Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพราะพันธุ์ปลาสลิด

การเพราะพันธุ์ปลาสลิด

Published by Bangbo District Public Library, 2019-06-19 01:21:56

Description: การเพราะพันธุ์ปลาสลิด

Search

Read the Text Version

การเพาะพนั ธปุ ลาสลดิ สถานปี ระมงน้าํ จดื จังหวัดสมทุ รปราการ

ปลาสลิดหรือปลาใบไมเปนปลาพ้ืนเมืองของไทย มีแหลงกําเนิดอยูในท่ีลุมภาคกลางของ ประเทศไทย และพบในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ปลาสลิดเดิมทีเล้ียงกันบริเวณ ดอน กํายาน จังหวัดสุพรรณบุรี แลวมีการยายมาเลี้ยงกันมากในจังหวัดสมุทรปราการในเขตพ้ืนที่ อ. เมือง อ.บางพลี และ อ.บางบอ เปนเวลายาวนานกระทั่งในชวงหลายปท่ีผานมาจนถึงปจจุบันไดมี การขยายพื้นที่การเลี้ยงเพิ่มข้ึนเปนจํานวนมากท้ังภายในจังหวัดและจังหวัดอื่นๆเชน จ.สมุทรสาคร, จ. สมุทรสงคราม จ.ฉะเชิงเทรา จ.ชลบุรี จ.สุพรรณบุรี และมีการแพรกระจายไปแทบ ทุกภาคของ ประเทศไทย

ลกั ษณะทางชวี วทิ ยาของปลาสลดิ ปลาสลิดหรือปลาใบไมเปน ปลานาํ้ จดื พน้ื บา นของไทย ชอ่ื วิทยาศาสตร Trichogaster pectoralis (Regan, 1910) ชือ่ สามญั SNAKESKIN GOURAMI ครอบครัว Anabantidae ลกั ษณะรูปรา ง ปลาสลดิ มรี ปู รา งคลายปลากระด่ีหมอ แตขนาดโตกวา ลําตวั แบนขา ง มีครบี ทอ งยาวครีบเดียว สีของลําตัวสีเขยี วออกเทาหรอื มี สีคล้าํ มรี ว้ิ ดําพาดขวางตามลาํ ตวั จากหัวถึงหาง อาหารของปลาสลดิ ไดแ ก แมลงน้ํา ตัวออนลูกนํ้า ตะไครน า้ํ ผกั หญา แพลงตอนพืช แพลงตอนสัตว และสารอินทรียตางๆ

การแพรข ยายพนั ธุ ปลาสลดิ สามารถวางไขไดเม่ืออายุ ประมาณ 6 - 7 เดอื น เรม่ิ วางไขใ นชว ง ฤดฝู นตง้ั แตเ ดอื น เมษายน – กนั ยายน วางไขชุกเดอื น สิงหาคม – กันยายน แม ปลาตวั หนง่ึ จะวางไขปล ะหลายคร้งั ๆ ประมาณ 18,000 - 36,000 ฟอง วางไขใ น นาํ้ นิ่ง ตวั ผูจะกอ หวอดในบรเิ วณทีม่ พี รรณไมน้ําไมหนาแนน โดยเพศผูจะผสม เพศเมยี ในอัตรา 1 : 1 ไขป ลาสลิดจะเรม่ิ ฟก เปน ตัวภายในระยะ 24 - 36 ชม. ไขป ลาสลิดเปน ไขล อย สีเหลอื ง มหี ยดนา้ํ มันขนาดใหญ ขนาด ø เฉลย่ี 1.5–2.0 ม.ม.

การเล้ียงปลาสลิดในอดีตเปนการเลี้ยงแบบธรรมชาติ โดยอาศัยอาหารจาก ธรรมชาติ ในบอเล้ียง ( แปลงนา ) และไดพัฒนาการเล้ียงมาเปนแบบกึ่งพัฒนา โดยมกี ารเพิ่มอาหารธรรมชาติในบอเล้ียง โดยการใสปุยอินทรียไดแก ปุยคอก ปุย หมัก เปนตน นอกจากน้ียังมีการใหอาหาร สมทบไดแก รําละเอียด ปลาปน เศษ อาหารและอาหารสําเร็จรูปเปนตน การเลี้ยงปลาสลิดในอดีต จะทําการเพาะพันธุปลา อนุบาลลูกปลา และเล้ียง ปลาในบอเดียวกัน โดยอาศัยธรรมชาติเปนหลักทําใหไมสามารถคาดคะเนผลผลิต และผลผลิตไมแนนอน ซ่ึงในปจจุบัน ไดมีการพัฒนาวิธีการตางๆ ขึ้นมาเพื่อ พฒั นาการเพาะเลย้ี งปลาสลดิ ใหไ ดผ ลผลติ สงู และมีความแนน อนมากข้ึน

• แหลง กําเนิดและการแพรกระจาย ปลาสลิดมีแหลงกําเนิดในพ้ืนที่ลุมภาคกลาง ชอบอยูในบริเวณที่มีนํ้านิ่ง เชน หนอง บึง ตามบริเวณท่ีมีพรรณไมน้ํา ผักและ สาหรายเพ่ือใชเปนที่พัก อาศัยกําบงั ตัว กอ หวอดวางไข เนอื่ งจากปลาชนดิ นี้โตเรว็ ในแหลง นา้ํ ธรรมชาติท่ี มีอาหารพวกพืช ไดแก สาหราย ตะไครน้ํา พืชนํ้าอ่ืนๆรวมท้ังสารอินทรีย และ สตั วเ ลก็ ๆ จงึ สามารถนาํ ปลาสลดิ มาเลย้ี งในบอและนาขาวไดเ ปนอยา งดี

การสบื พนั ธุ ลักษณะเพศ ปลาสลิดตัวผูและตัวเมียมีความแตกตางกัน ซึ่งสามารถสังเกต ความแตกตางอยางเห็นไดชัดคือ ปลาตัวผูมีลําตัวยาวเรียว สันหลังและสันทอง เกือบเปนเสนตรงขนานกัน มีครีบหลังยาวจรดหรือเลยโคนหาง มีสีลําตัวเขม และสวยกวาตัวเมีย สวนตัวเมียมีสันทองยาวมนไมขนานกับสันหลัง และครีบ หลังมนไมยาวจนถึงโคนหาง สีตัวจางกวาตัวผูในฤดูวางไขทองจะอูมเปงออกมา ทั้งสองขาง

การเพาะพนั ธุ ในปจจุบันการเลี้ยงปลาสลิดสามารถแบงออกเปนลักษณะใหญๆ ได 2 ลกั ษณะไดแ ก 1. การเลี้ยงปลาสลิด โดยการเพาะพันธุปลาในบอเล้ียง มี 2 วธิ ีคอื 1.1 การเพาะพันธุโดยวิธีธรรมชาติ โดยการปลอยพอแมพันธุผสม กนั เองตามธรรมชาติ ในอตั รา 50 – 100 กก./ ไร โดยไมคํานึงถึงอัตราสวนพอ แมพันธุโดยใชพอแมพันธุขนาด 8 – 10 ตัว / กก. ซ่ึงจํานวนการวางไขของ ปลาจะไมแนนอนขึ้นอยูกับปจจัยทางธรรมชาติเปนหลัก และปลายังมีการ วางไขห ลายครั้งทาํ ใหไดลกู ปลาหลายรุน

1.2 การเพาะพันธุโดยวิธีฉีดฮอรโมน โดยปลอยพอแมพันธุ ขนาด 8-10 ตัว/กก.ท่ีไดรับการฉีดฮอรโมนสังเคราะหรวมกับยาเสริมฤทธิ์ ในอัตรา 5-10 กก./ไร โดยมีอัตราสวนพอแมพันธุประมาณ 1:1 ซึ่งปลาจะ วางไข ในระยะใกลเคียงกันซ่ึงท้ังวิธีท่ี 1.1 และ 1.2 อาจปลอยปลาในบอเล้ียง ขนาดใหญเลยหรือปลอยลงบอขนาดเล็กกอนเมื่อลูกปลาเกิดและเห็นตัวแลวจึง ปลอยออกไปลงสูบอใหญอีกคร้ังหน่ึง ในการเพาะพันธุปลาลักษณะดังกลาว ไม สามารถคาดคะเนอัตราการรอดตายของลูกปลาและจํานวนลูกปลาที่ได ขึ้นอยู กับอาหารธรรมชาติคุณสมบตั ิของนา้ํ และศัตรูของลกู ปลา

2. การเลี้ยงปลาสลิดโดยการปลอยลูกปลาสลิดขนาด 2-3 ซม. ในอัตราสวน 10,000 ตัว/ไร ลูกปลาที่นํามาปลอยไดจากการเพาะพันธุ โดยวิธีการฉีดฮอรโมนสังเคราะหรวมกับยาเสริมฤทธ์ิและอนุบาลในบอ ดินจนไดขนาดที่ตองการโดยลูกปลาที่นํามาปลอยอาจจะปลอยในบอ เล้ียงเลย หรืออนุบาลตอในบอเล็กกอน แลวจึงปลอยออกบอใหญ นอกจากน้ี เกษตรกรที่เล้ียงปลาสลิดบางราย ยังมีการปลอยปลาขนาด เล็ก 15-20 ตัว/กก. ท่ีไมไดจําหนายปลอยเสริม ซึ่งการปลอยเสริมแบบนี้ สําหรับวิธีการเพาะ 1.1 และ 1.2 ไมควรปลอยในชวงที่ทําการเพาะพันธุ เนื่องจากปลาท่ปี ลอ ยจะกินลกู ปลาท่เี กดิ ใหมไ ด

การเพาะพนั ธปุ ลาสลิดโดยใชฮอรโมน สงั เคราะห รว มกับยาเสรมิ ฤทธิ์

ขั้นตอนการเพาะพนั ธุ 1. เตรยี มบอเพาะพนั ธุ บอเพาะพันธุ เติมน้ําใหมีระดับความลึก 15 - 20 ซม.โดยผานถุงกรองนํ้า ตดั หญา ใสใ หท่วั บอ เพื่อใหป ลากอหวอดวางไข ใชตาขายพรางแสง ปดบริเวณเหนือ บอเพอื่ ปอ งกันการรบกวน

เตรียมกระชงั แยกเพศ ลักษณะกระชังแยกเพศ นาํ กระชงั แยกเพศใสในบอเพาะพันธุ เพ่ือใสพ อ- แมพนั ธุปลาสลิด สาํ หรบั รอฉีดฮอรโมน

2. การคดั เลอื กพอ แมพนั ธปุ ลาสลิด คัดเลอื กพอแมพ นั ธุปลาสลดิ อายุ 6- 7 เดือนขนึ้ ไปหรือมขี นาดความยาว ประมาณ 15 – 20 ซม. นา้ํ หนกั ตวั 100 - 130 กรมั

ลักษณะปลาสลิดเพศผูและเพศเมยี ปลาสลดิ เพศผจู ะมีลักษณะลาํ ตวั เรยี วยาว สันหลังและสันทอ งเกอื บเปน เสน ตรงขนานกันและมีครีบหลังยาวจรดโคนหาง ปลาสลดิ เพศเมยี จะมลี กั ษณะสันทองโคงมนและครีบหลังมนไมยาวจนถงึ โคนหาง สีของลาํ ตวั จางกวา เพศผู

3. เตรยี มอปุ กรณ การฉีดฮอรโ มน 1. ฮอรโมนสงั เคราะห(ซพุ รีแฟค) 2. ยาเสรมิ ฤทธ(ิ์ โมทีเลยี ม) 3. ครกบดยา 4. หลอดฉีดยาขนาด 1 ซีซี 5. เขม็ ฉีดยาเบอร 24 ยาว 1.25 นิ้ว 6. นํ้ากล่ัน หรือนํ้าสะอาด 7. เครื่องชั่งน้าํ หนกั

ฮอรโมนสังเคราะห(ซุพรแี ฟค) , ยาเสริมฤทธ์ิ (โมทีเลียม) วิธเี จอื จางฮอรโ มน ฮอรโมน 1 ขวด บรรจุ 10 ซีซี มีตวั ยา 10,000 ไมโครกรัม ใชห ลอดฉีดยาดูด ฮอรโมนมา 1 ซีซี (มีฮอรโ มน 1,000 ไมโครกรมั ) ผสมกับนํ้ากลนั่ 9 ซีซี รวมเปน 10 ซซี ี (ใน10 ซีซี มีฮอรโ มน 1,000 ไมโครกรมั ) (ดังนัน้ ถาดูดสารละลายฮอรโมนขวดทีผ่ สมใหมน มี้ า 1 ซีซี จะมฮี อรโ มน = 100 ไมโครกรมั )

• การคํานวณยาเสรมิ ฤทธิ์ ( 1 เมด็ มตี วั ยา 10 มลิ ลกิ รมั ) นาํ้ หนักปลา*ยาเสรมิ ฤทธ์ิ (ความเขม ขน ที่ใช 5,10 มิลลิกรมั / กโิ ลกรัม ) = มิลลิกรมั ของยาเสริมฤทธ์ทิ ไี่ ด / 10 มลิ ลิกรัม = จาํ นวนเม็ดของยาเสรมิ ฤทธิท์ ีใ่ ช • การคํานวณนํ้ากล่นั โดยปกติแมปลานํา้ หนกั 1 กโิ ลกรัม สามารถรับสารละลายได 1 ซีซี ดังนน้ั ปรมิ าตรน้ํากลนั่ ท่ใี ช = น้าํ หนักปลาท้ังหมด–ปรมิ าตรฮอรโมนทใ่ี ช ( = ปริมาตรน้ํากลน่ั ที่ใช)

ช่งั นา้ํ หนักปลาท่จี ะฉีดฮอรโมน 1. ช่งั น้าํ หนกั รวม ( กโิ ลกรมั ) 2. นบั จํานวนตัวทงั้ หมด แลว สมุ ชงั่ นา้ํ หนกั 1 กก.(ไดเ ทา กบั กต่ี วั )นาํ จาํ นวน ปลาทง้ั หมดตงั้ / จํานวนตัวตอ กโิ ลกรัม (นํา้ หนกั ปลารวม) 3. คาํ นวณฮอรโ มน นํานา้ํ หนักปลา * ความเขมขน ของฮอรโมน (ที่กาํ หนด) = ฮอรโมนท่ีตอ งใช = กี่ไมโครกรัม / 100 = จาํ นวนซซี ี (ปริมาตรสารละลายฮอรโมนที่ตอง ใช) 4. คํานวณนาํ้ กลั่น นํานาํ้ หนักปลาทัง้ หมด ลบ ปริมาตรฮอรโมนทใี่ ช = ปริมาตรนาํ้ กลนั่ ทใี่ ช

การเตรยี มฮอรโ มนเพื่อฉีดพอแมพ ันธุ เขม็ แรก

ตวั อยา ง การคาํ นวณฮอรโ มน เพาะพนั ธปุ ลาสลดิ นํา้ หนกั 10 กิโลกรมั เปนพอ ปลา 5 กก. แมปลา 5 กก. พอ แมพ ันธปุ ลาขนาด 10 ตวั /กก.(อตั ราสว นพอ แมพ ันธุ = 1:1 ) เขม็ ท่ี 1. กําหนดใหใ ชฮ อรโ มน = 10 ไมโครกรัม / นน.ปลา 1 กก. รว มกบั ยา เสริมฤทธ์ิ 5 มิลลกิ รมั / นน. ปลา 1 กก. วธิ คี ํานวณ เข็มท่ี 1 ฉีดพรอ มกัน 1. ฮอรโ มน นํานํ้าหนกั ปลา 10 กก. คณู 10 ไมโครกรมั = 100 ไมโครกรัม หารดว ย 100 (ของสารละลายฮอรโมนเจอื จาง) = 1 มิลลลิ ติ ร 2. ยาเสรมิ ฤทธ์ิ นําน้ําหนักปลา 10 กก. คณู 5 มิลลิกรัม = 50 มลิ ลิกรัม หารดว ย 10 ( 5 เมด็ ) 3. นํ้ากล่นั นาํ นาํ้ หนักปลา 10 กก. ลบดว ยฮอรโ มน 1 มลิ ลลิ ิตร = 9 มลิ ลลิ ติ ร

4. บดยาเสรมิ ฤทธใ์ิ หละเอยี ด ดูดฮอรโ มนและนํ้ากล่ันตามจํานวนที่คํานวณไว คนใหเ ขากนั 5. ใชห ลอดฉีดยาดูดฮอรโ มน 1 มิลลิลิตร ฉีดพอและแมป ลาไดคร้ังละ 10 ตวั เข็มท่ี 2 เวนระยะเวลาหางกัน 14-16 ชวั่ โมง ใชฮอรโ มน 15-20 ไมโครกรัม/กก. รวมกับยาเสริมฤทธ์ิ 5–10 มลิ ลิกรมั /1 กก. วิธคี ํานวณ ฮอรโมน = 5x (15-20) = 75-100 ไมโครกรัม (0.75,1.0 มิลลิลิตร) ยาเสริมฤทธ์ิ = 5x(5-10) = 25-50 มลิ ลิกรมั (2.5,5 เมด็ ) นํ้ากลั่น = 5 - 0.75 , 1 = 4.25 , 4 มลิ ลิลติ ร ทาํ การผสมฮอรโ มนแลว นําไปฉีดแมป ลา

วธิ ีการฉีด ฉีดตรงโคนครีบหลัง โดยเข็มแรก ฉีดฮอรโมนทัง้ ปลาเพศผแู ละเพศเมยี

ปลอยพอ พนั ธุปลาลงบอ เพาะพันธุ แมพันธุป ลาปลอยลงกระชังแยกเพศ ท้ิงไว 14 - 16 ชม. ฉดี ฮอรโ มนแมป ลาเขม็ ท่ีสอง ใชซ ุพรีแฟค 15-20 ไมโครกรัม ผสมกับโมทเี ลี่ยม 5-10 มลิ ลิกรมั / นํา้ หนักปลา 1 กิโลกรมั

4. ปลอ ยแมปลาลงบอ เพาะพนั ธุ อัตราปลอ ย เพศผู : เพศเมีย 1:1 ความหนาแนน 100-200 คู/ พืน้ ที่ 50 ตารางเมตร

5. ชอนหวอดไขป ลาไปฟก หลงั จากปลอ ยแมป ลาลงบอเพาะพนั ธุประมาณ 24 ชั่วโมง จึงทําการชอ นหวอด ไปฟก ในถังฟก ไข

ทําความสะอาดไขปลา ยายไขปลาลงถังฟก

ลักษณะของไขป ลาสลดิ ไขปลาสลดิ เปนไขลอย

• หลังจากยายไขป ลาไปลงถงั ฟกไขๆ จะฟกออกเปน ตัวภายในระยะเวลา 18-24 ชั่วโมง (อุณหภมู นิ ํ้า 28-32 องศาเซลเซียส) ลกู ปลาท่ฟี กออกเปนตัว 1-2 วนั แรก (หมดั หมา) จะรวมกลมุ กนั ลอยเปนแพบริเวณผิวนํ้า รวบรวมลกู ปลายายลงบอดนิ (เตรยี มน้ํากอ นลงลกู ปลา 1 วนั ) ลูกปลาจะเร่ิมกินอาหารเมื่อ อายุ 3 วนั โดยกินโรติเฟอร/ ลกู ไรแดง (เสรมิ ไขต ม 3-5 วนั )

ลูกปลาอายุ 8 วัน เร่ิมกนิ อาหารผสม (รํากบั ปลาปน) อตั ราสว น 2:1 เลย้ี งจนไดข นาด 2-3 ซม. ลกั ษณะของลกู ปลา อายุ 8 วนั

ลกู ปลาอายุ 25 วนั

การรวบรวมลูกปลา ใชอ วนตาถล่ี าก ใหล ากครึง่ บอกอน แลว ลากเตม็ บอ เพ่อื ไมใหล กู ปลาชํา้

การเลี้ยงปลาสลิดของเกษตรกรที่อําเภอบางบอ วธิ ที ่ี 1 การเลีย้ งโดยปลอ ยใหผสมพนั ธุวางไขเ องตามธรรมชาติ เกษตรกรประมาณ 80 เปอรเซ็นตนิยมใชวิธีนี้ โดยการปลอยให พอแมพันธุผสมพันธุกันเองตามธรรมชาติแลวเล้ียงลูกปลาท่ี เกิดขน้ึ จนโตเปน ปลาขนาดตลาด วิธีที่ 2 การเลี้ยงโดยนําพันธุปลาขนาด 2-3 ซม. ไปปลอ ยเสริมในบอ รว มกับวธิ ีท่ี 1 เกษตรกรประมาณ 20 เปอรเซ็นตนิยมใชวิธีนี้ จํานวนลูกปลาท่ี ปลอ ยเสริมข้ึนอยูกบั อัตรารอดของลกู ปลาทเี่ กิดตามธรรมชาติ

ลกั ษณะบอ ปลาสลดิ บอเล้ียงปลาสลิดหรือนาปลาสลิดมีลักษณะเปนพ้ืนนาขนาด 10 - 100 ไร มีคูน้ําลอมรอบ ขนาดคูกวางประมาณ 2-3 เมตร ความ ลึกของคู ประมาณ 1-1.5 เมตร และคันบอสามารถเก็บกักนํ้าสูงจาก พ้ืนนาประมาณ 50-70 เซนติเมตร ภายในบอเล้ียงอาจ มีบอขนาด เลก็ สําหรบั เปนท่รี วบรวมปลาเพื่อใหส ะดวกเวลาจบั

การเตรยี มบอ การเตรียมบอทําโดย ตากบอท้ิงไว 1-2 เดือน พรอมกับ ลอกเลนกนบอออก เพราะข้ีเลนกนบอจะมีแกสไขเนาและ แกสแอมโมเนีย รวมทั้งสัตวนํ้าอ่ืนๆ หรือปลาท่ีเราไมตองการ โดยขณะตากบอใหปลูกหญาชนิดตางๆ เชน แหว ทรงกระเทียม ตนกก ฯลฯ ในแปลงนาเพื่อใชเปนปุยหลังจาก ฟนหญาในระหวางการเลี้ยง จากน้ันเติมนํ้าลงในบอใหสูงจาก พน้ื นาตรงกลางบอ ประมาณ 50 – 70 เซนติเมตร

การปลอยพอ แมพ นั ธุ กอนปลอยพอแมพันธุ เกษตรกรบางรายอาจใหยาออกซีเตทตราซัยคลิน หลังจาก พอแมปลาพักฟนได 1 ถึง 2 วัน เพ่ือรักษาอาการบอบช้ํา จากการจับและลําเลียง โดยจะให ยาผสมกับอาหารใหปลากินวันละ 1-2 ครั้งติดตอกัน 5-7 วัน ในอัตรา 3-5 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม จากนั้นคัดเลือกพอแมพันธุขนาด 8-10 ตัว /กก.ปลอยในอัตรา 50-100 กก./ไร โดยใชอัตราสวนพอพันธุ : แมพันธุเทากับ 1:1 หรือ 1 : 2 ซ่ึงจํานวนการวางไขของปลา จะไมแนนอนข้ึนอยูกับปจจัยทางธรรมชาติเปนหลัก และปลายังมีการวางไขหลายครั้งทําให ไดลกู ปลาหลายรุน การปลอยลูกพันธุเสรมิ หลังจากปลอยพอแมพันธุ 2-3 เดือน ถาเกษตรกรเห็นวาลูกปลาที่เกิดข้ึนในบอมี ปริมาณนอย เกษตรกรจะหาซื้อลูกปลาขนาด 2-3 เซนติเมตรมาปลอยเสริม อัตราปลอยลูก ปลาเสริมไมแนนอนขึ้นอยูกับอัตรารอดของลูกปลาท่ีเกิดเองตามธรรมชาติ โดยปกติจะปลอย ปลาในชวงเชาและปรับอุณหภูมิของน้ําโดยแชถุงบรรจุลูกปลาในน้ํา 10-15 นาที จากน้ันนําน้ํา ในบอผสมลงในถุงชา ๆ แลวจึงปลอยปลา

การใสปุยและใหอาหาร (ระหวางอนบุ าล) ปกติจะเพาะฟกลูกปลาสลิดใหเกิดในฤดูแลง (ประมาณเดือน เมษายน - พฤษภาคม) เพื่อใหเจริญเติบโตไดดีในฤดูฝน เพราะตลอดชวงการเล้ียงปลาสลิดจะมีน้ํา เพียงพอสําหรับเลี้ยงปลา ทําใหปลาเจริญเติบโตดี และปลาสลิดจะสะสมไขมันในฤดูหนาว ทําใหปลาสลิดอวน มัน อรอย นารับประทาน โดยหลังจากเติมนํ้าลงนาปลาผานมุงเขียวตา ถี่เพ่ือปองกันไมใหสัตวนํ้าและพืชน้ําอื่นๆ ที่เราไมตองการปะปนมา จากนั้น 1- 2 เดือน จึงทยอยฟนหญาท่ีอยูตรงกลางแปลงนาเดือนละ 1- 4 คร้ัง เพื่อใหเกิดอาหารธรรมชาติ โดยสังเกตจากสีของนํ้า ถาน้ํามีสีชา ความโปรงแสง 15-20 เซนติเมตร แสดงวามีอาหาร ธรรมชาติเพียงพอ ถาน้ําเริ่มใสแสดงวาอาหารธรรมชาตินอยใหฟนหญาซํ้าอีกคร้ัง พอแม พันธุปลาสลิดจะออกมากอหวอด และวางไขในพงหญา ลูกปลาท่ีเกิดมาก็จะมีอาหารกิน พอดี เมื่อลูกปลาอายุได 8 วัน เกษตรกรบางรายอาจใหรําละเอียดผสมกับปลาปน ใน อัตราสวน รํา 2-3 สวน ตอปลาปน 1 สวน ใหลูกปลากินเปนอาหารจนลูกปลามีอายุได 25-30 วัน เพ่ือใหลูกปลาเจรญิ เติบโตเร็วขึน้

การใสปยุ และใหอาหาร (ระหวา งการเลีย้ ง) ในระหวางเลี้ยงอาจมีการเติมนํ้าเขาบอเม่ือเห็นวานํ้าเร่ิมนอย และมีการฟน หญาสม่ําเสมอ เกษตรกรบางรายอาจใหอาหารสมทบ เชน รําผสมปลายขาวตม และอาหารหมู ต้ังแตอายุ 5-6 เดือนขึ้นไป บางรายใหรํา ปลายขาว เศษแปง จากไกทอด และเศษอาหารจากรานคา ตั้งแตอายุ 1 เดือนขึ้นไป บางรายใหหัว ปลาสลิดโมผสมรํา ตั้งแตอายุ 2 เดือนข้ึนไป โดยปกติจะใชเวลาเล้ียงประมาณ 10-12 เดือนจึงจับขาย เกษตรกรผูเล้ียงปลาสลิดที่อําเภอบางบอสวนใหญนิยม เพาะเลี้ยงแบบปลอยใหเกิดลูกเองตามธรรมชาตแิ ละเนนการฟนหญาใหเกิดอาหาร ธรรมชาติ ซึ่งวิธีน้ีมีขอดีคือประหยัดตนทุนคาอาหารและลดความเส่ียงจากการ ขาดทุนแตไดผลผลติ คอ นขางนอ ย โดยไดผลผลติ ประมาณ 100-400 กก./ไร

แนวโนม ราคาปลาสลดิ จงั หวัดสมทุ รปราการ ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ขนาด(ตัว/กก.) (บาท/กก.) (บาท/กก.) (บาท/กก.) (บาท/กก.) 90 95 95 70 75-80 75-80 ต่ํากวา 5 ตัว/กก. 70 45 6-8 ตัว/กก. 60-65 35 50 50 9-11 ตวั /กก. 18-22 40 40 12-15 ตัว/กก. 40 28-30 28-30 16-20 ตวั /กก. 28- 30 15-20

โรคและการปองกนั รักษา ปจจุบันยังไมมีรายงานวาปลาสลิดมีโรครายระบาดในระหวางการ เลี้ยง ท้ังน้ีเน่ืองจากปลาสลิดมีอวัยวะชวยหายใจจึงทนตอสภาพแวดลอมท่ีมี ออกซิเจนต่ําๆไดดี แตถาหากพบวามีเห็บปลาระบาดจะทําใหปลาผอมและ การเจริญเติบโตหยุดชะงัก ใหกําจัดโดยระบายน้ําสะอาดเขาบอมากๆ เห็บ ปลาจะหายไปเอง การปอ งกันไมใหเกิดโรคระบาดทําโดยหม่ันสังเกตปลาในบอถาพบวา เร่ิมมีบาดแผลหรือมีอาการผิดปกติใหตักปลาออกเพื่อไมใหติดตอไปยังปลา ตวั อื่น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook