Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประกวดนวัตกรรมภาคเรียนที่ 2 รุ่งทิวา กาฬภักดี

รายงานการประกวดนวัตกรรมภาคเรียนที่ 2 รุ่งทิวา กาฬภักดี

Published by r_picup, 2022-03-21 03:06:48

Description: รายงานการประกวดนวัตกรรมภาคเรียนที่ 2 รุ่งทิวา กาฬภักดี ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเนินขามรัฐประชานุเคราะห์

Search

Read the Text Version



ก คำนำ เอกสารฉบับน้ีได้จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นการนาเสนอผลงานหรอื นวัตกรรม วิธีการปฏิบัตงิ านที่เปน็ เลิศ (Best Practice) วิชา ภาษาไทยพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซ่ึงได้นาเสนอถึง ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรม สร้างสรรค์ผลงาน ส่ือสารสัมพันธ์ ผ่านกระบวนการนาเสนอ เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาจุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน กระบวนการพัฒ นาผลงาน ให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งได้นาเสนอผลการดาเนินงาน ปัจจัยความสาเร็จ บทเรียนที่ได้รับ และการ เผยแพร่ผลงาน เพ่ือเป็นเอกสารประกอบการคัดเลือกผลงานหรือนวัตกรรม วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิ ศ ผู้นาเสนอหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบับนี้คงจะช่วยอานวยความสะดวกให้กับคณะกรรมการ ประเมินผลงานหรือนวัตกรรม วิธีการปฏิบัติทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ไดเ้ ปน็ อย่างดี รุ่งทวิ า กาฬภกั ดี

ข สำรบญั หน้ำ ก เร่อื ง ข คานา 1 สารบญั 1. ความสาคญั ของผลงานหรือนวัตกรรมทน่ี าเสนอ 5 2. วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน 3. กระบวนการพัฒนาผลงาน/นวตั กรรม หรือขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 7 4. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ 5. ปจั จัยความสาเรจ็ 11 6. บทเรยี นทีไ่ ด้รับ (Lesson Learned) 17 7. การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรบั /รางวลั ท่ีได้รบั 18 8. ภาคผนวก 19 24 เอกสารอ้างอิง

1 รำยงำนกำรประกวดนวตั กรรม/วธิ ีปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practices) เพอื่ ส่งเสริมกำรพฒั นำศักยภำพผู้เรียนในโลกศตวรรษท่ี 21 (Chainat Innovation Awards) ปกี ำรศกึ ษำ 2564 ...................................... ชอื่ ผลงำน สรา้ งสรรค์ผลงาน สือ่ สารสัมพนั ธ์ ผ่านกระบวนการนาเสนอ เพ่อื พัฒนาทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศึกษา ชือ่ ผูเ้ สนอผลงำน นางสาวรุ่งทิวา กาฬภกั ดี ตาแหนง่ ครู โรงเรยี น เนินขามรัฐประชานเุ คราะห์ หมายเลขโทรศัพท์ 080-6639651 E-Mail [email protected] ประเภทผูส้ มัคร  สถานศึกษา  ผ้อู านวยการสถานศึกษา  รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา  ครูผู้สอน ประเภทนวัตกรรม  นวตั กรรมด้านการบรหิ ารจดั การ (สถานศึกษา/ผูอ้ านวยสถานศึกษา/รองฯ)  นวตั กรรมดา้ นการจัดการเรียนรูแ้ บบทั่วไป (ครผู สู้ อน)  นวตั กรรมด้านการจดั การเรยี นรู้แบบออนไลน์ (ครผู สู้ อน)

2 1. ควำมสำคญั ของนวตั กรรม/วธิ ปี ฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลิศ ภาษาไทย คือ ภาษาประจาชาติซ่ึงบ่งบอกถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นเคร่ืองมือใน การติดต่อสื่อสารเพื่อ สร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน กระบวนการสอนภาษาไทยเป็น การมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่จาเป็นในด้านของ การสื่อสาร การฟัง พูด อ่าน เขียน ให้มี ประสทิ ธภิ าพ โดยทง้ั หมดจะตอ้ งใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเข้าใจหลักภาษา และวรรณคดีไทยอย่างเห็นคุณค่า ในฐานะท่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ครูผสู้ อนจาเป็นทีจ่ ะต้องหาเทคนิค วิธีการเพ่ือจะให้นักเรียนได้เกิด ความรู้ความเขา้ ใจในเน้อื หาวิชามากยิง่ ข้ึน จากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ไดกาหนดแนวทางการจัดการศึกษา ปรากฏในหมวด ๔ มาตรา ๒๒, ๒๓ สรุปสาระสาคัญ คอื “การจดั การศึกษาตองยึดหลักผูเรียนวามีความสามารถเรียนรู และพัฒนาตนเองได และตองสงเส ริม ผูเรียนใหมีการพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ สวนการจัดการศึกษา ทั้งการศึกษา ใน ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีเน นความสาคัญท้ังความรู คุณธรรม กระบวนการ เรียนรู และบูรณาการตามความเหมาะสม ของแตละระดบั การศึกษา” ด้วยความสาคัญ ดงั กลา่ ว การคน้ หาวธิ กี ารสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั จงึ เป็นสิ่งที่ครูต้องดาเนินการจัดการเรียนการ สอนเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของนกั เรียน โดยเนน้ ใหผ้ ้เู รยี นไดล้ งมือปฏิบัติจริง ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทา ให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ และเกิดทักษะทางภาษาไทยได้ดีกว่าการฟังบรรยายจากครูผู้สอนเพียง อย่างเดยี ว การเรียนรู้ในกลุ่มสาระภาษาไทยนั้น มีทั้งหมด 5 สาระ ตามมาตรฐานตัวชี้วัด ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. ได้แก่ สาระการอ่าน สาระการ เขียน สาระการฟัง ดู พูด หลักการใช้ภาษาไทย และวรรณคดี วรรณกรรม ซ่ึงนักเรียน จาเป็นต้องเกิด ทักษะทางภาษา อันได้แก่ ทักษะการคิด ทักษะการอ่าน ทักษะการดูและฟัง ทักษะการเขียน และทักษะพูด ซึ่งในปัจจุบันนักเรียนส่วนใหญ่ยังขาดทักษะการใช้ภาษาที่ถูกต้อง และยังขาดความกล้าแสดงออก อีกท้งั ยงั ไมส่ ามารถประมวลความรู้มาปรบั ใช้ใหเ้ กิดทกั ษะได้ โรงเรียนเนินขามรัฐประชานุเคราะห์ ได้มีการวางแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ นักเรียน โดยใช้รูปแบบการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ และจากการท่ีโรงเรยี นเนินขามรัฐประชานุ เคราะห์ เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงทาให้คณะครูและนักเรียนได้ นาการใช้หลักคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในกระบวนการทางาน ผู้จัดทาจึงได้มี การออกแบบ โมเดลการสอน MESSAGE Model ท่ีสอดคล้องกับหลักการที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่ง เช่ือว่าการท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้ และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง โดยครูเป็นผู้วางแผนกิจกรรมอานวยการจดั กระบวนการเรยี นรูด้ ้วยส่อื ท่หี ลากหลาย เป็นแนวทาง ในการจุดประกายความคิดให้นกั เรียน จะทาให้ นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ และทาให้เกิดทักษะทางภาษาไทยได้ดีขึ้น ท้ังในด้าน ทักษะการฟัง ดู พูด การอ่าน การเขียน ผา่ นการสรา้ งผลงานและการนาเสนอ จากการให้นกั เรยี นนาความร้ทู ่ีครู เป็นผู้แนะนา ให้คาปรึกษา มาศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมด้วยตนเอง เกิดเป็นองค์ความรู้และมีเป็นของ ผลงานของผู้เรียน สามารถขยายเครือข่ายเป็นกระบวนการพี่สอนน้อง และสามารถนาเสนอเป็น

3 นิทรรศการหรือจัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี อีกท้ังนักเรียนจะมีทักษะการส่ือสารที่สามารถ นาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ จากการศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริง นักเรียนจะเข้าใจองค์ความรู้เกี่ยวกับหลัก ภาษาไทยได้ดีกว่าการรับความรู้จากครูเพียงอย่างเดียว นามาซ่ึงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง และองคค์ วามรู้ท่ีได้มาจากการปฏบิ ัติ 1.1 แนวคิด หลักกำรสำคัญที่เกี่ยวข้องกับผลงำนหรือนวัตกรรม สำมำรถอ้ำงอิงแนวคิด หลกั กำร ทฤษฎี รูปแบบ วิธีกำร ฯลฯ ทน่ี ำมำใชใ้ นกำรออกแบบผลงำน/นวัตกรรม 1.1.1 แนวคิดกำรสอนท่ีผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง Student-centered learning หรือ Child-centered learning) ทฤษฎีกา รเรียนรู้พบว่า มีรากฐ านมาจากปรัช ญาการศึกษาพิพัฒนนิยม (Progressivism) ซ่ึงมีนักปรัชญาคนสาคัญคือ Dewey (1859 – 1952) สาหรับ Dewey น้ัน เขามี แนวคิดสรุปได้ว่า มนษุ ย์เปน็ สัตวส์ งั คมและเรียนรูจ้ ากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่างๆ ร่วมกับผูอ้ น่ื และการ เรียนรู้จะเกิดข้ึนก็ต่อเม่ือบุคคลได้รับเสรีภาพ ในการเข้าไปร่วมทากิจกรรมที่มีความหมายต่อตนเอง ดังน้ันความรู้ในแนวคิดของ Dewey จึงเกิดขึ้นจากการที่บุคคลประยุกต์ใช้ประสบการณ์เดิมในการ ดาเนินการแก้ปัญหาใหม่ (Rowe, 2010: online) การจัดการศึกษาจึงควรมุ่งเน้นการให้ความสาคัญ กับ “กระบวนการเรียนรู้” (learning process) ของนักเรียน มากกว่าความรู้หรือความสามารถท่ี ครมู ี นกั เรยี นจะต้องได้รับการสนบั สนุนหรอื สง่ เสรมิ ให้ใช้กระบวนการสรา้ งประสบการณ์ จากการได้ ลงมือปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกระตุ้นให้ผู้เรียนต้ังคาถามจากข้อมูลหรือประสบการณ์ใหม่ที่ ได้รับ เพื่อนาไปสู่การใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ นักเรียนตามแนวคิดของปรัชญาน้ี จึงเป็นทั้งนักแก้ปัญหา (problem solver) และนักคิด (thinker) โดยครูมีบทบาทในการจัดหรือ เตรียมประสบการณ์ท่ีมีความหมายแก่นักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ (learn by doing) 1.1.2 ทฤษฎรี ะบบ ( Systems Theory ) ให้แนวคิดว่าแต่ละส่ิงย่อมอยู่ในเอกภพ (The Universe) ส่ิงเล็ก / ใหญ่เพียงใดล้วนเป็น หน่ึงหน่วยระบบมีวงจรของการทางาน มีปัจจัยนาเข้า ( ปัจจัยการผลิต ) กระบวนการ มี ผลผลิต นาไปสู่ผลลัพธ์อย่าง เป็นระบบ ผลผลิตรวมย่อมเกิดจากการประสานงานกันหลาย ๆ ระบบ แต่ละ หน่วย มีระบบการทางานตามบทบาทหน้าที่ท่ีแตกต่างกัน ผลผลิตจะไหลจาก หน่วยการผลิต (กระบวนการ ) หนึ่งไปสู่อีกหน่วยการผลิต หรือกระบวนการ หน่ึงอย่างครบวงจร ไม่มีท่ีสิ้นสุด แต่ละ สง่ิ ในเอกภพมีความเป็นระบบตามมติ ติ ่างๆ กนั ในเวลาเดยี วกัน (Checkland. 1981 : 35) 1.1.3 กระบวนกำรสอ่ื สำร (Communication Process) กระบวนการสอ่ื สาร การสอื่ สารเปน็ การส่งผา่ นข้อมูล การแลกเปล่ยี น ความคิด หรือกลา่ ววา่

4 เปน็ กระบวนการทีบ่ ุคคลสองฝ่าย แบง่ ปันความหมายให้กันและกันได้ทราบ เพอื่ ใหม้ ีความคิด ตรงกนั ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซ่ึงการทาให้เข้าใจตรงกันไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะ กระบวนการส่ือสาร มักมีความสลับซับซ้อน ความสาเร็จของการส่ือสารข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ลักษณะของสาร การตีความสาร และ สภาพแวดล้อมเมื่อได้รับสาร การรับรู้ของผู้รับสารท่มี ีต่อแหลง่ ที่มาของสาร และสอื่ ทใ่ี ชใ้ นการสง่ สาร กระบวนการส่อื สาร มีองค์ประกอบ 1) ผู้สง่ สาร (Sender) หรอื แหลง่ กาเนิดสาร (Source) อาจเปน็ บคุ คลหรอื หนว่ ยงา ท่มี ขี อ้ มูลท่ีจะแบง่ ปนั ให้กบั ผู้อื่น 2) การเข้ารหัส (Encoding) เป็นการแปลง ความคิดหรือข้อมูลให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ เพื่อใหผ้ รู้ บั สารเข้าใจ เชน่ เลือกคาพดู สัญลักษณ์ ภาพ 3) สาร (Message) คอื ส่งิ ที่สง่ ไปยงั ผรู้ บั สาร อาจเป็นคาพูดหรือถ้อยคาที่เรยี กวา่ วัจนภาษา (Verbal Language) หรือไม่อยู่ในรูปคาพูด ที่ เรียกว่า อวัจนภาษา (Nonverbal Language)สารอาจเปน็ การพูดหรือการเขยี น หรอื สญั ลักษณ์ (Symbol) หรือเครอ่ื งหมาย (Sign) กไ็ ด้ สัญลักษณ์หลายประเภทมีความเปน็ สากล 4) ชอ่ งทาง (Channel) หมายถงึ วิธกี ารใน เคล่ือนย้ายสารจากผู้ส่งไปยงั ผู้รบั 5) ผู้รับสาร (Receiver) เป็นผู้ท่ีผู้ส่งสารต้องการให้ ทราบความคิดหรือข้อมูล โดยท่ัวไป เปน็ ผ้บู ริโภคเปา้ หมาย 6) การถอดรหัส (Decoding) เป็นกระบวนการ เปล่ียนและตีความสารท่ีได้รับ ซึ่งจะถูก กระทบโดยกรอบ อ้างอิง หรือเขตประสบการณ์ หรืออาณาบริเวณของความ เข้าใจ รวมถึงทัศนคติ การรบั รู้ พฤตกิ รรม และประสบการณ์ 7) สิ่งรบกวน (Noise) คือ อิทธิพลจากปัจจัย ภายนอกท่ีอาจทาให้การรับสารผิดพลาดไป เช่น เสียง โทรศัพท์ คนไอ เพื่อนถามเราขณะอาจารย์กาลังสอน ผู้ส่ือสารต้องทาให้การสื่อสารถูก รบกวนนอ้ ยทส่ี ดุ 8) การตอบสนองหรือการป้อนกลับ (Response) หรือ (Feedback) เป็นปฏิกิริยาของ ผู้รับสารหลังจากท่ีได้เห็น ได้ยิน หรือได้อ่านสาร แล้ว การตอบสนองของผู้รับสาร อาจมองไม่เห็น เชน่ บันทึกขอ้ มูลไปในสมอง หรอื อาจมองเห็น เชน่ การ โทรศัพท์ส่งั ซื้อสนิ ค้าที่เห็นทางโทรทัศน์ 1.1.4 กำรศึกษำคน้ คว้ำด้วยตนเอง (Independent Study : IS) การให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง “Independent Study : IS” นับเป็น วิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งท่ีใช้กันอย่างกว้างขวางในการพัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการเปิดโลก

5 กว้างให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเร่ืองหรือประเด็นท่ีตนสนใจ เริ่มตั้งแต่การกาหนด ประเด็นปัญหา ซ่ึงอาจเป็น Public Issue และ Global Issue และดาเนินการค้นคว้าแสวงหา ความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย มีการวิเคราะห์ สังเคราะหการอภิปรายแลกเปล่ียนความ คิดเหน็ เพ่อื นาไปสูก่ ารสรปุ องคค์ วามรู้ จากน้ันกห็ าวิธีท่เี หมาะสมในการส่อื สารนาเสนอให้ผูอ้ ื่นได้รับ ทราบ และสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าไปทาประโยชน์แก่สาธารณะ ซ่ึงสิ่งเหล่านี้ เป็นกระบวนการที่เชือ่ มโยงต่อเนือ่ งกนั ตลอดแนว ภายใต้ “การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study : IS) 1.1.5 หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง (Philosophy of Sufficiency Economy) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จากองค์การสหประชาชาติ (UN)โดยนาย โคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาที่สามารถเร่ิมได้จาก การสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ในตนเอง สู่หมบู่ า้ น และส่เู ศรษฐกจิ ในวงกว้างขึ้นในที่สุด เป็นปรัชญาท่มี ีประโยชน์ ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่องค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ ที่เป็น สมาชิก 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่รัชกาลท่ี 9 น้ี นับว่าเป็น แนวคิดสาคัญท่ีสุดในการสอนคน ซึง่ น ามาประยกุ ต์ใช้กับการปฏบิ ตั ิตนไดใ้ นทกุ ระดบั โดยเน้นการ ปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยคุณลักษณะ 3 ประการ และเงื่อนไข 2 ประการ หรือท่ี เรียกว่า 3 หลกั การ 2 เงือ่ นไข คอื 1) 2 เงอ่ื นไข -เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องสร้างเสริมให้เป็นพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ด้านจิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี ซ่ือสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและ เหมาะสมในการดาเนินชีวิต และด้านการกระทา คือมีความขยันหม่ันเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี้ รูจ้ กั แบ่งปนั และรับผดิ ชอบในการอยูร่ ว่ มกับผอู้ ื่นในสงั คม - เงื่อนไขควำมรู้ ประกอบด้วยการฝึกตนให้มีความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบ และความระมัดระวังท่ีจะนาความรู้ต่าง ๆ เหล่านั้นมา พจิ ารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และในขัน้ ปฏิบัติ 2) หลกั กำร -ควำมพอประมำณ หมายถึง ความพอดีต่อความจาเป็น และเหมาะสมกับฐานะของ ตนเอง สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม รวมทง้ั วัฒนธรรมในแตล่ ะท้องถ่นิ ไม่มากเกินไป ไมน่ อ้ ยเกนิ ไป และต้อง ไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผู้อนื่

6 -ควำมมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดาเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลัก วิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ี เกีย่ วขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลทค่ี าดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทานั้น ๆ อยา่ งรอบรู้และรอบคอบ -มภี ูมิคุม้ กนั หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและการเปล่ยี นแปลงในด้าน ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม เพ่ือให้สามารถปรับตัวและ รบั มือไดอ้ ย่างทนั ท่วงที 3) 4 มติ ิ -ด้ำนเศรษฐกิจ ลดรายจ่าย / เพิ่มรายได้ / ใช้ชีวิตอย่างพอควร / คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ / มีภูมคิ ุ้มกนั / ไม่เส่ียงเกินไป / การเผ่ือทางเลือกสารอง -ดำ้ นสังคม ชว่ ยเหลอื เก้ือกลู / รูร้ ักสามคั คี / สร้างความเขม้ แขง็ ให้ครอบครัวและชุมชน -ด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างรู้ค่าและเกิด ประโยชน์สูงสดุ / ฟ้ืนฟทู รัพยากรเพื่อให้เกิดความยัง่ ยนื สูงสุด -ด้ำนวัฒนธรรม รักและเห็นคุณค่าในความเป็นไทย เอกลักษณ์ไทย / เห็นประโยชน์และคุ้มค่าของภูมิปัญญา ไทย ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น / รู้จกั แยกแยะและเลือกรบั วฒั นธรรมอืน่ ๆ 2. วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปำ้ หมำยของกำรดำเนินงำน 2.1 วตั ถปุ ระสงค์ของกำรดำเนนิ งำน 1) เพ่ือพัฒนาความรู้ ความเขา้ ใจในการเรยี นภาษาไทย จากการค้นควา้ ของนกั เรยี น โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา 2) เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษา และการนาเสนองานหนา้ ช้ันเรยี น ของนักเรยี น 3) เพือ่ พัฒนาความสามารถในการสรา้ งสื่อ และผลงานในรายวชิ าภาษาไทย ของครู และนักเรียน 4) เพ่อื สร้างเจตคติทด่ี ีของนักเรยี นในการเรียนวชิ าภาษาไทย 2.2 เป้ำหมำยของกำรดำเนินงำน 1) ผู้เรียนสามารถสร้างส่ือภาษาไทย ที่เกิดจากการค้นคว้าและตกผลึกทางความคิด ของนกั เรียน โดยมีครูเป็นผทู้ ีป่ รึกษา ใหค้ าแนะนา 2) ครูได้กระบวนการมาพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนและสร้างสื่อภาษาไทยในการ เรียนการสอน 3) ผบู้ ริหารไดแ้ นวทางในการพฒั นากลยทุ ธ์นามาบริหารสถานศึกษา 4) สถานศึกษาไดร้ ับการยอมรับจากชุมชน และเป็นแนวทางใหส้ ถานศกึ ษาอน่ื ๆ

7 3. ข้นั ตอนกำรดำเนนิ งำนพฒั นำนวตั กรรม ในการเรยี นรรู้ ายวิชาภาษาไทย ผจู้ ัดทาไดม้ แี นวคิดในการพัฒนา กระบวนการ จดั การเรยี นการ สอนโดยปรบั ประยุกต์ ทฤษฎีการสอนสร้างเปน็ Model การศกึ ษา ซ่ึงอาศยั ปจั จยั สนับสนนุ ต่าง ๆ ตลอดจนนาหลักการทางานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใชใ้ หก้ ารดาเนนิ งานให้ประสบ ความสาเร็จและเกิดเป็นองค์ความรู้อยา่ งยง่ั ยืน โดยใช้ชือ่ ผลงาน“สร้างสรรคผ์ ลงาน สอ่ื สารสมั พันธ์ ผา่ นกระบวนการนาเสนอ เพ่ือพฒั นาทกั ษะทาง ภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ นการศกึ ษา” ซงึ่ มี รปู แบบกระบวนการทางานดังนี้ ภำพที่ 1 แสดงกำรใช้นวตั กรรมเพอ่ื กำรพัฒนำคุณภำพผู้เรยี น MESSAGE MODEL 3.1ขน้ั ตอนท่ี 1 M : Motivation: จุดประกำยควำมคิดสรำ้ งแรงจูงใจ 1) บทบำทของครู ครจู ุดประกายความคิดและหาวธิ ีการสร้างแรงจูงใจให้กับนกั เรยี นในการ เรียนการสอนตลอดจนไปถงึ การสร้างสอ่ื การเรยี นรู้ 2)บทบบำทของนกั เรยี น นักเรยี นสร้างแนวทาง จุดประกายความคดิ ในการเรียนและการ สรา้ งสรรคผ์ ลงาน 3.2 ขัน้ ตอนที่ 2 E :Education: ศกึ ษำคน้ ควำ้ 1) บทบำทของครู ครศู ึกษาหลกั การ ทฤษฎเี บ้อื งต้น และวธิ ีการสร้างส่อื การสอนที่ เหมาะสม โดยยึดนกั เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง สอนนักเรยี นในชัน้ เรียน และแนะนาการสร้างผลงานของ นกั เรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั เนือ้ หาท่สี อน

8 2) บทบำทของนักเรยี น นักเรียนศกึ ษาค้นคว้าความรเู้ พ่ิมเติมจากประเดน็ ที่ครูแนะนา และสอนในห้องเรียนเพือ่ สร้างสรรค์เป็นผลงาน และประมวลความรู้ทีจ่ ะนามาจัดทาผลงาน 3.3 ขัน้ ตอนที่ 3 S : Social: กำรรวมกล่มุ กำรทำงำนรว่ มกัน 1) บทบำทของครู ครูนาแนวทางการสอนทา PLC รว่ มกับครใู นกล่มุ สาระ และต่างสาระ การเรยี นรเู้ พื่อจะได้แลกเปลย่ี นเรียนรทู้ าให้ได้กระบวนการที่ดที ่สี ุดมาใชใ้ นการสอน 2) บทบำทของนักเรียน นักเรยี นแบง่ กลุ่มนักเรยี น เพื่อให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้การทางาน ร่วมกัน โดยมกี ารแบ่งหน้าท่กี ารทางานในกลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มจะมหี นา้ ท่ีอย่างชดั เจน มีการ แลกเปล่ียนความคิดพร้อมกบั การระดมสมอง เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีหลากหลายจากทกุ คนในกลมุ่ 3.4 ขน้ั ตอนที่ 4 S :Show&share : นำเสนอผลงำน นกั เรียนนาเสนอผลงาน/โครงงาน ทไ่ี ด้จากการคน้ ควา้ และจากคาช้แี นะของครู โดยใช้ทักษะและกระบวนการสอ่ื สารทางภาษาที่ถูกตอ้ ง ในการนาเสนอ โดยในการทุกการสร้างสรรคผ์ ลงาน นกั เรียนจะได้ใช้ความรูม้ าประยกุ ต์เป็นทักษะท้งั การอา่ น การเขียน การพดู และทักษะการนาเสนอ นักเรียนจะได้ใชเ้ กิดกระบวนการเรียนรู้และ ความคดิ สรา้ งสรรค์จากทาผลงานและการนาเสนอผลงาน โดยครูจะให้อสิ ระในการนาเสนอและกา

9 สรา้ งผลงาน โดยวางแนวทางใหน้ ักเรยี นนาความรู้ไปประยุกต์ทาออกมาเปน็ สื่อ หรอื ผลงานอย่าง สรา้ งสรรค์ ข้ันตอนที่ 5 A :animadvert: ให้ขอ้ เสนอแนะแสดงควำมคดิ เห็น ครูและนักเรียน ร่วมกันสรปุ และให้ข้อเสนอแนะในการนาเสนอผลงานร่วมกนั ครูและนักเรียนสรุปผลทไ่ี ดจ้ ากสื่อ/ ผลงาน/โครงงานตามหลักการและทฤษฎีท่ถี ูกต้อง ภายใตแ้ นวคิดการแสดงความคดิ อย่างอสิ ระตาม ความเข้าใจของแต่ละบุคคล โดยจะใหน้ ักเรียนอกี กลมุ่ แสดงความคดิ เห็นในการนาเสนอผลงานของ เพ่อื นอีกกล่มุ ข้นั ตอนที่ 6 G :Gratify:สร้ำงควำมภำคภมู ิใจด้วยกำรขยำยผล: นักเรียนเกิดความ ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนเอง และต่อยอดไปถงึ การพัฒนาผลงาน การจดั คา่ ยภาษาไทย นกั เรียนชั้น มธั ยมปลายสามารถเป็นพีเ่ ลยี้ งหรือวิทยากรให้น้อง ๆ ไดจ้ ากการสร้างองค์ความรขู้ องนกั เรียน หรือ สามารถจดั นิทรรศการนาเสนอผลงานได้ และมคี วามเขา้ ใจในองค์ความรู้ท่ตี นพัฒนาข้ึนเปน็ ผลงาน ไมว่ ่าจะเป็นส่ือการเรยี นการสอน หรอื โครงงานท่นี ักเรยี นค้นคว้าดว้ ยตนเอง และส่ิงที่ครูสอนหรอื แนะนา เช่น การจัดนทิ รรศการในศูนย์การเรยี นรูภ้ าษาไทย ในการประเมินศูนย์การเรียนรตู้ ามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นส่วนหนึ่งทส่ี ง่ ผลใหโ้ รงเรยี นได้รบั การประเมินผา่ นเปน็ ศูนย์การ เรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

10 ข้นั ตอนที่ 7 E :Evaluate : ครูและนักเรียนร่วมกันประเมนิ ผลส่ือกำรเรียน กำรสอน/ โครงงำนของนักเรียน นาผลท่ไี ดม้ าพฒั นาต่อไป โดยมีการสรปุ ผลเปน็ การถอดบทเรียนตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึง่ เปน็ หลักการทางานท่ีสาคัญ อนั ส่งผลให้นักเรียนดาเนินไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ กำรใช้หลักกำรดำเนนิ งำนตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดำ้ นกำรศกึ ษำ เง่อื นไขควำมรู้ เงื่อนไขคณุ ธรรม 1. ครแู ละนกั เรยี นศึกษาความรู้เกย่ี วกับ 1. การทากิจกรรม ครูและนกั เรียนมี หลักภาษา ทฤษฎีการสือ่ สาร และทฤษฎี ความตรงต่อเวลา เกยี่ วกับระดับภาษาไทย 2. ใฝ่เรยี นใฝร่ ู้ มคี วามรับผดิ ชอบ 2. ครแู ละนักเรียนศึกษากระบวนการทา 3. ความอดทน มีความสามัคคี โครงงาน/สือ่ /ชนิ้ งานตามหลักการท่ีถูกต้อง ชว่ ยเหลือ รบั ฟังความคิดเห็นกนั และกนั มเี หตุผล พอประมำณ มภี ูมิคุ้มกัน 1 . นักเรียนควร 1. ครูจัดองคค์ วามรูท้ ี่ 1. ครมู กี ารวางแผนในการ ได้รับการพัฒนากระบวนการ เหมาะสมกับผเู้ รยี นและ จัดการเรียนการสอน ในการเรียนร้ใู นรายวิชา หากจิ กรรมที่นักเรียนให้ เพือ่ ไมใ่ ห้เกดิ ความ ภาษาไทย ความสนใจ ผดิ พลาดในการสอน 2. ครูถา่ ยทอด ส่ง 2. นักเรียนค้นคว้าความรู้ 2. นกั เรยี นมกี ารฝึกซ้อม ตอ่ ความรูแ้ ละสร้างส่ือเพื่อ เพ่มิ เติมให้เพยี งพอตอ การนาเสนอเพ่ือให้เกดิ ปรับใชใ้ นการเรยี นการสอน การสรา้ งสรรค์ผลงาน ความชานาญและลด ใหก้ บั นกั เรยี น และการนาเสนอผลาน ความผดิ พลาด

11 วตั ถุ สังคม ส่งิ แวดล้อม วัฒนธรรม 1.ครูสรา้ งสือ่ และคิด 1. ครแู ลกเปลยี่ น 1.มีการจดั บรรยากาศ 1.มกี ารสร้างวัฒนธรรม นวัตกรรมการสอน เรยี นรู้วธิ กี ารสอนกับ ในการเรยี นให้ ด้านการเรยี นรู้ โดยยึด เพอ่ื พฒั นาทักษะของ ครูในกลมุ่ สาระการ เหมาะสมและนา่ เรยี น ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ให้ นักเรียน เรยี นรูแ้ ละครูตา่ งกลมุ่ นกั เรยี นเป็นผู้ปฏบิ ตั ิจรงิ สาระการเรียนรู้ 2.หอ้ งเรยี นสะอาดน่า มีการใชท้ ักษะทางภาษา 2.นักเรยี นสรา้ ง เรยี นรู้เกบ็ อปุ กรณ์ อย่างครบถว้ นในการ ผลงานและนาเสนอ 2.นกั เรยี นมีการ การเรยี นทกุ คร้ังหลงั เรยี นแต่คร้ัง และมกี าร ผลงาน รวมกลมุ่ และแบ่ง จบการเรยี นการสอน สรุปและถอดบทเรยี น หนา้ ทก่ี นั ทางาน ทกุ คร้งั 4. ผลกำรดำเนนิ งำน/ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ การนานวัตกรรมการสอน เร่ือง “สร้างสรรค์ผลงาน ส่ือสารสัมพันธ์ ผ่านกระบวนการนาเสนอ เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” มาใช้ในการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย ส่งผลให้ผู้เรียน ครู ผู้บริหารและ สถานศกึ ษาได้รบั รางวลั มากมาย จนเกดิ ภาพความสาเร็จดังน้ี 1) ครูได้สร้างส่ือนวตั กรรม และวธิ กี ารจดั การเรียนการสอนที่เหมาะสม 2) นกั เรยี นได้ผลงานทสี่ รา้ งจากการนาความรู้มาประยุกตเ์ ปน็ ส่ือนวตั กรรม 3) นักเรียนเกิดทักษะทางภาษาไทย และมีความรู้ความเข้าใจหลักภาษาไทยโดยการ ปฏิบัตจิ รงิ 4) นักเรียนเกิดทักษะการนาเสนอท่ีถูกต้อง และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และการนาเสนอนทิ รรศการต่าง ๆได้ 5) นักเรียนเกดิ เจตคตทิ ่ีตอ่ การเรียนวิชาภาษาไทย 5) สถานศึกษาได้มีนวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพ มีผลการ ประเมินอยใู่ นระดบั ดี 6) รว่ มจดั นิทรรศการ ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้าน การศกึ ษา โรงเรยี นเนนิ ขามรัฐประชานเุ คราะห์

12 ภำพ สอื่ กำรสอนของครูผสู้ อน

13 ภำพ: ตัวอย่ำงผลงำนนักเรยี น ภำพ: กำรนำเสนอผลงำนของนักเรยี น

14 ภำพ: ศูนย์กำรเรยี นรู้ ประเมนิ ศนู ยก์ ำรเรียนร้ตู ำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

15 ตำรำงที่ 1 ตำรำงเปรียบเทียบค่ำพัฒนำกำร จำกกำรทำแบบทดสอบ รำยวิชำภำษำไทย ระดับชั้นมธั ยมศึกษำ ปที ่ี 5 ลาดบั ชื่อ – นามสกลุ กอ่ นเรยี น หลงั เรยี น ผลตา่ ง 1 นางสาวชนพัฒน์ ทองสุข 9 14 5 2 นางสาวนรมน พรหมรงั ษี 8 12 4 3 นางสาวปวีณน์ ุช หลม่ิ อยู่ 11 17 6 4 นางสาวเปมกิ า การภักดี 9 14 5 5 นางสาวสุชญั ญา หยวกปญุ มา 8 13 5 6 นางสาวสุชาวดี เปรมจิตต์ 12 16 4 7 นางสาวสภุ มาศ ภมรพล 5 9 4 8 นางสาวอดิศา รตั นสามงาม 11 19 8 9 นางสาวอรสา พมุ่ จาปา 10 13 3 10 นายกฤษฎ์ิ โพธทิ์ อง 4 5 1 11 นายชยตุ รา โทหนอ่ 10 13 3 12 นายปุญญพฒั น์ วงศท์ องทวที รัพย์ 5 9 4 13 นายพนั กร ม่วงโสด 2 4 2 14 นายภูดินนั ท์ เนตรสวา่ ง 9 14 5 15 นายยศพร ห้วยคต 11 15 4 16 นายรพีพนั ธ์ เพช็ ร์ไทย 9 14 5 17 นายหงษส์ พุ รรณ ขันตี 13 17 4 18 นางสาวกุลธิดา ศรเี ดช 8 12 4 19 นางสาวขนษิ ฐา รอดทอง 6 10 4 20 นางสาวธิญาดา มโนธรรม 9 15 6 21 นางสาวนติ ยา ทพิ ยส์ งิ ห์ 10 16 6 22 นางสาวพชิ ญาวี เวยี งจันทร์ 8 13 5 23 นางสาววราภรณ์ คนชยั ภมู ิ 10 15 5 24 นางสาววชิ ญาพร พ่มุ จาปา 9 12 3 25 นางสาวสรัสวดี ดียิ่ง 12 17 5 26 นางสาวโสภิตนภา ทาเอ้ือ 11 15 4 27 นางสาวธญั ชนก แตงนม่ิ 6 8 2

16 จากตารางสามารถสรุปได้ว่า หลงั จากผ่านกระบวนการสอนในระบบออนไลน์ โดยใช้ FINMA โมเดล ปรากฏวา่ นักเรียนมีค่าพฒั นาการกอ่ นเรียน หลังเรียน ทีเ่ พมิ่ ขึ้น จงึ สรปุ ได้วา่ 1) นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 27 คนร้อยละ 80 มีกระบวนเรียนรู้ ทางภาษาเพ่มิ ขน้ึ จากการจดั การเรยี นรู้“สรา้ งสรรคผ์ ลงาน ส่อื สารสัมพันธ์ ผา่ นกระบวนการนาเสนอ เพ่ือพัฒนาทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” ซ่ึงเป็นตวั อย่างหน่ึงจาก หลายระดบั ช้ันทไ่ี ดท้ ีไ่ ด้นาไปใช้ ผู้จัดทาได้ดาเนนิ การสรา้ งแบบวดั เจตคติของนกั เรียนต่อวชิ าภาษาไทยโดยมีลาดบั ขัน้ ตอน การสร้างดังน้ี ศกึ ษาเทคนิคการสรา้ งแบบสอบถามวัดเจตคติจากเอกสารตา่ งๆ สรา้ งแบบวัดเจตคติของนักเรียน ทม่ี ีต่อวชิ าภาษาองั กฤษจานวน 15 ข้อ โดยใช้มาตราสว่ น ประมาณคา่ 5 ระดบั ตามวิธกี ารของ Likert ซึง่ มตี วั เลือกใหเ้ ลอื ก 5 ข้อ โดยถือเกณฑ์น้าหนกั ใน การใหค้ ะแนนตัวเลือกของข้อคาถามประเภทบวกและประเภทลบดังน้ี (บุญเรียง ขจรศิลป์, 2530) ขอ้ คาถามประเภททางบวก ขอ้ คาถามประเภททางลบ Favorable Statement Unfavorable Statement เหน็ ดว้ ยอย่างย่ิง ให้ 5 คะแนน ไมเ่ หน็ ด้วยอย่างยิง่ ให้ 5 คะแนน เห็นด้วย ให้ 4 คะแนน ไม่เห็นดว้ ย ให้ 4 คะแนน ไม่แน่ใจ ให้ 3 คะแนน ไมแ่ นใ่ จ ให้ 3 คะแนน ไม่เหน็ ดว้ ย ให้ 2 คะแนน เห็นด้วย ให้ 2 คะแนน ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ให้ 1 คะแนน เห็นด้วยอยา่ งยิ่ง ให้ 1 คะแนน กาหนดเกณฑใ์ นการคดิ คะแนนเฉลี่ยของแบบสอบถามตามเกณฑ์ของ ศกั ดช์ิ ัย เสรรี ัฐ (2530) ดงั นี้ ถ้าคะแนนเฉลยี่ มีค่านอ้ ยกว่า 1.55 แสดงว่ามเี จตคติทไ่ี มด่ อี ยา่ งมากต่อวชิ าภาษาไทย ถ้าคะแนนเฉล่ียระหว่าง 1.56 – 2.55 แสดงวา่ มีเจตคติที่ไม่ดตี ่อวชิ าภาษาไทย ถ้าคะแนนเฉลย่ี ระหวา่ ง 2.56 – 3.55 แสดงวา่ มเี จตคติปานกลางต่อวิชาภาษาไทย ถ้าคะแนนเฉลี่ยระหวา่ ง 3.56 – 4.55 แสดงวา่ มเี จตคติท่ีดตี อ่ วชิ าภาษาไทย ถา้ คะแนนเฉลยี่ มากกวา่ 4.55 แสดงวา่ มีเจตคติท่ีดีอยา่ งมากต่อวิชาภาษาไทย

17 ตำรำง 2 แสดงผลกำรวิเครำะห์แบบสอบถำมวัดเจตคตขิ องนักเรียนท่ีมตี ่อวชิ ำภำษำอังกฤษ ความคิดเห็นของนักเรยี น คา่ เฉลย่ี 1. วชิ าภาษาไทยเป็นวชิ าทีน่ ่าสนใจ 4.11 2. ข้าพเจา้ รู้สกึ หงุดหงิดเม่ือเรียนภาษาไทย 3.43 3. การเรียนวชิ าภาษาไทยเป็นส่งิ ทีน่ ่าเบ่อื หนา่ ย 3.72 4.วิชาภาษาไทยเป็นวิชาท่ที าใหเ้ กิดความสนกุ สนาน 3.57 5.ข้าพเจ้าไมส่ บายใจทกุ คร้ังเมอ่ื เรยี นภาษาไทย 3.70 6.การจัดกระบวนการเรียนด้วยการสรา้ งสรรคผ์ ลงานและการนาเสนอทาใหเ้ ปน็ คนกล้าแสดงออก 3.58 7. การสร้างสรรคผ์ ลงานและการนาเสนอผลงานทาใหเ้ กิดทักษะการใชภ้ าษา 4.13 8. ข้าพเจ้าสามารถถา่ ยทอดความรู้ท่ีได้รับให้กับเพอ่ื น และนอ้ ง ๆ ได้ 4.14 9. ข้าพเจ้ารูส้ กึ สนกุ และสนใจในการสร้างผลงานทีป่ ระยุกต์ความรู้จากการเรยี นภาษาไทย 3.31 10. วิชาภาษาไทยเปน็ วชิ าท่ีเรียนรูไ้ ด้ยากมาก 3.06 11.วิชาภาษาไทยทาให้เกดิ ความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ 3.47 12. ขา้ พเจ้าสามารถสร้างผลงาน และนาเสนองานได้อยา่ งถูกต้องตามกระบวนการ 3.55 13. ขา้ พเจ้าสามารถนาเสนองานได้ ดว้ ยการใชภ้ าษาทถ่ี ูกต้อง 4.31 14. ข้าพเจา้ สามารถจัดนิทรรศการให้ความรเู้ กีย่ วภาษาไทยได้ 3.88 15.ข้าพเจา้ เกิดความภาคภูมใิ จในผลงานท่ีได้ และความเป็นไทย 3.54 53.4 รวม 3.56 เฉลย่ี จากการสร้างแบบสอบถามวัดเจตคติชองนักเรยี นท่มี ตี ่อวชิ าภาษาไทยของนักเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ในครั้งน้ีสามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้ พบวา่ นักเรยี นมีเจตคติท่ดี ีต่อวชิ าภาษาไทย ในระดบั คะแนนเฉลี่ย 3.56 ซงึ่ เป็นระดบั คะแนน ตน้ ๆ ของระดบั เจตคตทิ ่ดี ี 5. ปจั จยั ควำมสำเรจ็ การสร้างนวตั กรรมการศึกษา เรื่อง “สร้างสรรค์ผลงาน ส่อื สารสมั พนั ธ์ ผ่านกระบวนการ นาเสนอ เพ่ือพฒั นาทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศึกษา” ได้มงุ่ เน้นการมสี ่วนรว่ มของบุคคลท่เี กีย่ วขอ้ งดังนี้ 1) ผู้เรียนมีความพร้อมในการเรียนรู้ รักการเรียนรู้ รู้จักการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง นาไปสู่การสร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง ให้ความรว่ มมือในการพฒั นานวัตกรรม ร่วมกจิ กรรมที่ โรงเรียนจัดขึ้นด้วยความเต็มใจ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะพัฒนาตนเอง จนเกิดเป็นทักษะ กระบวนการและองค์ความรทู้ ี่ยงั่ ยืน

18 2) ครมู คี วามรูค้ วามเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนร่วมใจกันอย่างเตม็ ทแี่ ละเต็มใจ นาความรู้มาพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนและการออกแบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพย่ิงข้ึน เสียสละงบประมาณบางส่วนในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดกับผู้เรียน รักการ เรยี นรู้ รู้จกั การปรับเปล่ยี นการจัดการเรียนการสอน มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง สง่ ผลให้ผูเ้ รยี น การการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย โดยใหค้ วามรว่ มมือในการพฒั นานวตั กรรมการเรียนรู้ 3) ผู้บริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุน ส่งเสริม นิเทศ กากับติดตามและให้ขวัญ กาลังใจอย่างเต็มท่ี ให้คาปรึกษาอย่างต่อเน่ือง ร่วมประชุมเพื่อรับฟังความก้าวหน้าในการพัฒนา ผู้เรียน จัดหางบประมาณและสื่อการเรียนการสอนในการสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการพัฒนา แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา ประสานชุมชนในการ จัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนอยา่ งตอ่ เนื่อง 4) ผู้ปกครอง ชุมชน เช่ือม่ันและศรัทธา ให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนมี ส่วนร่วมในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนานวัตกรรม ร่วมสนับสนุนงบประมาณในการ ดาเนินกจิ กรรม 5) คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้การสนับสนุน ส่งเสริม มีส่วนร่วมในการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมีส่วนร่วมในการวางแผน การดาเนินงาน การประเมินผลและการสรุปผล ให้ขอ เสนอแนะ ในการพฒั นางาน 6) ชุมชน หน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชน การประเมินผลและการสรปุ ผล ใหข้ อ เสนอแนะในการพฒั นางาน 6.บทเรยี นทไี่ ดร้ บั จากการดาเนินงานสร้างโมเดลการสอน ““สร้างสรรค์ผลงาน สอ่ื สารสัมพันธ์ ผ่าน กระบวนการนาเสนอ เพื่อพัฒนาทกั ษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศึกษา” สรุปสิ่งทเี่ รยี นรแู้ ละพฒั นานวตั กรรมใหด้ ีข้ึน ดังน้ี 1) จากการท่ีผู้บริหาร ครูและผู้เรียน ให้ความสาคัญ เพ่ือเป็นฐานการเรียนรู้นั้น ส่งผล ตอ่ การพัฒนาการยกระดับผลสมั ฤทธิอ์ ย่างชัดเจน ครูและผู้เรยี นมีความรบั ผิดชอบ เอาใจใส่ในการ สร้างนวัตกรรมการสอนเรื่อง“สร้างสรรคผ์ ลงาน ส่อื สารสมั พันธ์ ผ่านกระบวนการนาเสนอ เพอื่ พัฒนา ทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้าน การศกึ ษา” มากข้นึ ส่งผลใหน้ ักเรียนเกิดวามภาคภมู ใิ จในผลงานก่อให้เกดิ ทักษะทางภาษาไทยอย่าง ยั่งยืนจากการที่ได้ปฏิบัติจริง และดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้นักเรียน ครูได้กระบวนการ มา พัฒนาในการจัดการเรียนการสอน เกิดการพัฒนาในวิชาชพี สถานศึกษา ได้รับการยอมรับจากชมุ ชน เปน็ แนวทางใหก้ บั สถานศึกษาอ่ืนๆ 2) ในการจัดกระบวนการเรียนรู้แต่ละครั้งครูต้องมีการออกแบบการสอนอย่าง หลากหลาย และต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เป็นผู้ปฏิบัติให้อิสระทางความคิด ไม่ตีกรอบหรือจากัด ความคดิ ของนักเรยี น จึงจะได้ผลงานทสี่ รา้ งสรรค์ และรปู แบบการนาเสนอที่เปน็ แนวคิดของนกั เรียน

19 3) ต้องมีการให้นักเรียนได้ถอดบทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกครั้ง หลังจากทากิจกรรม หรือการดาเนินงานเสร็จเพื่อท่ีนักเรียนจะได้รู้จักการวิเคราะห์ตนเอง จะทาให้ นักเรียนเข้าใจถึงพัฒนาการของตนเอง และการทางานร่วมกับผู้อื่น รู้จักวางแผนงานอย่างเป็นระบบ อกี ด้วย 7. กำรเผยแพร่/กำรไดร้ บั กำรยอมรับ/รำงวัลท่ไี ด้รับ กำรเผยแพร่ 1) ประชาสัมพันธ์นวัตกรรม “สร้างสรรค์ผลงาน สื่อสารสัมพันธ์ ผ่านกระบวนการ นาเสนอ เพ่ือพัฒนาทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ดา้ นการศกึ ษา”เพื่อสร้างเครอื ข่าย 2) จัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการของโรงเรียน และเผยแพร่นวัตกรรม “สร้างสรรค์ผลงาน สื่อสารสัมพันธ์ ผ่านกระบวนการนาเสนอ เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศึกษา” 3) เผยแพร่นวตั กรรม “สรา้ งสรรคผ์ ลงาน สอื่ สารสมั พันธ์ ผา่ นกระบวนการนาเสนอ เพ่ือ พฒั นาทักษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้าน การศกึ ษา” ผ่านทางเวป็ ไซต์ของโรงเรียน และ ทาง facebook ผ่านศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

20 กำรไดร้ บั กำรยอมรบั จากการนานวัตกรรมไปใช้ผลการพฒั นานวัตกรรมดงั กลา่ วสง่ ผลใหผ้ ้เู รียนและครู ได้รับ สามารถเปน็ วทิ ยากรในการจัดค่าย จดั กิจกรรมต่าง ๆ ได้ รวมไปถึงการจัดนิทรรศการนาเสนอ ผลงานนกั เรียน ซง่ึ เปน็ ส่วนหน่งึ ในการรบั ประเมินคณะกรรมการในการประเมินศนู ย์การเรยี นรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อีกทัง้ นักเรียนสามารถนาทกั ษะการพูด การนาเสนอไปใช้ กจิ กรรมต่าง ๆ ในโรงเรยี น เชน่ การเป็นคณะกรรมสภานักเรียน พธิ ีกร รวมถึงจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใน และนอกโรงเรียนได้

21 รำงวัลทีไ่ ด้รับ ผลทเ่ี กิดกบั ผเู้ รยี น 1. นักเรียนผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ครบท้ัง 8 ข้อ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจรติ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ คิดเป็นร้อย ละ 100 2. นักเรยี นประพฤติปฏิบัตติ นตามคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ท่เี ป็นจดุ เนน้ ท่ี ส่งผลตอ่ เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา คือ เชิดชูคณุ ธรรม น้อมนาความรู้ สู่ทกั ษะชีวติ ไดค้ รบทุกข้อ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 3. นักเรยี นได้รบั รางวลั การยกย่องเชิดชูเกียรติประกาศชมเชยจากหนว่ ยงาน องค์กรตา่ ง ๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ผลการพัฒนาตนเอง 1) พัฒนาตนเองในด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม - ครูดไี ม่มีอบายมุข 2) ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอย่างที่ดี ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทัง้ ในหนา้ ท่ี ราชการ และสว่ นตน - อบรมการถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้านการศกึ ษา ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดา้ นการศึกษา

22 - รางวัลการคดั เลือกประกวดวธิ ปี ฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลิศ (Best-Praciece) 3) น้อมนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนจนได้รับการยอมรับหรือการยกย่องเชิดชูจากหน่วยงาน /องค์กรภาครัฐและเอกชน ระดับเขต/ จังหวดั - อบรม การจัดทา Bestpratice ศนู ย์การเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศึกษา 4) น้อมนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการ สอน จนได้รบั การยอมรับหรอื การยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ จากหนว่ ยงาน/องค์กรระดับชาติ - เปน็ ศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดา้ นการศึกษา

23 ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ่ สถำนศึกษำ สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ และแบบอย่าง แก่สถานศึกษาอ่ืน โรงเรียนเนนิ ขามรัฐประชานเุ คราะหไ์ ด้รับการยอมรบั ในคุณภาพการจัดการศึกษา จากผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานองค์กรต่างๆ และเป็นแหล่งเรียนรู้ตามแนวทางของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงของนกั เรียนและชุมชนจนเปน็ ท่ยี อมรับโดยท่ัวไป ผลท่ีเกิดขนึ้ ต่อผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน ผู้ปกครองและชุมชน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีความพึงพอใจเข้าร่วมมือในการ จัด-การศึกษา ชุมชนทางานเป็นระบบเดียวกันกับโรงเรียนมีความเข้มแข็งของชุมชน ท่ีเป็นผู้มี บทบาทในการ มสี ่วนร่วมทีด่ ี ทั้งรว่ มคดิ รว่ มทา ขอรบั รองวา่ รายงานนวตั กรรม/วธิ ปี ฏิบัติท่ีเปน็ เลศิ (Best Practices) สรา้ งสรรคผ์ ลงาน สอ่ื สาร สัมพันธ์ ผา่ นกระบวนการนาเสนอ เพื่อพัฒนาทกั ษะทางภาษาไทย โดยใช้ MESSAGE MODEL ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศึกษาของนางสาวรุ่งทิวา กาฬภกั ดี สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ี การศึกษามัธยมศึกษาอุทัยธานี ชยั นาทฉบับนี้ เปน็ ผลงานที่เกดิ จากการปฏบิ ตั ิงานในหน้าท่ี ไมเ่ ป็นส่วนหน่งึ ของการศึกษาเพื่อรบั ปริญญาใด ๆ หรือเป็นผลงานทางวิชาการเพื่อขอมีหรือเลอ่ื นวทิ ยฐานะ และเป็น ผลงานทีด่ าเนินการมาแลว้ ในปกี ารศึกษา 2562 ถึง 2564 และไม่เคยไดร้ บั รางวลั ในระดับประเทศหรือ เทียบเทา่ มาก่อน (นางสาวร่งุ ทิวา กาฬภกั ดี) ผู้สมัคร ตาแหน่ง ครู วัน 25 เดือน ธนั วาคม 2564

24 ภำคผนวก

25 เกียรติบตั รรำงวัล

26

27 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ รหัสวิชา ท2๓101 ชอื่ รายวิชา ภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๗ เร่อื ง คาทมี่ าจากภาษาต่างประเทศ (ภาษาบาลี – สันสกฤต) จานวน 3 ชวั่ โมง นางสาวรุ่งทิวา กาฬภกั ดี ครผู ู้สอน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษาและรักภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ 2. ตวั ชวี้ ัด ท 4.1 ม ๓/5 รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน ภาษาไทย 3. สาระสาคญั ภาษาไทยทเ่ี ราสื่อสารกันในปจั จุบัน มีทงั้ คาไทยแทแ้ ละคาท่ียมื มาจากภาษาอื่นซง่ึ การ ยืมคาจากภาษาอ่ืนมาใชใ้ นภาษาไทยนั้น ทาให้เรามีคาท่ีหลากหลายขน้ึ ซง่ึ การยมื คามาใชน้ น้ั ผใู้ ชต้ อ้ ง มีความรู้ ความเข้าใจ อย่างถ่องแทจ้ งึ จะสามารถนาคานั้นๆมาใช้ในการสื่อสารได้อยา่ งเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ ซงึ่ จะ ทาใหภ้ าษาไทยของเรามพี ฒั นาการข้นึ 4 สาระการเรยี นรู้ 1. ลักษณะของคาไทยแท้ 2. คาไทยแท้ที่มลี ักษณะคลา้ ยคาทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ 3. คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ

28 จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 ดา้ นความรู้ 1. บอกลักษณะของคาไทยแท้พรอ้ มทั้งยกตัวอย่างคาได้ 2. บอกลักษณะของคาทีม่ าจากภาษาอนื่ พรอ้ มท้ังยกตัวอย่างคาได้ 3. จาแนกคาไทยแทแ้ ละคาท่ีมาจากภาษาอืน่ ได้ 4. นาคาทีม่ าจากภาษาอนื่ ไปใช้ในการส่ือสารได้อยา่ งเหมาะสม 5.2 ด้าน ทักษะ / กระบวนการ 1. กระบวนการคิดวเิ คราะห์ 2. กระบวนการฝึกปฏิบัติ 5.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ประเดน็ การ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุง) ประเมนิ 4 (ดีมาก) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1.ความ ให้ความร่วมมือมี ใหค้ วามร่วมมือตาม ใหค้ วามร่วมมือตาม ไม่ใหค้ วามรว่ มมือ รว่ มมือ ความสามคั คีกันดี บทบาทหนา้ ท่ี บทบาทหนา้ ท่บี ้าง 2. ผูน้ าเสนอใชภ้ าษา ผูน้ าเสนอใชภ้ าษาได้ ผู้นาเนอใช้ภาษาได้ ผนู้ าเสนอใชภ้ าษา บุคลกิ ภาพ ได้อย่างเหมาะสม อยา่ งเหมาะสมและมี อยา่ งเหมาะสมแต่มี เหมาะสมบ้างไม่ และ และมมี ารยาทดี มารยาท มารยาทบา้ ง เหมาะสมบ้างและขาด มารยาท มารยาท 3.เนอื้ หา สมบูรณ์ ถูกต้อง สมบรู ณ์ถกู ต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ถกู ต้อง ขาดความสมบรู ณข์ อง ครบถ้วนมีการ แต่ข้อมลู ไม่หลากหลาย ครบถว้ นแต่เนื้อหามี เน้อื หา คน้ ควา้ ที่ หลากหลาย ข้อบกพร่องเลก็ น้อย และไม่หลากหลาย 4.ความคดิ ผลงานน่าสนใจมี ผลงานน่าสนใจมี ผลงานน่าสนใจแต่การ ผลงานไมน่ ่าสนใจและ สรา้ งสรรค์ ความคิดรเิ ริ่ม สรา้ งสรรค์ไม่ ความคิดสรา้ งสรรค์แตไ่ ม่ จดั ไมเ่ ปน็ ขนั้ ตอน ไม่มีความคิด เหมอื นกบั กลุ่มอ่นื เด่นชดั กระโดดข้าม ข้อมลู สรา้ งสรรค์

29 2. มีวนิ ัย 3. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. สมรรถนะสาคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา การประเมนิ ผล เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน 14 – 16 คณุ ภาพดีมาก ระดบั คะแนน 13 – 15 คุณภาพดี ระดับคะแนน 10 – 12 คณุ ภาพพอใช้ ระดบั คะแนน 5 – 9 คุณภาพควรปรับปรุง 8. การบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการเรยี นรู้ ( ครูและนกั เรียน ) 8.1 ความพอประมาณ ครู 1.ครูศึกษาหลกั สูตร เนอ้ื หา ออกแบบและจดั กิจกรรมสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตวั ช้วี ดั 2.จดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใช้สื่อ แหล่งเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกบั เน้ือหา 3.กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลาและวยั ของผ้เู รียน 4.เลือกวิธีการสอนและกจิ กรรมการสอนทเี่ หมาะสมกบั ผู้เรยี น 5.วางแผนออกแบบการวัดผล ประเมินผลใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานตัวชว้ี ดั และ วัตถปุ ระสงค์ นักเรียน 1.ผู้เรียนร้หู ลักสงั เกตคาท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศและใชไ้ ด้อย่างถูกต้อง 2.ฝกึ การวางแผนการทางานร่วมกับผู้อ่นื ได้อย่างเหมาะสมกบั เวลาและศักยภาพของตนเอง 3.ผูเ้ รยี นฝกึ การสบื ค้นขอ้ มูลจากแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ 8.2 ความมเี หตุผล ครู 1.มุง่ เน้นใหน้ ักเรียนมที กั ษะทางภาษา ใช้ภาษาอยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 2.เพื่อใหก้ ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนบรรลุมาตรฐานและตัวชีว้ ดั มคี ุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ตามท่หี ลักสูตรกาหนด 3.ออกแบบการเรียนร้เู พื่อใหเ้ ห็นคณุ คา่ ของภาษาไทยและภมู ใิ จในความสามารถของตน และผอู้ น่ื

30 นกั เรียน 1.นาความรูท้ ี่เรยี นมาฝกึ ปฏบิ ัติในการวเิ คราะห์บทความ 2.กระต้นุ ใหเ้ กดิ ความคิดสร้างสรรค์ 3.ภูมิใจในผลงานของตนเองและผูอ้ ื่น 8.3 การมีภูมคิ ุ้มกนั ทด่ี ี ครู 1.มีการวางแผนเพอื่ จดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้ตรงตามแผน 2.วางแผนเตรยี มการสอนไม่ให้บกพร่อง โดยจดั ทาแผนการเรยี นรู้ สอ่ื แบบวัดและ ประเมินผล ท่ีเหมาะสมกับเน้ือหา 3.ครูมที กั ษะและประสบการณส์ อนในเนื้อหาทส่ี อนและศึกษาวิธีการ ขั้นตอนในการปฏบิ ัติ ใหเ้ ข้าใจ 4.จัดเตรียมสอ่ื วสั ดุอปุ กรณก์ ารสอนให้เพยี งพอกับผู้เรยี น พรอ้ มรับการเปลีย่ นแปลงเม่อื มีสถานการณ์เปลย่ี นแปลง นกั เรียน 1.ฝกึ กระบวนการทางานใหส้ าเรจ็ โดยใชค้ าทีส่ ละสลวย 2.นาแบบอยา่ งความคดิ ไปพฒั นางานประเภทอ่ืนๆ 3.ศกึ ษาวิธีการนาคาที่มาจากภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยใหเ้ ขา้ ใจ 8.4 เงื่อนไขความรู้ ครู 1.ครมู ีความร้ใู นหลักสูตรและเนื้อหา 2.ครูมคี วามรอบคอบในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ไดเ้ หมาะสมกับนักเรียน และประเมินผล นกั เรียน 1.มคี วามรอบรใู้ นการใชค้ าภาษาต่างประเทศ 2.ฝกึ นาความรทู้ ่ีไดร้ ับมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั 8.5 เงอ่ื นไขคุณธรรม ครู 1.ครูใช้หลกั ความยุตธิ รรม มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อวชิ าชพี และมีวนิ ยั ในการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ 2.ครูปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ดี ว้ ยความยุติธรรม ขยันหม่ันเพียร อดทนใชส้ ติปัญญาในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคข์ องการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

31 3.ครูมีความคิดสร้างสรรค์ มคี วามเสยี สละเพือ่ พฒั นาตนเองและพฒั นาผู้เรยี นใหด้ ี ย่ิงๆข้ึน นกั เรยี น 1.ฝึกความรับผิดชอบ เพยี รพยายามในการทากิจกรรม 2.ฝกึ วนิ ยั ในการทางานกล่มุ และฝกึ ทกั ษะการทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื 3.มีความพอเพยี งในการทากจิ กรรมต่างๆ 8.6 ส่งผลต่อการพัฒนา 4 มติ ใิ หย้ ัง่ ยืนยอมรับต่อการเปลย่ี นแปลงในยุคโลกาภวิ ตั น์ วตั ถุ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม ความรู้ *นักเรยี นรหู้ ลกั สังเกตคา *มคี วามร้เู รือ่ งการ - - ( K) ที่มาจาก มีปฏสิ มั พันธ์สือ่ สาร ภาษาตา่ งประเทศ ร่วมกันภายในกล่มุ *นกั เรียนรู้จกั เลือกสรร *นกั เรยี นมคี วามรู้ คามาใช้ ในการแบ่งหนา้ ที่ *นักเรยี นรูค้ วามหมาย กนั ตามศักยภาพ ของคาทนี่ ามาใช้ ทกั ษะ *นักเรยี นแบง่ กลุ่มทา *มคี วามรบั ผิดชอบ *ฝึกทกั ษะการรกั ษา *ให้เกียรติเพื่อนในการ ( P ) กิจกรรมฝึกทักษะการ ในการทางาน สถานทป่ี ฏบิ ัตกิ ิจกรรม แสดงความคิดเหน็ ทางานรว่ มกับผู้อ่ืน *เคารพความ *ยอมรับฟังความคิดเห็น *นกั เรียนมที ักษะการคดิ คดิ เหน็ ของผ้อู ่ืน ของผู้อืน่ เลือกสรรคาท่ีมาจาก *มีการแบง่ งานกัน ภาษาตา่ งประเทศมา ทา ใชไ้ ดถ้ กู ต้อง คา่ นยิ ม *นักเรยี นมีความ *มีความรบั ผดิ ชอบ - *คนเกง่ คนอ่อนไดร้ ับการ ( A ) กระตือรือรน้ มวี นิ ยั และ ในงานของตนและ ยอมรับจากเพื่อนในกลุ่ม ตง้ั อยใู่ นความพอเพยี ง มสี ว่ นร่วมในการทา *ภาคภมู ใิ จในผลงานของ *นกั เรียนมคี วาม กจิ กรรม ตนและผ้อู น่ื รับผิดชอบในงานของตน *เกิดความรัก และมสี ว่ นร่วมในการทา ความสามคั คี กจิ กรรม ช่วยเหลอื กนั ในกลุม่

32 9. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นจุดประกายความคิด M (Motivation) 2.นักเรียนสนทนากบั ครูเกยี่ วกบั การใช้คาในชีวติ ประจาวันวา่ นักเรยี นคดิ ว่า มภี าษาใด อกี ท่ี นกั เรยี นใช้ ใหน้ ักเรียนชว่ ยกันตอบพร้อมทง้ั ยกตวั อย่างคาแล้วครจู ึงโยงเข้าสู่เรื่องคาท่ี มาจากภาษาอื่นท่ีเข้ามาปะปนในภาษาไทย 1.ครูใหน้ ักเรยี นดู ดีวที ัศน์ เพลง ค่านยิ ม 12 ประการ 2. ครใู ห้นกั เรยี นช่วยกันแยกคาในเน้ือเพลง คา่ นยิ ม 12 ประการ ว่าคาใดเป็นคาไทยแท้ คาใดเป็นภาษาต่าง ประเทศ ข้ันศึกษาคน้ ควา้ E (Education) 3 ครูใหน้ กั เรียนฟังเพลง บาลี – สันสฤต เพื่อใหเ้ ขา้ ใจหลักการของภาษาบาลี – สนั สกฤตมากขนึ้ 4 ครูอธิบายหลักการของภาษาบาลี และสันสกฤต พร้อมกบั ยกตัวอย่างให้นักเรียน ชว่ ยกนั ตอบ ๕. เล่นเกมเหน็ ภาพทายคา โดยเมอื่ ได้คาตอบแลว้ นกั เรียนตอ้ งตอบไดว้ ่าเป็นภาษาบาลี หรือสนั สกฤต ข้นั กำรรวมกลุ่มระดมสมอง กำรทำงำนรว่ มกนั S (Socail) ๖. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-4 คน ใหแ้ ต่ละกลุ่มทาใบกิจกรรมฝกึ ให้ทาจาให้รู้ ๗. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั วเิ คราะหค์ าในใบกิจกรรมว่ามีคามาจากภาษาใดบ้าง พร้อม สร้างสื่อเปน็ ช้ินงาน ข้ันกำรนำเสนอผลงำน S (Show&share ) ๘. นกั เรียนตัวแทนของแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงาน ๙. นกั เรยี นทกุ คนทาใบกิจกรรม ฝกึ วเิ คราะหเ์ จาะบทความ ส่งครูคาบต่อไป ขนั้ ตอนที่ 5 ใหข้ ้อเสนอแนะแสดงควำมคิดเหน็ A (animadvert) 1๐. นกั เรียนช่วยกนั สรปุ สาระสาคัญเรื่องคาท่ีมาจากภาษาบาลี – สันสกฤตทีใ่ ชใ้ น ภาษาไทย และ แสดงความคิดเหน็ ตอ่ การนาเสนอของเพ่ือน ข้นั ตอนท่ี 6 สรำ้ งควำมภำคภมู ิใจด้วยกำรขยำยผล (G :Gratify: ) 11. ใหน้ ักเรียนโพสต์ภาพการนาเสนอผลงาน พร้อมชน้ิ งานลงใน Facbook พร้อมติด แทก็ #เรียนภาษาไทยให้สนุก

33 ขั้นตอนที่ 7 E :Evaluate : ครแู ละนักเรียนร่วมกันประเมินผล ๑๒. ครปู ระเมนิ ผลงานของนักเรยี นพร้อมกับประเมินการนาทกั ษะทางภาษาที่นาไปใช้ ในการ นาเสนอผลงาน 10. สอ่ื การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ 10.1 สื่อการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรม 2. แบบฝึกทักษะ 3. แบบทดสอบ 4. วิดีทศั น์เพลง คณุ ธรรม ๑๒ ประการ และ เพลง บาลี – สนั สกฤต 5. POWER POINT 6. ภาพปรศิ นา 10.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. ห้องกล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย 3. ห้องคอมพวิ เตอร์

34 ใบกจิ กรรม ฝึกวิเคราะหเ์ จาะบทความ ชอ่ื ..................................สกุล.......................................ชน้ั ...........เลขท.ี่ ......... คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนอ่านบทความตอ่ ไปนีแ้ ลว้ นาคาท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศเขยี นลงในตาราง หน้าทขี่ องนักเรยี น “นัก” ตามพจนานุกรมฉบับเฉลมิ พระเกียรติ พ.ศ. 2530 ใหค้ วามหมายไว้วา่ ผ้ชู อบ ผูช้ านาญ ผู้มอี าชีพใดอาชพี หน่งึ อย่างย่งิ หนกั ไปทางใดทางหนึ่ง เชน่ นักกฎหมายคอื ผู้มอี าชพี ทางกฎหมาย นกั เขียนคอื ผู้ชานาญดา้ นการเขยี น ฯลฯ สว่ นนักเรยี นคอื ผู้ศกึ ษา เลา่ เรยี น ดังนัน้ หน้าทีข่ องนกั เรียนคือ ตอ้ งตัง้ หน้าตัง้ ตาทาหน้าท่ขี องตนให้ดีทีส่ ดุ อยู่ในห้องก็ ตอ้ งต้งั ใจเรยี น มีสมาธิ มจี ิตใจจดจอ่ ต่อวิชาทเ่ี รยี น เม่ืออยู่นอกห้องเรยี นควรศึกษาคน้ คว้าใน สิง่ ทต่ี ้องการรู้เพ่ือเพิ่มพูนสติปญั ญาของตนให้กว้างขวางทันโลก ทันเหตกุ ารณเ์ พื่อเป็นพ้ืนฐาน ในการประกอบอาชีพท่ีดใี นอนาคต เป็นความหวังของพอ่ แม่ ครอู าจารย์ เป็นพลเมืองทมี่ ่ี คณุ ภาพของประเทศชาติ แต่ปจั จุบันนกั เรียนบางส่วนกลับเป็นปญั หาของบา้ นเมือง คือ นักเรยี นทไี่ ม่ใชผ่ ู้ ศกึ ษาเล่าเรยี นเพื่อเป็นพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพในอนาคตแต่เป็นอะไรต่อมิอะไรที่ไมเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อตนเอง ต่อครอบครัว และสังคม ถา้ นักเรยี นไดอ้ า่ นแล้วลองทบทวนดูตัวเองซวิ ่า ตนเองเปน็ นักเรยี นจริงๆหรอื เปลา่ และควรประพฤติตวั เชน่ ไรจึงจะได้ช่ือว่าเป็นนกั เรียนที่ดี

35 แบบประเมินกำรสรำ้ งผลงำนของนักเรยี น สมำชกิ กลุ่ม………………………………… หอ้ ง…………………………………… 1…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3…………………………………………………………………………………………………………………………………………… คำชแ้ี จง : ใหท้ าเครอื่ งหมาย ✓ ในชอ่ งว่างที่กาหนดให้ ✓ ประเมินตนเอง รำยกำรประเมนิ พฤติกรรมบ่งชี้ รวม 54321 1. มีการวางแผนการทางาน 2. มคี วามพร้อมในการนาเสนอ 3. ความนา่ สนใจในการนาเสนอ 4. มีความคิดสรา้ งสรรค์ 5. ประโยชน์-ความถกู ต้องของงานนาเสนอ ✓ เพือ่ นประเมิน รำยกำรประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งช้ี รวม 54321 1. มกี ารวางแผนการทางาน 2. มีความพร้อมในการนาเสนอ 3. ความนา่ สนใจในการนาเสนอ 4. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 5. ประโยชน์-ความถูกต้องของงานนาเสนอ

36 เกณฑก์ ำรประเมนิ 21 543 นอ้ ย ต้องปรบั ปรงุ ดมี ำก ดี ปำนกลำง ลงชือ่ …………….………….ผ้ปู ระเมิน ลงชอ่ื …………….………….ผู้ประเมนิ

37 แบบประเมนิ กำรนำเสนอผลงำนของนักเรยี น สมำชิกกลุ่ม………………………………… ห้อง…………………………………… 1…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3…………………………………………………………………………………………………………………………………………… คำชีแ้ จง : ใหท้ าเครือ่ งหมาย ✓ ในช่องว่างท่ีกาหนดให้ หวั ข้อการประเมิน ดีมาก (4) คะแนน ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) 1 เนอ้ื หาหรือข้อมลู ท่ี  ถกู ตอ้ ง  ถูกตอ้ ง  ถกู ตอ้ งแตไ่ ม่  ไมถ่ กู ตอ้ ง ไม่ นาเสนอ ครบถ้วน และมี ครบถ้วน แตไ่ ม่ ครบถ้วน /ไม่ ครบถว้ น ไม่ว่า ความทนั สมัย ทันสมยั ทันสมยั กรณใี ดๆ 2. รูปแบบการนาเสนอ  เหมาะสมกับ  เหมาะสมกบั  เหมาะสมกับ  ไมเ่ หมาะสม งาน (การบรรยาย Role ผฟู้ งั และเน้ือหา มี ผฟู้ งั และเน้อื หา มี ผู้ฟังและเนอื้ หา แต่ กับผฟู้ ังและเนื้อหา play เกมส์ ละคร ฯลฯ) ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความคิดสรา้ งสรรค์ ไมม่ ีความคิด ไมส่ ร้างสรรค์ และ และมีความน่าสนใจ แต่ไม่นา่ สนใจ สร้างสรรค์ และ ไม่นา่ สนใจ น่าสนใจ/ไม่นา่ สนใจ 3. การใชส้ อื่ ในการ  มีความชดั เจน  มคี วามชดั เจน  ไม่ชดั เจน แต่  ไมช่ ัดเจน ไม่มี นาเสนอ (PowerPoint อ้างองิ จาก อา้ งอิงจาก อา้ งองิ จาก การอา้ งอิง คลิป วดิ ิโอ แผน่ พับ แหล่งข้อมูลที่ แหล่งขอ้ มูลท่ีไม่ แหลง่ ข้อมลู ที่ แหลง่ ข้อมลู โปสเตอร์ ฯลฯ) น่าเช่อื ถอื นา่ เชอื่ ถอื นา่ เชอ่ื ถือ/ไม่ น่าเชอ่ื ถือ 4. การส่ือสาร  พดู ชัดเจน  พดู ชัดเจน  พดู ชัดเจน ไม่  พดู ไม่ชดั เจน สบตาผ้ฟู งั กระตนุ้ ให้ สบตาผู้ฟงั ขาดการ สบตาผ้ฟู ัง ขาดการ ไม่สบตาผฟู้ งั ขาด ผู้ฟังมสี ว่ นรว่ ม กระตุ้นใหผ้ ู้ฟงั มีสว่ น กระตุ้นใหผ้ ู้ฟงั มสี ว่ น การกระตุ้นให้ผู้ฟัง ร่วม รว่ ม มสี ว่ นร่วม 5. การสรุป  สรุปครบถว้ น  สรุปครบถ้วน  สรปุ ไมค่ รบถ้วน  ไมม่ ีการสรุป และมีการเสนอแนะ แตข่ าดการ ขอ้ มูลทเี่ ป็น เสนอแนะข้อมลู ท่ี และ/หรอื ไมม่ ี ไม่มีข้อเสนอแนะ ประโยชน์ เปน็ ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ รวม 5 ขอ้ 20 คะแนน

38 ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ......................……………………………………………………………………………………………………… บันทึกหลังกำรจดั กำรเรยี นรู้ ผลกำรสอน ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................... . ปัญหำและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................... . แนวทำงกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................... . ลงชือ่ (นางสาวรุ่งทิวา กาฬภักดี) ผู้สอน

39 ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................... . ลงช่ือ (นายชาตรี ตา่ ยจนั ทร์) หวั หนา้ วชิ าการโรงเรยี นเนินขามรัฐประชานเุ คราะห์ ขอ้ เสนอแนะของผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ (นายศกั ดา ใจตรง) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นเนนิ ขามรฐั ประชานุเคราะห์

40 เกยี รติบตั ร ผ่ำนกำรอบรมวิจัยและนวัตกรรม เกยี รตบิ ตั ร ผำ่ นกำรอบรมวจิ ยั และนวัตกรรม

41 กำรฝึกอบรมกำรใชส้ ่ือในกำรสอนออนไลน์

42 ตัวอยำ่ งสอ่ื กำรสอนออนไลน์

43 เกมนำเขำ้ สู่บทเรียน ชื่อเกม ดำวนิ ชภี ำษำไทย หมำยเหตุ วธิ กี ารเล่นคือ มภี าพ และพยางค์ ให้นกั เรียนทายว่าเป็นคาภาษาไทยคาใด

44 เกมนำเขำ้ สบู่ ทเรียน ชื่อเกม จับเวลำหำคำตอบ หมำยเหตุ วิธีการเลน่ คือ มีคาให้แล้วให้นกั เรียนตอบวา่ ใช้ กับ คาว่า ทรง ได้หรือไม่ ต้องตอบ ในเวลาทก่ี าหนด

45 แบบทดสอบ สรำ้ งจำก Google Form

46 อบรมกำรทำ แผนกำรเรยี นรูต้ ำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อบรมกำรทำ Best practice

47 เอกสำรอำ้ งอิง (2564). พระรำชบญั ญตั ิกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ.2542. 20 มนี าคม 2564. จาก https://www.bic.moe.go.th/images/stories/Porrorbor2542.pdf รตั นพล สอ่ งโลก.2559. การบรหิ ารจัดการช้ันเรยี น. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า https://rattanaphon015.wordpress.com/2015/(20 สิงหาคม 2564) โรงเรยี นเนนิ ขามรัฐประชานเุ คราะห์.(2563). รำยงำนผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำร ปฏิบัติงำนโรงเรยี นมัธยมศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2562.ชยั นาท โรงเรียนเนินขามรฐั ประชานุเคราะห์.(2563). รำยงำนประจำปีของสถำนศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒.ชัยนาท