow Taylor (1856-1915) Labor in Midvale Steel Company The Father of Scientific Management ศกึ ษาการทาํ งานแบบวิทยาศาสตร เพื่อ ปรบั ปรุงประสิทธิภาพการผลติ กาํ หนดมาตรฐาน (Standard) จากการทํางานจรงิ ทดลองอยางเปนระบบ (Training) ….การใชพ ลั่วตักของ หาวธิ ที ดี่ ที ่สี ดุ ในการทาํ งาน (Best way) เพ่ิมความชํานาญเฉพาะทาง (Specialization) แบงงานกันทํา (Division) 34

Frederick Winslow Taylor (1856-1915) สังเกตการใชพลวั่ : คนท่ีตักไดมากสดุ ชนดิ ของพลั่ว ความเร็ว ของการใชพ ลวั่ ระยะดงึ พล่วั ทง้ั แนวนอนและความสงู ผล : ลดจาํ นวนคนงาน ตักถานหินไดเ พ่มิ รายไดเ พ่ิม ตนทนุ ลด 4 Principles of management ทดลองวิธปี ฏบิ ัตหิ าวธิ ที ด่ี ที ี่สดุ Best practice......Benchmark รวบรวมวธิ ปี ฏบิ ตั ิใหม เปนมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน เลือกคนมที ักษะตรงภาระงาน (Put the right man to the right job) กําหนดระดบั ผลงานท่ยี ตุ ธิ รรม จดั ระบบรางวลั 35

The Gilberths (Frank Bunker Gilberth) Time and Motion study กําจดั ความส้ินเปลอื ง & ไมม ีประสิทธิภาพในการทํางาน The one best way to do work  การเคลือ่ นไหวในการทํางาน (Motion study)  ผงั กระบวนการทํางาน (Work flow Process Chart)  คน หาวธิ ีปฏิบตั งิ านทด่ี ีท่ีสุด  ลดกฎเกณฑการทาํ งาน  ประยุกตกฎเกณฑเ ขา กบั มาตรฐานของวธิ ีปฏบิ ัติ เพื่อเพ่ิม ผลผลติ ลดชว่ั โมงการทํางาน 36

W. Edwards Deming (1900- 1993) The Father of the Quality Evolution1. Find the best practice wherever it exists. Today we callit benchmarking.2. Decompose the task into its constituent elements. Wecall it business process re-design.3. Get rid of things that don't add value. Work out, we callit now. Deming 4 points: Total Quality Management PDCA 37

Henri J. Fayol (1841-1925) French mining engineer The Father of Administrative Management Formal Organization Theory (ทฤษฎีบริหารองคกรอยา งเปน ทางการ) เนน ตัวผปู ฏบิ ตั ิงาน & วิธีการทาํ งาน ใหไ ดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล 14 PRINCIPLES OF MANAGEMENT 38

PRINCIPLES OF MANAGEMENT1. Division of work แบงงานกันทาํ2. Authority & Responsibility อาํ นาจและความรบั ผิดชอบ3. Discipline อํานาจและความรับผดิ ชอบ4. Unity of command เอกภาพการสั่งการ5 Line of authority ลาํ ดบั ชนั้ ของอาํ นาจหนาท่ี6. Unity of direction เอกภาพในการอาํ นวยการ7. Subordination of individual interests to thecommand interest ผลประโยชนผูใตบังคับบญั ชาขนึ้ กับสวนรวม8. Remuneration of Personnel การตอบแทนบุญคณุ 39

PRINCIPLES OF MANAGEMENT9. Centralization รวมอํานาจการตัดสนิ ใจ10. Order ลําดบั11. Equity ความเทา เทยี ม12. Stability of tenure of personnel ความมน่ั คงในการทาํ งาน13. Initiative ความคดิ รเิ ริม่14. Esprit de cords ความสามัคคี 40

Henri J. Fayol (1841 1925)5 primary management functions : PODCC1. การวางแผนงาน (Planning) Leading2. การจดั องคการ (Organizing)3. การส่ังการ (Directing)4. การประสานงาน (Co-ordinating)5. การควบคมุ (Controlling) 41

Henry Laurence Gantt (1861-1919) Mechanical engineer Gantt Chart....management tool Pay Incentives GANTT CHART.....for planning & controlling คา จางขั้นต่าํ The Task And Bonus System 42

GANTT CHART (1910) 43

Luther Gulick & Lyndall Urwick (1891-1983) Management consultant POSDCoRB1. การวางแผนงาน (Planning)2. การจัดองคการ (Organizing)3. บริหารงานบคุ คล (Staffing)4. การอํานวยการ (Directing)5. การประสานงาน (Coordinating)6. รายงาน (Reporting)7. การเงนิ หรืองบประมาณ (Budgeting) 44

Max Weber (1864–1920)Philosopher, Political Scientist, Anti-War Activist, Journalist, Educator, Scholar,Sociologist, Economist, Literary Critic การบรหิ ารองคการในระบบราชการ 45 (Bureaucracy) ระเบียบขอ บังคบั ทีเ่ ปน ทางการ ( a formal system of rules) การแบง งานกนั ทํา (division of labor) โครงสรา งบงั คบั บญั ชา (hierarchical structure) โครงสรางอาํ นาจหนา ที่ (a detailed authority structure) การจางงานตลอดชีพ (lifelong commitment) ความมีเหตผุ ล (rationality) ไมน าํ ความรูส ึกสว นตวั มาเกยี่ วของ Impersonality

ทฤษฎีการบริหาร แนวคิดการบรหิ ารเชิงมนษุ ยสมั พนั ธ ( HUMAN RELATIONSHIP APPROACH) 1930 - 1960 ใชจิตวทิ ยาแกไขความขัดแยง ....... เนนคนเปนหลกั ความตอ งการ ความพึงพอใจ แรงจูงใจในการทํางาน 46

Mary Parker Follett (1868-1933)  win-win situation  Horizontal communication  Participative Management  Conflict Management ..1924การบรหิ ารจําเปนตองมกี ารประสาน 4 ชนิด ประสานงานตรงกบั ตัวผรู บั ผดิ ชอบ ประสานตั้งแตเรม่ิ แรก ในระยะวางแผน ประสานสรา งความสมั พนั ธในกิจกรรมท่ีทาํ การประสานงานที่กระทําเปน กระบวนการตอ เนอ่ื ง 47

Mary Parker Follett (1868-1933) หลักพืน้ ฐานการบรหิ าร  ความสําคญั ของการส่ือสารแนวระนาบ  การมสี ว นรว มในกระบวนการบริหาร  การตดั สินใจท่มี ีระบบ  การบรหิ ารทม่ี รี ะบบ 48

George Elton Mayo (1880-1949)industrial researcher, and organization theorist 1. Room Studies 2. Interview Studies 3. Observation Studies ”Hawthrone studies”1. กายภาพ VS ขวัญ กําลังใจ ความพึงพอใจในการทาํ งาน2. เงิน VS การจูงใจ ”Human motivation”3. สภาพทางกาย VS สภาพแวดลอ มการทํางาน4. พฤติกรรมคนงานถกู กาํ หนดโดย Teamความสัมพนั ธในกลมุ 49

Abraham Harold Maslow (1908-1970) Psychology professor...Brooklyn University Hierarchy of Needs 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook