Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพาะเลี้ยงปลานิลล

การเพาะเลี้ยงปลานิลล

Published by Bangbo District Public Library, 2019-06-19 01:22:20

Description: การเพาะเลี้ยงปลานิลล

Search

Read the Text Version

การเพาะเลย้ี งปลานิล ปลานิล Oreochromis niloticus เป็นปลาน้าจืดชนิดหนึ่งซ่ึงมีคุณค่าทางเศรษฐกิจนับตั้งแต่ปี 2508 เป็นต้นมา สามารถเลี้ยงได้ในทุกสภาพ การเพาะเลี้ยง ระยะเวลา 1 ปีมีอัตราการเติบโตถึงขนาด 500 กรัม รสชาติดี มีผู้นิยมบริโภคกันอย่างกว้างขวางส่วนขนาดปลาท่ีตลาดต้องการจะมีน้าหนักตัวละ 200 - 300 กรัม จากคุณสมบัติของปลานิลซึ่งเลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว แต่ปัจจุบันปลานิลพันธุ์แท้ค่อนข้าง จะหา ยาก กรมประมง จึงได้ด้าเนินการปรับปรุงพันธุ์ปลาเพ่ือให้ได้ปลานิลที่มีลักษณะสายพันธุ์ดี อาทิ การ เจริญเติบโต ปริมาณความดก ของไข่ ผลผลิตและความต้านทานโรค เป็นต้น ดังน้ันผู้เล้ียงปลานิล จะได้ ความมัน่ ใจในการเลี้ยงปลานิลเพอื่ เพมิ่ ผลผลติ สัตวน์ า้ ใหเ้ พียงพอต่อการบริโภค ความเปน็ มา ตามท่ีพระจักรพรรดิอากิฮิโตเมื่อคร้ังด้ารงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารแห่งประเทศญี่ปุ่นทรงจัดส่ง ปลานิล จ้านวน 50 ตัว ความยาวเฉลี่ยตวั ละประมาณ 9 เซนติเมตร น้าหนักประมาณ 14 กรัม มาทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือวันที่ 25 มีนาคม 2508 นั้น ในระยะแรกได้ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้ปลอ่ ยลงเลี้ยง ในบอ่ ดินเนอ้ื ทป่ี ระมาณ 10 ตารางเมตร ในบริเวณสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อ เล้ยี งมา 5 เดอื นเศษ ปรากฎว่ามีลูกปลาเกิดขนึ้ เปน็ จ้านวนมาก จึงได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหน้าท่ี สวนหลวงขดุ บ่อขนึ้ ใหมอ่ กี 6 บอ่ มเี น้อื ท่ีเฉลยี่ บ่อละประมาณ 70 ตารางเมตร ซ่ึงในโอกาสน้ีพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่ได้ทรงย้ายพันธ์ุปลาด้วย พระองค์เอง จากบ่อเดิมไป ปล่อยในบ่อ ใหม่ทั้ง 6 บ่อ เม่ือวันท่ี 1 กนั ยายน 2508 ต่อจากน้ัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมประมง จัดส่งเจ้าหน้าที่วิชาการมาตรวจสอบ การเจรญิ เตบิ โตเปน็ ประจ้าทุกเดอื น โดยที่ปลานลิ น้ีเปน็ ปลาจ้าพวกกินพชื เลี้ยงงา่ ย มีรสดี ออกลกู ดก เจริญเติบโตได้รวดเร็ว ในเวลา 1 ปี จะมี น้าหนักประมาณคร่ึงกิโลกรัม และมีความยาวประมาณ 1 ฟุต จึงได้มีพระราชประสงค์ท่ีจะให้ปลานี้ แพร่ขยายพันธุ์ อันจะเป็นประโยชน์แก่พสกนิกรของพระองค์ต่อไป ดังน้ันเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2509 จงึ ทรงพระกรุณาโปรกเกลา้ ฯ พระราชทานชอ่ื ปลานลิ น้วี ่า \"ปลานิล\" และได้พระราชทานปลานิล ขนาดยาว 3-5 เซนติเมตร จ้านวน 10,000 ตัว ให้แก่กรมประมงน้าไปเพาะเล้ียง ขยายพันธุ์ ท่ีแผนกทดลอง และ เพาะเลี้ยง ในบริเวณเกษตรกลาง บางเขน และท่ี สถานีประมงต่าง ๆ ทั่วพระราชอาณาจักรอีกรวม 15 แห่ง เพอื่ ดา้ เนินการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์พร้อมกัน ซ่ึงเมื่อ ปลานิลแพร่ขยายพันธ์ุออกไปได้มากเพียงพอแล้วจึงได้ แจกจา่ ยใหแ้ ก่ราษฎรน้าไปเพาะเล้ยี งตามความต้องการต่อไป

รปู ร่างลกั ษณะ ปลานิลเป็นปลาน้าจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในครอบครัวชิคลิดี (Cichlidae) มีถิ่นก้าเนิดเดิมอยู่ในทวีป แอฟริกา พบท่ัวไป ตามหนอง บึง และทะเลสาบ ในประเทศซูดาน ยูกันดา แทนแกนยีกา โดยท่ีปลานิลนี้ เจรญิ เติบ โตเร็ว และเลี้ยงง่าย เหมาะสมทจ่ี ะน้ามาเพาะเล้ยี งในบ่อไดเ้ ป็นอย่างดีจึงได้รับความนิยม และเล้ียง กันอยา่ งแพร่หลายในภาคพน้ื เอเซีย แมแ้ ต่ในสหรฐั อเมรกิ าก็นิยมเลี้ยงปลาชนดิ นี้ รูปร่างลักษณะของปลานิลคล้ายกับปลาหมอเทศ แต่ลักษณะพิเศษของปลานิลมีดังนี้คือ ริมฝีปาก บนและล่าง เสมอกัน ที่บริเวณแก้มมีเกล็ด 4 แถว ตามล้าตัวมีลายพาดขวางจ้านวน 9-10 แถบ นอกจากนั้น ลักษณะท่ัวไปมีดังนี้ ครีบหลังมีเพียง 1 ครีบ ประกอบด้วยก้านครีบแข็งและก้านครีบอ่อน เป็นจ้านวน มาก ครีบกน้ ประกอบด้วยก้านครีบแข็งและอ่อนเช่นกัน มีเกล็ดตามแนวเส้นข้างตัว 33 เกล็ด ล้าตัวมีสีเขียว ปนน้าตาล ตรงกลางเกลด็ มสี เี ข้ม ทีก่ ระดูกแก้มมจี ุดสีเข้มอย่จู ดุ หนง่ึ บรเิ วณส่วนอ่อนของ ครีบหลัง ครีบก้น และครบี หางนั้นจะมจี ดุ สขี าว และสีด้า ตดั ขวาง แลดูคล้ายลายขา้ วตอกอยูท่ ว่ั ไป ภาพที่ 1 เปรยี บเทียบปลานิลตวั ผู้และตัวเมยี ในประเทศไทยพบปลานลิ สีเหลือง - ขาว ซ่ึงเป็นการกลายพันธุจ์ ากปลานลิ สปี กติ หรือเป็นการผสม ข้ามพันธุ์ระหว่างปลานิลกับปลาหมอเทศ ซึ่งนอกจากสีภายนอกที่แตกต่าง จากปลานิลธรรมดาแล้วภายใน ตวั ปลาทผี่ นงั ช่องท้องยัง เป็นสีขาวเงินคล้ายผนังช่องท้องของปลากินเน้ือ และสีของเนื้อปลาเป็นสีขาวชมพู คล้ายปลากะพงแดงซึ่งเปน็ ทนี่ ิยมรับประทานในตา่ งประเทศมีชอ่ื เรียกเป็นทรี่ จู้ ักกนั ว่า \"ปลานิลแดง\"

ภาพท่ี2 เปรียบเทยี บปลานลิ แดงตัวผู้และตัวเมีย คณุ สมบตั แิ ละนิสัย ปลานิลมีนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง (ยกเว้นเวลาสืบพันธุ์) มีความอดทนและปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมได้ดีจาการศึกษาพบว่าปลานิลทนต่อความเค็มได้ถึง 20 ส่วนในพัน ทนต่อค่าความเป็นกรด – ด่าง (pH) ได้ดีในช่วง 6.5-8.3 และสามารถทนต่ออณุ หภูมิได้ถึง 40 องศาเซลเซียส แต่ในอุณหภูมิที่ต่้ากว่า 10 องศาเซลเซียสพบว่าปลานิลปรับตัวและเจริญเติบโตได้ไม่ดีนัก ท้ังนี้เป็นเพราะถ่ินก้าเนิดเดิมของปลา ชนดิ น้อี ย่ใู นเขตรอ้ น การสบื พนั ธุ์ 1. ลักษณะ ตามปกตแิ ล้วรูปร่างภายนอกของปลานิล ตวั ผู้และตวั เมยี จะมลี กั ษณะคลา้ ยคลึงกันมาก แต่จะสังเกตลักษณะเพศได้ก็โดยการดูอวัยวะเพศที่บริเวณใกล้กับช่องทวาร โดยตัวผู้จะมีอวัยะเพศใน ลกั ษณะเรยี วยาวย่ืนออกมา แต่ส้าหรับตัวเมียมีลักษณะเป็นรูค่อนข้างใหญ่และกลม ขนาดปลาที่จะดูเพศได้ ชัดเจนนั้น ต้องเป็นปลาท่ีมีขนาดยาวต้ังแต่ 10 เซนติเมตรขึ้นไป ส้าหรับปลาที่มีขนาดโตเต็มท่ีนั้นเราจะ สังเกตเพศได้อกี วิธีหนึ่งดว้ ยการดูสีที่ล้าตัว ซ่ึงปลาตัวผู้ที่ใต้คางและล้าตัวจะมีสีเข้ม ต่างกับตัวเมียย่ิงเม่ือถึง ฤดูผสมพันธสุ์ ีจะยิง่ เขม้ ขน้ึ

ภาพที่3 เปรยี บเทยี บลักษณะเพศของปลานลิ ทส่ี มบรู ณ์เพศ ภาพที4 เปรยี บเทียบปลานลิ แดงตวั ผู้และตวั เมีย 2. การผสมพันธุแ์ ละวางไข่ ปลานิลสามารถผสมพันธุไ์ ดต้ ลอดปีโดยใชเ้ วลา 2-3 เดือน/คร้ัง แต่ถ้า อาหารเพียงพอและเหมาะสม ในระยะเวลา 1 ปี จะผสมพันธุ์ได้ 5-6 ครั้ง ขนาดอายุและช่วงการสืบพันธุ์ ของปลาแตล่ ะตวั จะแตกต่างกนั ไปตามสภาพแวดล้อม และสภาพทางสรีรวิทยาของปลาเองการวิวัฒนาการ ของรงั ไข่และถงุ น้าเชื้อของปลานลิ พบว่าปลานิลจะมไี ขแ่ ละนา้ เช้อื เม่ือมคี วามยาว 6.5 ซม. โดยปกติปลานิลที่ยังโตไม่ได้ขนาดผสมพันธ์ุหรือสภาพแวดล้อมไม่เหม าะสมเพื่อการวางไข่ ปลาจะรวมกันอยู่เป็นฝูง แต่ภายหลังที่ปลามีขนาดท่ีจะสืบพันธ์ุได้ปลาตัวผู้จะแยกออกจากฝูง แล้วเริ่ม สรา้ งรงั โดยเลอื กเอาบริเวณเชิงลาดหรือก้นบ่อที่มีระดับน้าลึกระหว่าง 0.5 - 1 เมตร วิธีการสร้างรังนั้นปลา จะปกั หวั ลง โดยทต่ี ัวของมันอยู่ในระดับต้ังฉากกับพืน้ ดิน แล้วใช้ปากพร้อมกับความเคล่ือนไหวของล้าตัว ที่เข่ียดินตะกอนออก จากน้ันจะอมดินตะกอนออก จากน้ันจะอมดินตะกอนงับเศษส่ิงของต่าง ๆ ออกไป ทิ้งนอกรังท้าเช่นน้ีจนกว่าจะได้รังที่มีลักษณะค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-35 ซม. ลึกประมาณ 3-6 ซม. ความกว้างและลึกของรงั ไข่ข้ึนอยู่กับขนาดของพ่อปลาหลักจาก สร้างรังเสร็จเรียบร้อย แล้ว มันพยายามไล่ปลาตัวอ่ืน ๆ ให้ออกไปนอกรังสีของรังไข่ประมาณ 2-3 เมตร ขณะเดียวกันพ่อปลาที่

สร้างรงั จะแผ่ครีบหลังและอ้าปากกว้าง ในขณะท่ีมีปลาตัวเมียว่ายน้าเข้ามาใกล้ ๆ รัง และเม่ือเลือกตัวเมีย ได้ถูกต้องใจแล้วก็จะแสดงอาการจับคู่โดยว่ายน้าเคล้าคู่กันไปโดยใช้หากและกัดกันเบาๆ การเคล้าเคลีย ดงั กลา่ วใช้เวลาไม่นานนัก ปลาตัวผู้ก็จะใช้บริเวณหน้าผากดุนที่ใต้ท้องของตัวเมีย เพื่อเป็นการกระตุ้นเร่ง เร้าให้ตัวเมียวางไข่ ซึ่งตัวเมียจะวางไข่คร้ังละ 10-15 ฟอง ปริมาณไข่ที่วางรวมกันแต่ละคร้ังมีประมาณ 50-600 ฟอง ทัง้ น้ขี ้ึนอยกู่ บั ขนาดของแม่ปลา เม่ือปลาวางไข่แต่ละครั้ง ปลาตัวผู้จะว่าน้าไปเหนือไข่พร้อม กบั ปล่อยน้าเชอื้ ลงไป ท้าเช่นนี้จนกว่าการผสมพันธ์ุแล้วเสร็จ โดยใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ปลาตัวเมียเก็บไข่ที่ ได้รับการผสมแล้วอมไว้ในปากและว่ายออกจากรัง ส่วนปลาตัวผู้ก็คอย หาโอกาสเคล้าเคลียกับปลาตัวเมีย อนื่ ต่อไป 3. การฟกั ไข่ ไข่ปลาท่ีอมไวด้ ว้ ยปลาตวั เมยี จะววิ ฒั นาการขึ้นตามล้าดับ โดยแม่ปลาจะขยับปาก ใหน้ ้าไหลเขา้ ออกในชอ่ งปากอยเู่ สมอ เพอื่ ชว่ ยให้ไขท่ ่อี มไว้ได้รับน้าที่สะอาด ท้ังยังเป็นการป้องกันศัตรู ท่ีจะมา กินไข่ ระยะเวลาท่ีปลาตัวเมียใช้ฟักไข่แตกต่างกันตามอุณหภูมิของน้า โดยในน้าท่ีมีอุณหภูมิ 27 องศา เซลเซียส ไข่จะมีวิวัฒนาการเป็นลูกปลาวัยอ่อนภายใน 8 วัน ซึ่งในระยะเวลาดังกล่าวน้ีถุง อาหารยังไม่ยบุ และจะยุบเม่ือลูกปลามีอายคุ รบ 13-14 วนั นับจากวนั ท่ีแมป่ ลาวางไข่ ในช่องระยะเวลาท่ีลูก ปลาฟักออกเป็นตัวใหม่ ๆ ลูกปลานิลวัยอ่อนจะเกาะรวมตัวกันเป็นกลุ่มโดยว่ายวนเวียนอยู่ในบริเวณหัว ของแม่ปลา และเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในช่องปากเมื่อมีภัยหรือถูกรบกวนด้วยปลานิลด้วยกันเอง เมื่อถุง อาหารยุบลงลูกปลานิลจะเร่ิมกินอาหารจ้าพวกพืชและไรน้าขนาดเล็กได้ และหลังจาก 3 สัปดาห์ ไปแล้ว ลกู ปลากจ็ ะกระจายแตกฝูงไปหากนิ เล้ียงตัวเองไดโ้ ดยลา้ พัง การเพาะพันธุ์ปลานิล การเพาะพันธปุ์ ลานิลให้ได้ผลดีและมีประสทิ ธภิ าพ ตอ้ งได้รบั การเอาใจใส่และมกี าร ปฏิบัติใน ด้าน ตา่ งๆ เชน่ การเตรยี มบ่อ การเล้ียงพแ่ ม่พนั ธ์ุ การตรวจสอบลกู ปลา และการอนุบาลลูกปลา ส้าหรับ การ เพาะ ปลานิลอาจท้าได้ทงั้ ในบอ่ ดนิ และบอ่ ปนู ซีเมนต์ และกระชังไนลอ่ นตาถ่ี ดังวิธีการต่อไปนี้ 1. การเตรยี มบ่อเพาะพนั ธ์ุ 1.1 บ่อดิน บ่อเพาะปลานิลควรเป็นบ่อรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า มีเน้ือที่ต้ังแต่ 50-1,600 ตาราง เมตร สามารถเก็บกักน้าได้ระดับสูง 1 เมตร บ่อควรมีเชิงลาดตามความเหมาะสม เพ่ือป้องกัน ดิน พังทลาย และมีชานบ่อกว้าง 1-2 เมตร ถ้าเป็นบ่อเก่าก็ควรวิดน้าและสาดเลนข้ึน ตกแต่งภายใน บ่อให้ดิน แน่น ใส่โล่ติ๊นก้าจัดศัตรูของปลาอัตรส่วนใช้โล่ติ๊นแห้ง 1 กก./ปริมาตรของน้า 100 ลูกบาศก์เมตร โรยปูน ขาวให้ทวั่ บอ่ 1 กก./พนื้ ที่บ่อ 10 ตรม. ใส่ปุ๋ยคอกแห้ง 300 กก./ไร่ ตากบ่อทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน จึงเปิดหรือ สูบน้าเข้าบ่อผ่านผ้ากรองหรือตะแกรงตาถึ่ให้มี ระดับสูง ประมาณ 1 เมตร การใช้บ่อดินเพาะปลานิลจะมี ประสิทธิภาพดีกว่าวิธีอ่ืน เพราะเป็นบ่อท่ีมีลักษณะ คล้ายคลึงตามธรรมชาติ และการผลิตถูกปลานิลจากบ่อ ดนิ จะได้ผลผลติ สูง ต้นทุนต่้ากว่าวิธอี นื่

1.2 บ่อปูนซีเมนต์ ก็สามารถใช้ผลิตลูกปลานิลได้ รูปร่างของบ่อจะเป็นสี่เหล่ียมผืนผ้า หรือรูป กลมก็ได้ มีความลึกประมาณ 1 เมตร พ้ืนที่ผิวน้าตั้งแต่ 10 ตารางเมตรข้ึนไป ท้าความ สะอาดบ่อและเติม น้าท่ีกรองด้วยผ้าไนล่อนหรือมุ้งลวดตาถี่ให้มีระดับน้าสูงประมาณ 80 ซม. ถ้าใช้เครื่องเป่าลมช่วยเพ่ิม ออกซิเจนในน้า จะท้าใหก้ ารเพาะปลานิลดว้ ยวธิ ีน้ีได้ผลมากข้ึน อนึ่ง การเพาะปลานิลด้วยบ่อซีเมนต์ ถ้าจะ ให้ไดล้ กู ปลามากก็ตอ้ งใช้บอ่ ขนาดใหญ่ ซ่งึ ต้องเสยี คา่ ใชจ้ ่าย ในการลงทนุ สูง 1.3 กระชังไนล่อนตาถ่ี ขนาดของกระชังท่ีใช้ประมาณ 5x8x2 เมตร วางกระชังในบ่อดิน หรือ ในหนองบึง อ่างเก็บน้า ให้พื้นกระชังอยู่ต้่ากว่าระดับน้า ประมาณ 1 เมตร ใช้หลักไม้ 4 หลัก ผูกตรงมุม ยึดปากและพ้ืนกระชังให้แน่น เพือ่ให้กระชังขึงตึง การเพาะปลานิลด้วยวิธีนี้มีความ เหมาะสม ท่ีจะใช้ผลิต ลูกปลาในกรณซี ึ่งเกษตรกรไม่มีพืน้ ที่ดนิ ก็สามารถจะเลย้ี งปลาได้ เช่น เลี้ยงในอ่างเก็บ น้าหนองบึงและล้าน้า ต่างๆ เป็นต้น 2. การคัดเลอื กพอ่ แมพ่ นั ธุ์ การคดั เลือกพ่อแม่ปลานลิ จากการสังเกตจากลักษณะภายนอกของปลาท่ีสมบูรณ์ปราศจากเชื้อโรค และบาดแผล ส้าหรับพ่อแม่ปลา ที่พร้อมจะวางไข่น้ันสังเกตได้จากอวัยวะเพศ ถ้าเป็นปลาตัวเมียและมีสี ชมพแู ดงเรือ่ ส่วนปลาตวั ผกู้ ็สังเกตไดจ้ ากสขี อง ตวั ปลาท่ีเข้มสดใสโดยเปรียบเทียบกับปลานิลตัวผู้อ่ืนๆ ที่ จับข้ึนมาขนาดของปลาตัวผู้และตัวเมียควรมีขนาดไล่เลี่ยกัน คือ มีความยาวตั้งแต่ 15-25 เซนติเมตร นา้ หนักตัง้ แต่ 150-200 กรมั 3. อัตราส่วนทป่ี ลอ่ ยพ่แมป่ ลาลงเพาะ ปริมาณพ่อแม่ปลาที่จะน้าไปปล่อยในบ่อเพาะ 1 ตัว/4 ตารางเมตร หรือไร่ละจ้านวน 400 ตัว ควรปล่อยในอัตราส่วนพ่อปลา 2 ตัว/แม่ปลา 3 ตัว เน่ืองจากได้สังเกตจากพฤติกรรมในการผสมพันธุ์ของ ปลาชนิดนี้ ปลาตัวผู้มีสมรรถภาพที่จะผสมพันธุ์กับปลาตัวเมียอ่ืนๆ ได้อีก ดังนั้นการเพ่ิมอัตราส่วน ของ ปลาตัวเมียให้มากขึ้นคาดว่าจะได้ลูกปลานิลเพ่ิมขึ้น ส่วนการเพาะปลานิลในกระชังใช้อัตราส่วน ของปลา 6 ตัว/ตารางเมตร โดยใช้ตัวผู้ 1 ตัว/ตัวเมีย 3-5 ตัว การเพาะปลานิลแต่ละรุ่นจะใช้เวลา ประมาณ 2 เดือน จึงเปล่ียนพอ่ แม่ปลารนุ่ ใหมต่ ่อไป 4. การใหอ้ าหารและปุ๋ยในบอ่ เพาะพันธ์ุ การเล้ียงปลานิลมีความจ้าเป็นท่ีจะต้องให้อาหารสมทบ หรืออาหารผสม ได้แก่ ปลายข้าว สาหร่าย รา้ ละเอียด ในอัตราส่วน 1 : 2 : 3 โดยให้อาหารดังกล่าแก่พ่อแม่ปลานิลประมาณ 2% ของน้าหนัก ตวั ทั้งนีเ้ พอ่ื ให้ปลานิลใชเ้ ปน็ พลังงาน ซ่ึงต้องใช้มากกว่าในช่วงการผสมพันธุ์ส่วนปุ๋ยคอกแห้งก็ต้องใส่ใน อัตราส่วนประมาณ 100-200 กก./ไร่/เดือน ทั้งน้ีเพ่ือเพ่ิมพูนอาหารธรรมชาติในบ่อ ได้แก่ พืชน้าขนาด เล็กๆ ไรน้า และตัวอ่อน อันจะเป็นประโยชนต์ ่อลกู ปลานิลวยั ออ่ นที่หลงั จากถุงอาหารยบุ ตัวลง และจะต้อง ด้ารงชีวิตอย่ใู นพ่อเพาะดังกล่าวประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนที่จะย้อยไปเล้ียงในบ่ออนุบาล ถ้าในบ่อขาดอาหาร ธรรมชาติดังกลา่ วผลผลิตลูกปลานิลจะได้น้อยเพราะขาดอาหารที่จ้าเป็นเบ้ืองต้นหลังจากถุงอาหารได้ยุบตัว ลงใหม่ๆ ก่อนที่ลูกปลานิลจะสามารถกินอาหารสมทบอื่นๆ ได้ อาหารสมทบที่หาได้ง่ายคือ ร้าข้าว ซ่ึงควร

ปรับปรุงคุณภาพให้ดยี ่งิ ขน้ึ โดยใชป้ ลาปน่ กากถวั่ และวติ ามนิ เปน็ สว่ นผสม นอกจากนแ้ี หนเป็ดและสาหร่าย หลายชนิดก็สามารถจะใช้เป็นอาหารเสริมแก่พ่อแม่ปลานิลได้เป็นอย่างดี ในกรณีท่ีใช้กระชังไนล่อนตาถี่ เพาะพนั ธป์ุ ลานลิ กค็ วรใหอ้ าหารสมทบแก่พ่อแมป่ ลาอย่างเดียว การอนุบาลลกู ปลานิล 1. บ่อดิน บ่อดินควรมีขนาดประมาณ 200 ตรม. ถ้าเป็นบ่อรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้าจะสะดวกในการจับ ย้ายลูกปลา น้าในบ่อควรมีระดับความลึกประมาณ 1 เมตร บ่ออนุบาลควรเตรียมไว้ให้มีจ้านวนมากพอ เพ่ือให้เล้ียงลูกปลาขนาดเดียวกันที่ย้ายมาจากบ่อเพาะ การเตรียมบ่ออนุบาลควรจัดการล่วงหน้าประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนท่ีน้าลูกปลามาเล้ียง การเตรียมบ่ออนุบาลน้ันปฏิบัติวิธีเดียวกันกับการเตรียมบ่อที่ใช้เพาะ ปลานิล บ่อขนาดดังกล่าวนี้จะใช้อนุบาลลูกปลานิลขนาด 1-2 ซม. ได้คร้ังละประมาณ 50,000 ตัว การอนุบาลลูกปลานิลนอกจากใช้ปุ๋ยเพาะอาหารธรรมชาติแล้วจ้าเป็นต้องใช้อาหารสมทบ เช่น ร้า ละเอยี ด กากถั่ว อีกวันละ 2 ครัง้ พร้อมทัง้ สังเกตความอุดมสมบูรณข์ องอาหารธรรมชาติจากสีของ น้าซึ่งมีสี อ่อน หรอื จะใชถ้ ุงลากแพลงก์ตอน ตรวจดูปริมาณของไรน้าก็ได้ ถ้ามีปริมาณน้อยก็ควร เติมปุ๋ยคอกลงเสริม ในช่วงระยะเวลา 5-6 สัปดาห์ ลูกปลาจะโตมีขนาด 3-5 ซม. ซ่ึงเป็นขนาดที่เหมาะสม จะน้าไปเล้ียงเป็นปลา ขนาดใหญ่ 2. นาข้าวใช้เป็นบ่ออนุบาล นาข้าวที่ได้เสริมคันดินให้แน่นเพ่ือเก็บกักน้าให้มีระดับสูงประมาณ 50 ซม. โดยใช้ดินที่ขุดขึ้นโดยรอบคันนาไปเสริมซึ่งจะมีคูขนาดเล็ก โดยรอบพร้อมมีบ่อขนาดเล็กประมาณ 2x5 เมตร ลึก 1 เมตร ในด้านคันนาท่ีลาดเอียงต่้าสุดเป็นที่รวบรวมลูกปลาขณะจับ พ้ืนท่ีนาดังกล่าว ก็สามารถจะเป็นนาอนุบาลลูกปลานิลได้หลังจากปักด้าข้าว 10 วัน หรือภายหลังท่ีเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว สว่ นการให้อาหารและป๋ยุ กป็ ฏิบัตเิ ช่นเดยี วกับบอ่ อนุบาล การป้องกนั ศัตรูของปลานิลในนาข้าวควรให้อวน ในล่อนตาถส่ี ูงประมาณ 1 เมตร ทา้ เป็นรวั้ ลอ้ มรอบเพอื่ ป้องกันศัตรูของปลาจา้ พวก กบ งู เป็นต้น 3. บ่อซีเมนต์ บ่ออนุบาลลูกปลานิลและบ่อเพาะปลานิลจะใช้ขนาดเดียวกันก็ได้ ซึ่งจะสามารถใช้ บอ่ อนบุ าลลูกปลาวัยอ่อนได้ตารางเมตรละประมาณ 300 ตัว ในเวลา 4-6 สัปดาห์ โดยใช้เครื่องเป่าลมช่วย และเปล่ียนถ่ายน้าประมาณครึ่งบ่อสัปดาห์ละคร้ังให้อาหารสมทบวันละ 3 เวลา เม่ือลูกปลาที่เล้ียงโตข้ึนมี ขนาด 3-5 ซม. 4. กระชงั ในล่อนตาถี่ ขนาด 3 x 3 x 2 เมตร ซึง่ สามารถจะใช้อนุบาลลูกปลาวัยอ่อนได้ จ้านวน ครั้ง ละ 3,000 - 5,000 ตัว โดยให้ไข่แดงต้มบดให้ละเอียด วันละ 3-4 คร้ัง หลังจากอุง อาหารของลูก ปลายุบตัว ลงใหม่ ๆ เป็นเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ หลังจากนั้นจึงให้ร้าละเอียด 3 ส่วน ผสมกับปลาป่นบด ให้ละเอียด อัตรา 1 สว่ นตดิ ตอ่ กันเป็นระยะเวลาประมาณ 4-5 สปั ดาห์ ลูกปลาจะโตข้ึนมีขนาด 3-5 ซม. ซ่ึงสามารถน้าไป เล้ียงใหเ้ ป็นปลาขนาดใหญห่ รือจ้าหน่าย

ภาพท่ี 5 การอนบุ าลลูกปลานิลแดงบอ่ ซีเมนต์ การอนุบาลลกู ปลานิลอาจจะใชบ้ ่อเพาะพนั ธ์อุ นุบาลปลานิลเลยก็ได้ เพ่ือเป็นการประหยัด โดย ซ้อน พ่อพนั ธ์อุ อกไปเลี้ยงไวต้ ่างหาก ภาพท่ี 6 การอนบุ าลลูกปลานิลในกระชงั ในล่อนตาถี่ การเล้ยี ง ปลานลิ เป็นปลาที่ประชาชนนยิ มเลี้ยงกันมากชนิดหนึ่ง ท้ังในรูปแบบการค้าและเล้ียงไว้บริโภคใน ครัวเรือน ทั้งน้ีเน่ืองจากปลานิลเป็นปลาท่ีเลี้ยงง่าย กินอาหารได้แทบทุกชนิด เนื้อมีรสชาติดีตลาดมีความ ต้องการสงู สว่ นในเร่ืองราคาท่ีจ้าหน่ายน้ันค่อนข้างต้่า เมื่อเปรียบเทียบกับปลาชนิดอื่น ๆ เช่น ปลาตะเพียน ขาว ปลาสวาย ฯลฯ ดงั นั้นการเลี้ยงปลาชนิดน้ีเพื่อผลิตจ้าหน่าย จึงมีความจ้าเป็นท่ีจะต้องพิจารณาในด้าน อาหารปลาที่จะน้ามาใช้เลี้ยงเป็นหลัก กล่าวคือ ต้องเป็นอาหารท่ีหาได้ง่าย ราคาต้่า เพ่ือลดต้นทุนการ ผลิตให้มากท่ีสุด นอกจากนั้นการเลี้ยงปลาชนิดน้ีมีความจ้าเป็นในด้านการจัดการฟาร์มที่เหมาะสม เพราะปลานิลเป็นปลาที่ออกลูกดก ถ้าเป็นในบ่อมีความหนาแน่นมากก็จะไม่เจริญเติบโต ดังน้ันการเล้ียงที่ จะให้ได้ผลดีเป็นท่ีพอใจ ก็จ้าเป็นต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ตามประเภทของการเลี้ยงและ ข้นั ตอนต่อไปนี้

1. บอ่ ดิน บ่อทเี่ ลี้ยงปลานิลควรเป็นรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้าเพื่อสะดวกในการจับเนื้อที่ตั้งแต่ 200 ตารางเมตรข้ึน ไป ใช้เศษอาหารเล้ียงจากโรงครัว ปุ๋ยคอก อาหารสมทบอื่น ๆ ท่ีหาได้ง่าย เช่น แหนเป็ด สาหร่าย เศษ พืชผกั ต่าง ๆ ปรมิ าณปลาที่ผลติ ได้ก็เพยี งพอส้าหรับบริโภคในครอบครวั ส่วนการเลี้ยงปลานิลเพ่ือการค้าควรใช้บ่อขนาดใหญ่ตั้งแต่ 0.5 - 3.0 ไร่ควรจะมีหลายบ่อเพื่อ ทยอย จับปลาเป็นรายวัน รายสัปดาห์และรายเดือน เพ่ือให้ได้เงินสดมาใช้จ่ายเป็นเงินทุนหมุนเวียนส้าหรับ คา่ อาหารปลา เงนิ เดือนคนงาน ค่าใชจ้ ่ายอ่ืน ๆ ปัจจบุ ันการเลี้ยงปลานิลในบอ่ ดินแบง่ ได้ 4 ประเภท ตามลักษณะของการเลีย้ งดังนี้ 1. การเลี้ยงปลานิลแบบเดี่ยว โดยปล่อยลูกปลาขนาดเท่ากันลงเลี้ยงพร้อมกันใช้เวลาเลี้ยง 6-12 เดือน แล้วจบั หมดทัง้ บ่อ 2. การเล้ียงปลานิลหลายรุ่นในบ่อเดียวกัน โดยใช้อวนจับปลาขนาดใหญ่เฉพาะขนาดปลาที่ ตลาดตอ้ ง การจ้าหน่ายปล่อยให้ปลาขนาดเลก็ เจริญ เติบโต 3. การเล้ียงปลานิลร่วมกับปลาชนิดอื่น เช่น ปลาสวาย ปลาตะเพียน ปลาจีน ฯลฯ เพื่อใช้ ประโยชน์ จากอาหาร หรือเล้ียงร่วมกับปลากินเน้ือเพ่ือก้าจัดลูกปลาท่ีไม่ต้องการ ขณะเดียวกันจะได้ปลากิน เน้ือเปน็ ผลพลอยได้ เชน่ การเล้ยี งปลานลิ ร่วมกบั ปลากราย และการเล้ยี งปลานลิ รว่ มกับปลาชอ่ น 4. การเล้ียงปลานิลแบบแยกเพศโดยวิธีแยกเพศปลา หรือเปลี่ยนเพศปลาเป็นเพศเดียวกัน เพื่อ ป้องกันการแพร่พันธใ์ุ นบ่อ สว่ นมากนิยมเลยี้ งเฉพาะปลาเพศผู้ซง่ึ มีการเจรญิ เตบิ โตเร็วกวา่ เพศเมยี การขุดบ่อเล้ียงปลาในปัจจบุ ันนยิ มใช้เครอื่ งจกั รกล เช่น รถแทรกเตอร์ รถตักขุดดิน เพราะเสียค่า ใช้ จ่ายต่้ากว่าใช้แรงงานจากคนขุดเป็นอันมาก นอกจากน้ียังปฏิบัติงานได้รวดเร็วตลอดจน การสร้างคันดิน ก็ สามารถอัดให้แน่นป้องกันมากร่ัวซึมของน้าได้เป็นอย่างดี ความลึกของบ่อประมาณ 1 เมตร มีเชิงลาด ประมาณ 45 องศา เพื่อป้องกันการพังทลายของดิน และมีชายบ่อกว้างประมาณ 1-2 เมตร ตามขนาด ความกว้างยาวของบ่อท่ีเหมาะสม ถ้าเป็นอยู่ในแหล่งน้า เช่น คู คลอง แม่น้า หรือในเขตชลประทาน ควรสรา้ งทอ่ ระบายน้าท้ิงทพ่ี น้ื บ่ออีกด้านหน่ึง โดยจัดระบบน้าเข้าออกคนละทาง เป็นการลดค่าใช้จ่าย ใน การสูบน้า แตถ่ ้าบอ่ น้ันไม่สามารถจะทา้ ทอ่ ชักน้าและระบายน้าได้จ้าเปน็ ต้องใชเ้ ครอ่ื งสูบนา้ ภาพที่ 7 ขัน้ ตอนการเลย้ี งปลานลิ ในบอ่ ดิน

ข้นั ตอนการเลีย้ งปลานิลในบ่อดิน 1. ก้าจัดวัชพืชและพันธ์ุไม้น้าต่าง ๆ เช่น กก หญ้า ผักตบชวาให้หมดโดยน้ามา กองสุมไว้แห้ง แลว้ น้ามาใช้เป็นปุ๋ยหมกั ในขณะที่ปล่อยปลาลงเล้ียง ถ้าในบ่อเก่ามีเลนมากจ้าเป็นต้องสาดเลนข้ึนโดยน้า ไป เสริมคัดดินที่ช้ารุด หรือใช้เป็นปุ๋ยแก่พืช ผัก ผลไม้ บริเวณไกล้เคียงพร้อมท้ังตกแต่ง เชิงลาดและ คัด ดินให้ แน่นดว้ ย ก้าจัดศัตรู ศัตรูของปลานิล ได้แก่ ปลาจ้าพวกกินเนื้อ เช่นปลาช่อน ปลาชะโด ปลาหมอ ปลาดุก นอกจากนี้ก็มีสัตว์จ้าพวก กบ เขียด งู เป็นต้น ดังนั้น ก่อนท่ีจะปล่อยปลานิลลงเลี้ยงจึงจ้าเป็นต้องก้าจัด ศัตรู ดังกล่าวเสียก่อนโดยวิธีระบายน้าออกให้เหลือน้อยท่ีสุด การก้าจัดศัตรูของปลาอาจ ใช้โล่ติ๊นสด หรือแห้ง ประมาณ 1 กิโลกรัม ปริมาณของน้าในบ่อ 100 ลูกบาศก์เมตร คือทุบหรือบดโล่ต๊ินให้ละเอียด น้าลงแช่น้า ประมาณ 1-2 ปบี๊ ขยา้ โลต่ นิ๊ เพอื่ ใหน้ ้าสีขาวออกมาหลาย ๆ ครั้งจนหมดน้าไปสาดให้ทั่วบ่อ ศัตรูพวกปลาจะ ลอยหัวขึ้นมาภายหลังโล่ติ๊นประมาณ 30 นาที ใช้สวิงจับขึ้นมาใช้บริโภคได้ที่เหลือตาย พ้ืนบ่อจะลอยใน วันรุ่งขึ้นส่วนศัตรูจ้าพวกกบเขียดงู จะหนีออกจากบ่อไป และก่อนปล่อยปลาลงเลี้ยงควร จะท้ิงระยะไว้ ประมาณ 7 วนั เพอ่ื ให้ฤทธข์ิ องโล่ตน๊ิ สลายตัวไปหมดเสียกอ่ น ภาพที่ 8 มวนกรรเชยี ง เปน็ ศัตรูปลาชนิดหนงึ่ 2. การใส่ปุ๋ย โดยปกติแล้วอุปนิสัยในการกินอาหารของปลานิลจะกินอาหารจ้าพวกแพลงก์ตอนพืช และสัตว์ เศษวัสดุเน่าเปื่อยตามพื้นบ่อ แหน สาหร่าย ฯลฯ ดังน้ันในบ่อเล้ียงปลาควรให้อาหารธรรมชาติ ดังกล่าวเกิดขน้ึ อย่เู สมอ จงึ จา้ เป็นต้องใส่ป๋ยุ ลงไปเพื่อละลายเป็นธาตุอาหาร ซึ่งพืชน้าขนาดเล็กจ้าเป็นใช้ใน การปรุงอาหารและเจริญเติบโตโดยกระบวนการสังเคราะห์แสง ซึ่งเป็นโซ่อาหาร อันดับต่อไป คือ แพลงกต์ อนสัตว์ ได้แก่ ไร่น้า และตัวอ่อนของแมลง ปุ๋ยท่ีใช้ ได้แก่ มูลวัว ควาย หมู เป็ด ไก่ นอกจากปุ๋ย ท่ไี ดจ้ ากมลู สัตว์แล้วก็อาจใชป้ ๋ยุ หมักจ้าพวกหญา้ และฟางขา้ วปยุ๋ สดตา่ ง ๆ ไดเ้ ชน่ เดียวกัน

อัตราส่วนการใส่ปุ๋ยคอกในระยะแรก ควรใส่ประมาณ 250-300 กก./ไร่/เดือน ส่วนในระยะหลัง ควรลดลงเพียงครึ่งหนึ่ง หรือสังเกตจากสีของน้าในบ่อ ถ้ายังมีสีเขียวอ่อนแสดงว่ามีอาหารธรรมชาติ เพียงพอ ถ้าน้าใสป่ ราศจากอาหาร ธรรมชาติก็เพมิ่ อัตราส่วนให้มากขน้ึ และในกรณที ห่ี าปุ๋ยคอกไม่ได้ก็อาจ ใชป้ ุย๋ วิทยาศาสตร์ สูตร 15 : 15 : 15 ใสป่ ระมาณ 5 กก./ไร/่ เดอื น ก็ได้ วิธีใส่ปุ๋ย ถ้าเป็นปุ๋ยคอกควรตากบ่อให้ แห้งเสียก่อน เพราะปุ๋ยสดจะท้าให้น้ามีแก๊สจ้าพวกแอมโมเนียละลายอยู่น้าหนักมากเป็นอัตรายต่อปลา การใส่ปุ๋ยคอกใช้วิธีหว่านลงไปในบ่อให้ละลายน้าทั่ว ๆ บ่อ ส่วนปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยสดน้ันควร กองสุมไว้ ตามมุมบ่อ 2-3 แห่ง โดยมีไม้ปักล้อมเป็นคอกรอบกองปุ๋ยเพื่อป้องกันมิให้ส่วนท่ียังไม่สลายตัวกระจัด กระจาย 3. อัตราปล่อยปลาเล้ียงในบ่อดิน ขึ้นอยู่กับคุณภาพน้า อาหาร แ ละการจัดการเป็นส้าคัญ โดยทว่ั ไปจะปลอ่ ยลูกปลาขนาด 3-5 ซม. ลงเลี้ยงในอัตรา 1-3 ตัว/ตารางเมตร หรือ 2,000 - 5,000 ตัว/ไร่ 4. การให้อาหาร การใส่ปุ๋ยเป็นการให้อาหารแก่ปลานิลท่ีส้าคัญมากวิธีหนึ่ง เพราะจะได้อาหาร ธรรมชาติ ที่มีโปรตีนสูงและราคาถูก แต่เพ่ือเป็นการเร่งให้ปลาท่ีเล้ียงเจริญเติบโตขึ้นหรือถูกต้องตามหลัก วิชาการ จึงควรให้อาหารจ้าพวกคาร์โบไฮเดรทเป็นอาหารสมทบด้วย เช่น ร้า ปลายข้าว กากมะพร้าว มันสา้ ปะหลังห่ันตม้ ใหส้ กุ และเศษเหลอื ของอาหารทม่ี ีโปรตีนสงู เช่น กากถว่ั เหลืองจากโรงท้าเต้าหู้ กาก ถ่วั ลสิ ง อาหารผสมซึ่งมปี ลาปน่ รา้ ข้าว ปลายขา้ ว มีจ้านวนโปรตีนประมาณ 20% เศษอาหารที่เหลือจากโรง ครัวหรือภัตตาคาร อาหารประเภทพืชผัก เช่น แหนเป็ด สาหร่าย ผักตบชวาสับให้ละเอียด เป็นต้น อาหาร สมทบเหล่านี้ควรเลือกชนิดท่ีมีราคาถูกและหาได้สะดวก ส่วนปริมาณท่ีให้ก็ไม่ควรเป็น 4% ของน้าหนัก ปลาที่เลย้ี ง หรือจะใช้วิธีสังเกตจากปลาที่ขึ้นมากินอาหารจากจุดที่ให้เป็นประจ้า คือ ถ้ายังมีปลานิลออกัน อยู่มากเพื่อรอกินอาหารก็เพ่ิมจ้านวนอาหารมากข้ึนตามล้าดับทุก 1-2 สัปดาห์ ในการให้อาหารสมทบมีข้อ พึงควรระวัง คือ ถา้ ปลากนิ ไม่หมด อาหารจมพื้นบ่อ หรือละลายน้ามาก กท็ า้ ใหเ้ กิดความเสียหายข้ึนหลาย ประการ เช่น เสียค่าใช้จ่ายไปโดยเปล่าประโยชน์ ท้าให้น้าเน่าเสีย เป็นอัตรายต่อปลาท่ีเลี้ยง และหรือต้อง เพ่ิมค่าใช้จ่ายในการสบู ถ่ายเปลยี่ นน้าบอ่ ย ๆ เป็นตน้ การเลย้ี งปลาร่วมกบั สตั ว์บกอนื่ ๆ วัตถุประสงค์เพื่อใช้มูลสัตว์เป็นอาหารและปุ๋ยในบ่อเป็นการใช้ประโยชน์แบบผสมผสานระหว่าง การเล้ียงปลากับการเล้ียงสัตว์อ่ืน ๆ โดยเศษอาหารท่ีเหลือจากการย่อยหรือตกหล่นจากที่ให้อาหารจะ เป็น อาหารของปลาโดยตรงในขณะทีม่ ูลของสัตว์จะเปน็ ป๋ยุ และให้แร่ธาตุสารอาหารแก่พืชน้าซ่ึงเป็น อาหารของ ปลา เปน็ การลดตน้ ทุนค่าใชจ้ า่ ยและแกป้ ญั หามลภาวะได้ วิธกี ารเลยี้ งสัตวร์ ่วมกับปลาอาจใชว้ ิธสี รา้ งคอกสัตว์บนบอ่ ปลาเพื่อให้มูลไหลลงบอ่ ปลาโดยตรง หรือ สรา้ งคอกสตั ว์ไว้บนคันบอ่ แล้วนา้ มูลสตั ว์มาใส่ลงบ่อในอัตรทเ่ี หมาะสม ในประเทศไทยนิยมเลี้ยง สกุ ร จ้านวน 10 ตัว หรือ เป็น ไก่ ไข่ จา้ นวน 200 ตวั ต่อบอ่ ปลาพื้นทีน่ ้า 1 ไร่

2. กระชังหรือคอก การเลย้ี งปลานิลโดยใชแ้ หล่งน้าธรรมชาติทั้งในบริเวณน้ากร่อยและน้าจดื ท่ีมคี ณุ ภาพน้าดีพอก ระชงั ส่วนใหญ่ทใี่ ชก้ นั โดยทว่ั ไป จะมีขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 25 เมตร ลึก 5 เมตร สามารถจะนา้ มา ใชต้ ดิ ตัง้ 2 รปู แบบคือ 2.1 กระชังหรือคอกแบบผกู ติดกับที่ สรา้ งโดยใช้ไม้ไผ่ทัง้ ล้าปกั ลงในแหลง่ น้าควรมไี มไ้ ผผ่ กู เปน็ แนวนอนหรือเสมอผิวนา้ ท่รี ะดับประมาณ 1-2 เมตร เพ่ือยึดลา้ ไผท่ ่ปี ักลงในดนิ ให้แนน่ กระชงั ตอน บนและ ล่างควรร้อยเชอื กคร่าวเพ่ือใช้ยดึ ตัวกระชังให้ขึงตงึ โดยเฉพาะตรงมุม 4 มุม ของกระชงั ทัง้ ดา้ นล่างและ ดา้ นบน การวางกระชังกค็ วรวางให้เป็นกลุ่ม โดยเวน้ ระยะหา่ งกนั ให้นา้ ไหลผา่ นไดส้ ะดวก อวนทใ่ี ชท้ า้ กระชงั เป็นอวนไนล่อนช่องตาแตกตา่ งกันตามขนาดของปลานลิ ทีจ่ ะเล้ยี ง คือขนาดชอ่ งตา 1/4 นิ้ว 8/8 นวิ้ ขนาด 1/2 น้วิ และอวนตาถ่สี ้าหรบั เพาะเลย้ี งลกู ปลาวยั อ่อน 2.2 กระชังแบบลอย ลักษณะของกระชังก็เหมอื นกับกระชังโดยท่ัวไปแต่ไมใ่ ชเ่ สาปกั ยึดติดอยู่กบั ท่ี ส่วนบนของกระชังผกู ตดิ ทนุ่ ลอย ซ่งึ ใช้ไผ่หรอื แทง่ โฟม มุมทั้ง 4 ด้านลา่ งใชแ้ ทง่ ปูนซเี มนตห์ รือก้อน หินผกู กบั เชอื กคร่าวถว่ งใหก้ ระชงั จมถ้าเลี้ยงปลาหลายกระชังก็ใชเ้ ชอื กผูกโยงตดิ กนั ไว้เป็นกลุ่ม อัตราส่วนของปลาที่เล้ียงในกระชัง ปลานลิ ทเ่ี ลย้ี งในกระชงั ในแหล่งนา้ ทมี่ ีคุณภาพน้าดสี ามารถ ปลอ่ ย ปลาไดห้ นาแนน่ คือ 40-100 ตัว/ตรม. โดยใหอ้ าหารสมทบทเี่ หมาะสม เชน่ ปลายขา้ วหรอื มันสา้ ปะหลัง ร้า ข้าว ปลาป่น และพืชผักตา่ ง ๆ โดยมีอัตราสว่ นของโปรตีนประมาณ 20% ส้าหรบั วธิ ที ้าอาหารผสมดังกล่าว คอื ตม้ เฉพาะปลายขา้ ว หรอื มนั ส้าปะหลงั ให้สกุ แลว้ น้ามา คลุกเคล้า กบั รา้ ปลาปน่ และพชื ผักตา่ ง ๆ แล้ว ปัน้ เปน็ ก้อนเพ่ือมใิ ห้ละลายน้าได้ง่ายกอ่ นทป่ี ลาจะกนิ ภาพท่ี 9 ปลานลิ ท่ีจะนา้ ไปจ้าหน่าย

การเจริญเติบโตและผลผลิต ปลานลิ เปน็ ปลาท่ีมกี ารเจริญเติบโตเร็ว เม่อื ไดร้ บั การเลยี้ งดอู ย่างถกู ตอ้ งจะมขี นาดเฉลี่ย 500 กรัม ใน เวลา 1 ปี ผลผลติ ไม้น้อยกวา่ 500 กก./ไร/่ ปี ในกรณีทีเ่ ล้ียงในกระชังทค่ี ุณภาพนา้ ดีมีอาหารสมทบ อยา่ ง สมบูรณ์ สามารถให้ผลผลิตไมน้ อ้ ยกวา่ 5 กิโลกรมั /ลูกบาศก์เมตร การเจริญเติบโตของปลานลิ อายปุ ลา (เดอื น) ความยาว (ซม.) หนกั (กรัม) 3 10 30 6 20 200 9 25 350 12 30 500 ภาพที่ 10 ผลผลิตปลานิลแดง การจบั จาหนา่ ยและการตลาด ระยะเวลาการจับจ้าหนา่ ย ไม่แนน่ อนข้ึอยกู่ ับขนาดของปลานลิ และความต้องการของตลาด โดยทว่ั ไป เปน็ ปลานิลท่ีปลอ่ ยลงเล้ยี งในบ่อรุ่นเดียวกนั ก็จะใช้เวลาประมาณ 1 ปี จึงจะจบั จ้าหน่าย เพราะปลานลิ ทีไ่ ด้ จะมีนา้ หนักประมาณ 2-3 ตัวต่อกโิ ลกรมั ซึ่งเป็นขนาดท่ีตลาดทต่ี ้องการส่วนปลานิล ท่ปี ล่อยลงเล้ยี งหลาย

รุ่นในบ่อเดยี วกัน ระยะเวลาการจบั จ่ายจ้าหน่ายกข็ น้ึ อยู่กับราคาปลาและความต้อง การของผซู้ ้ือการจบั ปลา ทา้ ได้ 2 วิธี ดงั น้ี 1. จับปลาแบบไมว่ ดิ บอ่ แหง้ จะใช้อวนตาหา่ งจับปลา เพราะจะไดป้ ลาทม่ี ขี นาดใหญ่ตามท่ีต้องการ การ ตอี วนจบั ปลากระท้าโดยผจู้ บั จ้าหน่ายและยืนเรียงแถวหนา้ กระดานโดยมีระยะหา่ งกนั ประมาณ4.50 เมตร โดยอยูท่ างด้านหนงึ่ ของบ่อแล้วลากอวนไปยังอกี ดา้ นหน่งึ ของบอ่ ตามความยาวแล้วยกอวนขนึ้ หลักจากนั้น กน็ ้าสวิงตกั ปลาใสเ่ ขง่ เพ่ือชงั่ ขาย ท้าเช่นนเ้ี รอ่ื ยไปจนไดป้ ริมาณตามที่ต้องการ สว่ นปลาเล็ก ก็คงปล่อยเลีย้ ง ในบอ่ ต่อไป ภาพท่ี 11 ลากอวนเพอื่ น้าไปจา้ หน่าย การลากอวนแตล่ ะครั้งจะมีปลาเบญจพรรณเป็นผลพลอยไดเ้ สมอ เช่น ปลาดุก ปลาหลด ปลา ตะเพยี น ปลาช่อน เปน็ ต้น การคดั ขนาดของปลากระท้าได้ 2 วิธคี ือ ถ้าน้าไปจา้ หนา่ ยทีอ่ งคก์ าร สะพานปลา องคก์ ารสะพานปลาก็จะจัดการคัดขนาดให้ แตถ่ ้าเกษตรกรผูเ้ ลยี้ งปลาจา้ หนา่ ยทีป่ ากท่อ องคก์ ารสะพานปลา กจ็ ะจดั การคดั ขนาดให้ แต่ถ้าเกษตรกรผเู้ ลี้ยงปลาจ้าหน่ายทปี่ ากท่อ กจ็ ้าเปน็ ต้อง ทา้ การคัดขนาดปลากันเอง 2. จบั ปลาแบบวดิ บอ่ แห้ง ก่อนทา้ การจบั ปลาจะต้องสบู น้าออกจากบ่อใหเ้ หลือน้อยแล้วจงึ ตีอวนจับ ปลาเชน่ เดยี วกบั วธิ ีแรก จนกระทั่งปลาเหลอื จ้านวนน้อยจึงสบู น้าออกจากบ่ออีกคร้ังหน่ึงและขณะเดยี วกันก็ ตีน้าไลป่ ลาใหไ้ ป รวมกัน อยใู่ นรอ่ งบ่อร่องบ่อนีจ้ ะเป็นส่วนทีล่ ึกอยู่ด้านหนึง่ ของบ่อเมื่อนา้ ไปบอ่ แห้ง ปลาก็ จะมารวมกัน อยู่ทร่ี อ่ งบ่อ และเกษตรกรผูเ้ ล้ยี งปลากจ็ ับปลาขน้ึ จ้าหนา่ ยต่อไป การจับปลาลกั ษณะนี้ส่วน ใหญจ่ า้ ทา้ ทุก ปีในฤดูแลง้ เพ่อื ตากบอ่ ให้แห้งและเริม่ ตน้ เลี้ยงปลาในฤดูการผลิตต่อไป ตลาดของปลานลิ สว่ นใหญย่ งั ใชบ้ ริโภคภายในต่างประเทศ อย่างไรก็ตามมโี รงงานห้องเย็นเริ่มรับซอ้ื ปลานลิ ปลานิลแดง เพ่อื แปรรูปสง่ ออกจา้ หนา่ ยต่างประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอมริกา อติ าลี ฝรั่งเศส

ออสเตรเลีย เปน็ ต้น โดยโรงงานจะรบั ซ้ือ ปลาขนาด 400 กรัม ข้ึนไป เพือ่ แชแ่ ขง็ ส่งออกทั้งตวั และรับ ซื้อ ปลา ขนาด 100-400 กรมั เพอ่ื แล่เฉพาะเนื้อแชแ่ ข็ง หรือน้าไปแปรรูปเพื่อสง่ ออกต่อไป ตน้ ทนุ และผลตอบแทน ต้นทุนการผลิตปลานิล 1 กโิ ลกรมั ในฟาร์มเลีย้ งขนาด 1-3 ไร่ ประกอบด้วยต้นทุนคงที่ได้แก่ ทด่ี นิ ค่า ขุดบ่อ เครื่องสบู น้า ฯลฯ มูลคา่ 4-6 บาท รวมเป็นต้นทนุ ท้ังสน้ิ 14-18 บาท ต่อผลผลติ ปลานิล 1 กิโลกรัม จากขอ้ มลู พบวา่ ถา้ เลี้ยงปลานิลดว้ ยอาหารสมทบเพียงอย่างเดียว จะท้าให้ตน้ ทนุ การผลิตสูงกว่าราคาตลาด ดงั น้ัน เกษตรกรควรเล้ียง ปลานิลร่วมกบั ปลาชนดิ อื่น ๆ โดยเฉพาะการเลยี้ งรว่ มกับสตั ว์บกหรอื ใช้นา้ จากบอ่ ปลากนิ เนอ้ื เช่น ปลาดกุ ปลาชอ่ น ซง่ึ มีเศษอาหารและปุ๋ยสา้ หรับพชื นา้ ซึ่งเปน็ อาหารของปลานลิ นอกจากนี้ การใช้แรงงานในครอบครัวจะเปน็ แนวทาง ลดตน้ ทุนการผลิตได้อีกทางหนง่ึ ปัญหาและอุปสรรค ปญั หาและอุปสรรคในการเลย้ี งปลานลิ คือ ปญั หาปลาสญู หาย ปญั หาพนั ธ์ุปลานิลลูกผสม ปัญหาปลา นิลราคาต้่า ปัญหาน้าท่วม ปัญหานา้ เสีย ปัญหาปลาไม่โต ปัญหาการขาดแคลนเงินทนุ ปญั หาการใชพ้ นื้ ที่ จ้านวนมากเลยี้ งปลานิล ปญั หาภาษที ีด่ นิ มีอัตราสูง ปัญหาดินเปรี้ยว ปญั หาราคาอาหารปลานลิ แพง ปญั หา ถกู เวนคอื ทีด่ ิน ปัญหาคลอง ระบาย น้าตื้นเขิน และปัญหาเกษตรกรขาดความรเู้ กย่ี วกับการเลย้ี งปลานิล นอกจากนี้ปัญหากลิ่นเหมน็ โคลนในเนือ้ ปลานลิ ยังเปน็ อปุ สรรคของการส่งออกซงึ่ แก้ไขได้โดยการ เปลย่ี นน้าพร้อม ทง้ั ควบคมุ คณุ ภาพน้าและอาหารทีเ่ ลีย้ งปลาในชว่ งก่อนจับ ประมาณ 3 วนั แนวโนม้ การเลี้ยงปลานิลในอนาคต ปลานลิ เป็นปลาท่ีตลาดผบู้ ริโภคยงั มคี วามต้องการสูงขึน้ เรื่อย ๆ เน่ืองจากจา้ นวนประชากรมอี ัตราการ เจริญ เตบิ โตสงู จึงส่งผลต่อแนวโน้มการเลี้ยงปลาชนดิ นใี้ ห้มลี ูท่ างแจ่มใสตอ่ ไปโดยไม่ต้องกังวลปญั หาด้าน การตลาด เนือ่ งจากเป็นปลาทม่ี รี าคาดี ไม่มีอุปสรรคเร่ืองโรคระบาด เป็นท่ีนิยมบริโภคและเลยี้ งกันอยา่ ง แพรห่ ลายในท่ัวทกุ ภมู ิภาค เพราะสามารถน้ามาประกอบอาหารไดห้ ลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ใน ปจั จบุ ันปลานลิ สามารถสง่ เป็น สินค้าออกไปสตู่ ่างประเทศในลักษณะของปลาแลเ่ น้ือ ตลาดทส่ี า้ คัญ ๆ อาทิ ประเทศญีป่ ุ่น สหรัฐอเมริกา อติ าลี เป็นต้น ดงั นน้ั การเลีย้ งปลานลิ ใหม้ ีคณุ ภาพ ปราศจากกลิ่นโคลน ยอ่ มจะ ส่งผลดตี อ่ การบริโภค การจ้าหนา่ ยและ การให้ผลตอบแทนทค่ี ุ้มคา่ ในทสี่ ุด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook