Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการความเครียดทางการกีฬา-For-Web

การจัดการความเครียดทางการกีฬา-For-Web

Published by Bangbo District Public Library, 2019-05-07 02:17:51

Description: การจัดการความเครียดทางการกีฬา-For-Web

Search

Read the Text Version

กรมพลศกึ ษา เอกสารงานวิจัยฉบับเผยแพร่ เรื่อง คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา Psychological characteristics of Thai youth athletes: The coping skills โดย ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

เอกสารงานวิจัยฉบับเผยแพร่ เร่ือง คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา Psychological characteristics of Thai youth athletes: The coping skills จัดท�ำโดย : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เลขที่ 154 ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2214-2578 โทรสาร 0-2214-2578 เว็บไซต์: www.dpe.go.th ISBN 978-616-297-478-6 พิมพ์คร้ังที่ 1 : กุมภาพันธ์ 2560 จ�ำนวนพิมพ์ 1,000 เล่ม ผลิตโดย : บริษัท กู๊ดอีฟนิ่ง ติงค์ จ�ำกัด พิมพ์ท่ี: บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จ�ำกัด ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สุพัชริน เขมรัตน์. เอกสารงานวิจัยฉบับเผยแพร่ เร่ือง คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย : ทักษะ การจัดการความเครียดทางการกีฬา.-- กรุงเทพฯ : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา, 2560. 120 หน้า. 1. กีฬา--วิจัย. 2. นักกีฬา. I. อมรทัตต์ อัคคะพู, ผู้แต่งร่วม. I. ช่ือเรื่อง. 796.07





คำ�นำ� เป้าหมายของการฝึกซ้อมกีฬาและการแข่งขันกีฬาแต่ละคร้ัง คือ การมุ่งสู่ ความส�ำเร็จสูงสุดทางการกีฬา แต่การจะไปให้ถึงเป้าหมายความส�ำเร็จสูงสุด ทางการกีฬาได้นั้นมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องท้ังจากปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก ดงั นน้ั การพฒั นานกั กฬี าใหอ้ ยรู่ ะดบั แนวหนา้ หรอื เปน็ นกั กฬี าชนั้ นำ� มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั การวางแผนฝึกซ้อมระยะยาวไม่น้อยกว่า 10 ปี การให้ความส�ำคัญกับนักกีฬาระดับ เยาวชนจะเป็นรากฐานส�ำคัญและต่อยอดไปสู่เป้าหมายสูงสุด เพราะตลอดช่วงเวลา ของการฝกึ ซอ้ มตงั้ แตเ่ ดก็ จนเขา้ สวู่ ยั ผใู้ หญต่ ้องผ่านอุปสรรคต่างๆ มากมาย จากการ ศึกษาท่ีผ่านมาพบว่าความเครียดเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีส่งผลต่อการแสดงความสามารถ ทั้งในช่วงการฝึกซ้อมและการแข่งขัน โดยนักกีฬาเยาวชนมีแนวโน้มเลิกเล่นกีฬา มากข้ึนโดยช่วงอายุระหว่าง 10 - 17 ปี มีแนวโน้มของอัตราการเลิกเล่นกีฬาสูงสุด การประเมนิ คณุ ลกั ษณะทางจติ ใจโดยเฉพาะทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า เป็นส่ิงส�ำคัญที่จะช่วยส่งเสริมความสามารถทางการกีฬาซ่ึงการประเมินความพร้อม ด้านร่างกายและจิตใจของนักกีฬาจะช่วยลดความล�ำเอียงในการก�ำหนดโปรแกรม การฝึกซ้อมให้กับนักกีฬา ขณะเดียวกันยังช่วยลดโอกาสเกิดภาวะหมดไฟก่อนเวลา อันสมควร กรมพลศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้ฝึกสอน นักกีฬา หรือผู้สนใจทั่วไปจะน�ำ ผลการวิจัยที่ได้ในครั้งน้ีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาขีดความสามารถของ นักกีฬาให้สูงขึ้นต่อไป กรมพลศึกษา



หัวข้อวิจัย คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา Psychological characteristics of Thai youth athletes: The coping skills หน่วยงาน กลุ่มวิจัยและพัฒนา ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ปีท่ีท�ำการวิจัย ปีงบประมาณ 2559



บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความแตกต่างของทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาจ�ำแนกตามเพศ ชนิดกีฬา และจ�ำนวนช่ัวโมงการฝึกซ้อมกีฬาและหา ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา เพศ ชนิดกีฬาและ จ�ำนวนชั่วโมงการฝึกซ้อมกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย ตัวอย่างคือ นักกีฬาเยาวชนไทยท่ี เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั กฬี านกั เรยี นนกั ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 37 จำ� นวน 32 ชนดิ กฬี า แบง่ เปน็ กีฬาบุคคล จ�ำนวน 222 คน และกีฬาทีมจ�ำนวน 133 คน รวมทั้งสิ้น 355 คน มีอายุ ระหวา่ ง 9 – 18 ปี เปน็ เพศชาย จำ� นวน 190 คน และเพศหญงิ จำ� นวน 165 คน มจี ำ� นวน การฝกึ ซอ้ มกฬี า 2 – 12 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ จำ� นวน 92 คน 13 – 24 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ จำ� นวน 147 คน และ 25 – 52 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ จ�ำนวน 116 คน ตามล�ำดับ เคร่ืองมือที่ใช้คือ แบบสอบถามทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า (สมทิ ซ์ และคณะ ในปี ค.ศ.1995) และพฒั นาเปน็ ภาษาไทยโดยสพุ ชั รนิ และอภลิ กั ษณ์ ในปี ค.ศ. 2016 วเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยสถติ ิ เชิงพรรณนา การวิเคราะห์ความเท่ียงตรงเชิงสอดคล้องภายในของแบบสอบถามโดยใช้ วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาช การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง การเปรียบเทียบความแตกตา่ งเป็นรายค่ดู ว้ ยวธิ ี LSD และการวเิ คราะห์ถดถอยพหุ ก�ำหนด ความมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวจิ ยั พบวา่ แบบสอบถามมคี า่ ความเทยี่ งตรงเชงิ สอดคลอ้ งภายในอยใู่ นเกณฑด์ ี (r= 0.73) ชนดิ กฬี ากบั ชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ มกฬี าตอ่ สปั ดาหม์ อี ทิ ธพิ ลรว่ มกนั ตอ่ คะแนนทกั ษะ การจัดการความเครียดทางการกีฬาในด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ (p < .05) เพศชาย มีคะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาในด้านสมาธิ ด้านความเชื่อม่ันและ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ด้านการตั้งเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ ด้านการแสดง ความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั และคะแนนรวมทกุ ดา้ นสูงกวา่ เพศหญงิ (p < .05) กีฬาบุคคลและทีมมีคะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาท้ัง 7 ด้าน และ คะแนนรวมทุกด้านไม่ต่างกัน (p > .05) การฝึกซ้อมกีฬา 2 – 12 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีคะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาในด้านความเชื่อมั่นและแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธ์ิ ด้านการต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ และด้านการแสดง ความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั นอ้ ยกวา่ การฝกึ ซอ้ มกฬี า 13 – 24 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ และ 25 – 52 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (p < .05) ค�ำส�ำคัญ: ทักษะการจัดการความเครียด, นักกีฬาเยาวชน, เพศ, ชนิดกีฬา, ฝึกซ้อม



Abstract The purpose of this study was to examine (a) the effect of ages, type of sport and duration of practice on stress coping skill and (b) the correlation between ages, type of sport, duration of practice and stress coping skills in Thai youth player. The subjects were 355 athletes from 32 sport type (190 males and 165 females; 222 Individual sports and 133 team sports; duration of practice 2 – 12 hour/week (92), 13 – 24 hour/week (147), 25 – 52 hour/week (116), who participated in the 37th Student sport games in Thailand, 2016. These students were aged from 9 to 18 years. The athletics coping skills inventory (ACSI-28) was developed by Smith et al. in 1995 and translated in Thai version by Supatcharin and Apiluk in 2016. After data collection, quantitative data were analyzed by using descriptive statistics, Cronbach’s alpha coefficient, two way ANOVA along with multiple comparison testing using the LSD’s method and multiple regression analysis. All testing used the .05 level of significance. Research findings showed that ACSI-28 Thai version was good inconsistency (Cronbach’s alpha = 0.73). The Sport type and duration of practice were influential on coachability (p < .05). Male athlete scored significantly higher on concentration, confidence and achievement motivation, goal – setting and mental preparation, peaking under pressure and total scored than female (p < .05). No significant difference was found between individual and team sports on total score and 7 subscale of ACSI-28. A score of Duration of training, 13 – 24 and 25 – 52 hour/week significantly higher on confidence and achievement motivation, goal – setting and mental preparation, peaking under pressure than 2 – 12 hour/week. (p < .05). Keywords: Coping skills / Youth athletes / Sex / Type of sport / Practice

สารบัญ คำ�นำ� ������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������ 5 บทคัดย่อ........................................................................................................................ 9 Abstract......................................................................................................................... 11 สารบัญ.......................................................................................................................... 12 สารบัญตาราง............................................................................................................... 13 บทที่ 1 ความสำ�คัญของปัญหา1���������������������������������������������������������������������������������� 14 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง....................................................................... 26 บทที่ 3 วิธีดำ�เนินการวิจัย5�������������������������������������������������������������������������������������������� 50 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................... 62 บทที่ 5 การอภิปรายผลการวิจัย................................................................................. 94 เอกสารอ้างอิง............................................................................................................... 102 ภาคผนวก...................................................................................................................... 108 ภาคผนวก ก แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ฉบับภาษาไทย............................................................................................................ 109 ภาคผนวก ข แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัย เร่ืองคุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา.............................................................. 114 คณะผู้วิจัย..................................................................................................................... 120

สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย....................................................... 67 ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานในแต่ละข้อคำ�ถามของแบบสอบถาม ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย........ 74 ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนนทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาจำ�แนกตามเพศ และชนิดกีฬา7���������������������������������������������� 79 ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนนทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาจำ�แนกตามเพศ และชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห8์������������� 82 ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนนทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาจำ�แนกตามชนิดกีฬาและชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห8์������ 85 ตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย จำ�แนกตามเพศ8���������������������������� 88 ตารางที่ 7 คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย จำ�แนกตามชนิดกีฬา8������������������� 89 ตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย จำ�แนกตามชั่วโมงการฝึกซ้อม ต่อสัปดาห์................................................................................................. 89 ตารางที่ 9 ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณของตัวแปรเพศ ชนิดกีฬา และชั่วโมง การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ที่มีต่อความสัมพันธ์ และพยากรณ์ทักษะ การจัดการความเครียดทางการกีฬา....................................................... 91

ความสำ�คัญของปัญหา

องค์ประกอบที่เก่ียวข้องกับความส�ำเร็จทางการกีฬา ประกอบด้วย สมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางจิตใจ และทักษะกีฬา (Caruso et al., 1990) ซง่ึ เปา้ หมายของการฝกึ ซอ้ มกฬี าและการแขง่ ขนั กฬี า แต่ละคร้ัง คือ การมุ่งสู่ความส�ำเร็จสูงสุดทางการกีฬา แต่การจะไปให้ถึง เป้าหมายความส�ำเร็จสูงสุดทางการกีฬาได้นั้นมีปัจจัยท่ีเก่ียวข้องท้ังจาก ปัจจัยภายใน เช่น เพศ อายุ ความสามารถด้านร่างกายและจิตใจ และปจั จยั ภายนอก เชน่ ผฝู้ กึ สอน ผปู้ กครอง สภาพแวดลอ้ ม ภาวะเศรษฐกจิ โอกาสทางสงั คม (Gould & Dieffenbach, 2002) การพฒั นานกั กฬี าใหอ้ ยู่ ระดับแนวหน้าหรือเป็นนักกีฬาชั้นน�ำในระดับสากลมีความเกี่ยวข้องกับ การวางแผนฝึกซ้อมระยะยาวไม่น้อยกว่า 10 ปี การให้ความส�ำคัญกับ นักกีฬาในระดับเยาวชนจะเป็นรากฐานส�ำคัญและต่อยอดไปสู่เป้าหมาย สูงสุดได้ เพราะตลอดช่วงเวลาของการฝึกซ้อมตั้งแต่เด็กจนเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ทม่ี คี วามพรอ้ มทกุ ดา้ นเพอื่ เขา้ แขง่ ขนั ระดบั นานาชาตจิ ะตอ้ งผา่ นอปุ สรรคตา่ งๆ มากมาย ดงั เชน่ การศกึ ษาของ Belem et al. (2014) พบวา่ ศกั ยภาพของ นักกีฬาช้ันเลิศมีปัจจัยท่ีเข้ามาเกี่ยวข้องกับความส�ำเร็จทางการกีฬา เช่น การบาดเจบ็ ความกดดนั จากสภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ และระดบั ความหนกั ของ การฝึกซ้อม โดยพบว่าความเครียดเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อการแสดง ความสามารถทั้งในช่วงการฝึกซ้อมและการแข่งขัน คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 15

จากข้อมูลการวิจัยท่ีผ่านมาพบว่านักกีฬาเยาวชนมีแนวโน้ม การเลิกเล่นกีฬามากข้ึน โดยช่วงอายุระหว่าง 10 - 17 ปี มแี นวโนม้ ของอตั ราการเลกิ เลน่ กฬี าสงู สดุ (Bocarro et al. 2008; ฉัตรกมล, 2554) จากการรวบรวมข้อมูลของ Weinberg & Gould (2007) พบว่านักกรีฑาอาชีพ ทั้งเพศหญิงและเพศชายต้องประสบกับการฝึกซ้อม มากเกินอย่างน้อยหนึ่งครั้งตลอดช่วงอายุท่ีฝึกซ้อม และแข่งขัน ขณะท่ีนักกีฬาว่ายน�้ำระดับมหาวิทยาลัย ช้ันปีที่ 1 ร้อยละ 91 จะมีอาการเบ่ือหน่ายเม่ือข้ึน ชนั้ ปที ่ี 2 และมเี พยี งรอ้ ยละ 30 เทา่ นนั้ ทไ่ี มป่ ระสบกบั ความเบ่ือหน่าย นอกจากนี้การฝึกซ้อมมากเกิน ยังพบในช่วงกึ่งกลางของการฝึกซ้อมรายปี ในนักกีฬาว่ายน�้ำทีมชาติออสเตรเลียมากถึง ร้อยละ 21 และพบในนักกีฬาบาสเกตบอล ทีมชาติอินเดียมากถึงร้อยละ 33 ในระหว่าง การฝกึ ซอ้ ม 6 สปั ดาห์ และพบอกี กวา่ รอ้ ยละ 50 ของนักกีฬาฟุตบอลกึ่งอาชีพ หลังจากเร่ิม ฤดูกาลแข่งขันเป็นเวลา 5 เดือน และพบ ปัญหาฝึกซ้อมมากเกินในนักกีฬาโรงเรียน กีฬาประเทศสวีเดน จ�ำนวนร้อยละ 37 แบ่งเป็นนักกีฬาประเภทบุคคล จ�ำนวน รอ้ ยละ 48 และประเภททมี จำ� นวนรอ้ ยละ 30 (Kentta et al., 2001) ซ่ึงปจั จยั หลกั ที่ท�ำให้นักกีฬาเกิดการหมดไฟ คือ การเกิดความเครียดมากเกินไปและ การไม่ประสบความส�ำเร็จในการ แข่งขัน ดังนั้นผู้ฝึกสอนต้องเปิดใจรับ ข้อมูลใหม่ๆ เพื่อพัฒนาความสามารถของ นักกีฬาสู่ความเป็นเลิศ (Gabor, 2009) 16

ส�ำหรับประเทศไทยมีการส่งเสริม ทางจิตใจมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อ ความสามารถของนกั กฬี าในระดบั เยาวชน สมรรถภาพทางกายของนักกีฬาและ ใ น ห ล า ย รู ป แ บ บ โ ด ย ผ ่ า น ห น ่ ว ย ง า น ค ว า ม เ ป ็ น เ ลิ ศ ท า ง ก า ร กี ฬ า อ ย ่ า ง มี ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ส�ำนักงานคณะกรรมการ นัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และมี การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สำ� นกั งานคณะกรรมการ อิทธิพลทางอ้อมต่อความเป็นเลิศทางการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน นอกจากนี้ยังมี กีฬาโดยส่งผ่านสมรรถภาพทางกาย การจัดการแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษา สำ� หรบั สมรรถภาพทางจติ ใจ ไดแ้ ก่ การฝกึ แหง่ ชาตโิ ดยกรมพลศกึ ษา และการแขง่ ขนั นักกีฬาให้มีความพร้อมด้านจิตใจก่อน กีฬาเยาวชนแห่งชาติโดยการกีฬาแห่ง ประเทศไทยเปน็ ประจำ� ทกุ ปี ซงึ่ เปน็ เสมอื น การแขง่ ขนั คอื การมแี รงจงู ใจทางการ กิจกรรมท่ีทดสอบสมรรถนะทางกีฬา กีฬา ความเข้มแข็งทางจิตใจ และ ของนักกีฬาส�ำหรับวางแผนการฝึกซ้อม ลกั ษณะการมงุ่ สคู่ วามสำ� เรจ็ ในการ เพอ่ื รายการแขง่ ขนั ในระดบั สงู ขนึ้ ทง้ั หมดน้ี แขง่ ขนั กฬี า สอดคลอ้ งกบั Weiner (1985) ล้วนเก่ียวข้องกับบุคคลต่างๆ ท่ีอยู่ใน สถานศึกษาท่ีนักกีฬาสังกัด ซึ่ง สุเทพ ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าความสามารทางการ และคณะ (2554) ไดท้ ำ� การศกึ ษาประเดน็ กีฬาอย่างเดียวไม่สามารถเป็นเหตุให้ ดังกล่าวในกลุ่มผู้บริหาร ผู้ฝึกสอน และ นักกีฬาประสบความส�ำเร็จได้ ดังน้ัน นักกีฬาของโรงเรียนกีฬา โดยพบว่า จึงต้องให้ความส�ำคัญกับโปรแกรมการ องค์ประกอบส�ำคัญท่ีน�ำไปสู่ ฝกึ ซอ้ มกฬี าทปี่ ระกอบดว้ ยการเสรมิ สรา้ ง ความเป็นเลิศทางกีฬา ได้แก่ สมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางจติ ใจ การบริหารของผู้บริหาร ภาวะ ผู้น�ำของผู้บริหาร สมรรถนะ และทกั ษะกฬี า (ศลิ ปชยั , 2533; ของผู้ฝึกสอนกีฬา สมรรถภาพ Weinberg & Gould, 2007) ทางจิตใจ และสมรรถภาพของ นักกีฬา โดยพบว่าสมรรถภาพ คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 17

การศึกษาคุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬา (psychological characteristic of athletes) คือ การศึกษาปัจจัยทางจิตวิทยาท่ีเกิดจากความคิด อารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมที่เกิดข้ึนในบริบททางการกีฬาที่มี ความสัมพันธ์เฉพาะกับการแสดงความสามารถของนักกีฬา ซ่ึง Caruso et al. (1990) กล่าวว่าสมรรถภาพทางกาย และทักษะกีฬาสามารถฝึกและพัฒนาได้สูงสุดและมีการ แปรเปลยี่ นไปตามสถานการณต์ า่ งๆ ไดน้ อ้ ยมาก ตรงกนั ขา้ มกบั สมรรถภาพจติ ใจทสี่ ามารถแปรเปลยี่ นไปตามสถานการณอ์ นื่ ๆ ได้มากกว่า โดยคุณลักษณะทางจิตใจที่ส�ำคัญอย่างหน่ึง คือ การจัดการความเครียดทางกีฬา เนื่องจากช่วยส่งเสริม ความสามารถทางกีฬาและน�ำไปสู่ความส�ำเร็จได้ ดังเช่นการศึกษาของ Garifallia (2011) พบว่านักกีฬา ยิมนาสติกที่มีความสามารถสูงจะมีความสามารถด้านทักษะ การจดั การความเครยี ดทางการกฬี าสงู กวา่ นกั กฬี ายมิ นาสตกิ ทมี่ คี วามสามารถตำ�่ กวา่ เชน่ เดยี วกบั Khodayari et al. (2011) ที่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ระหวา่ งการจดั การความเครยี ดทางการกฬี ากบั ความวติ กกงั วล ทางรา่ งกาย ความวติ กกงั วลทางจติ ใจ และความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง ของนักวิ่งระยะสั้นและระยะไกล นอกจากน้ัน Gould & Dieffenbach (2002) ยงั พบวา่ นกั กฬี าประเทศสหรฐั อเมรกิ า ทเ่ี ปน็ แชมปใ์ นการแขง่ ขนั กฬี าโอลมิ ปกิ มคี ณุ ลกั ษณะทางจติ ใจ ทสี่ �ำคญั และนำ� ไปสคู่ วามส�ำเร็จ ประกอบดว้ ย ความสามารถ ในการจัดการความเครียดและควบคุมความวิตกกังวล ความเช่ือมั่นในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ ความฉลาด ทางการกีฬา ความสามารถในการมงุ่ จดุ สนใจและขจดั สง่ิ เรา้ ที่เข้ามารบกวน ความสามารถในการแข่งขัน มีจริยธรรม ความสามารถในการตั้งเป้าหมาย มีการวางแผนเพ่ือไปถึง ความคาดหวงั สงู การยอมรบั คำ� แนะนำ� การมองโลกในแงด่ ี และการปรับตัวต่อความสมบูรณ์แบบ 18

จากท่ีกล่าวมาจะเห็นได้ว่าการประเมินคุณลักษณะทางจิตใจ โดยเฉพาะทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาของ นักกีฬาเป็นสิ่งส�ำคัญท่ีจะช่วยส่งเสริมความสามารถทางการกีฬา ซ่ึงการทดสอบหรือการประเมินความพร้อมของร่างกายและจิตใจ ของนกั กฬี าจะชว่ ยลดความลำ� เอยี งในการกำ� หนดโปรแกรมการฝกึ ซอ้ ม ให้กับนักกีฬา ขณะเดียวกันยังช่วยลดโอกาสเกิดภาวะหมดไฟก่อน เวลาอันสมควร (William & Reilly, 2000) Challis (2013) ให้ความส�ำคัญกับการวิเคราะห์การพัฒนาความสามารถของนักกีฬา ยูโดในด้านความพร้อมของร่างกายและจิตใจเพ่ือจะเป็นตัวบ่งช้ีถึง ระดับความสามารถและสามารถน�ำไปเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน เพอื่ กำ� หนดโปรแกรมการฝกึ ซอ้ มทเี่ หมาะสมใหก้ บั นกั กฬี า นอกจากนนั้ Kimbrough et al. (2008) เสนอแนะว่าผู้จัดการทีมกีฬาสามารถ น�ำผลการประเมินทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาไปใช้ เพ่ือเป็นกลยุทธ์ในการตัดสินใจคัดเลือกนักกีฬา ส่วนผู้ฝึกสอน ควรนำ� ผลการประเมนิ ทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี าไปใช้ เพื่อประเมินสภาพจิตใจนักกีฬาและรักษาสภาพจิตใจให้มีระดับ เหมาะสมกับนักกีฬาแต่ละบุคคล คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 19

ส�ำหรับการพัฒนาทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาของบุคคลเกิดได้จาก กระบวนการเรียนรู้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ซ่ึง Cox (2012) กล่าวว่าองค์ประกอบ คณุ ลกั ษณะทางจติ ใจทนี่ กั กฬี าพงึ มี ประกอบดว้ ย การมเี จตคตทิ างบวก การมแี รงจงู ใจภายใน การมีความเช่ือม่ันในตนเอง การควบคุมความสนใจ การควบคุมการถูกกระตุ้นจากส่ิงเร้า การควบคุมความวิตกกังวล และการตระหนักรู้ตนเอง ซึ่งคุณลักษณะทางจิตใจดังกล่าว มีความสอดคล้องกับแนวคิดการประเมินทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ของ Smith et al. (1995) ท่ีครอบคลุมถึงการจัดการกับปัญหา การยอมรับค�ำแนะน�ำ การมสี มาธิ ความเชอ่ื มนั่ และแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์ การตงั้ เปา้ หมายและการเตรยี มความพรอ้ ม ด้านจิตใจ การแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน และอิสระจากความกังวล การมีเจตคติทางบวก Smith et al. (1995) การมีแรงจูงใจภายใน การจัดการกับปัญหา การมีความเช่ือม่ันในตนเอง การยอมรับค�ำแนะน�ำ การควบคุมความสนใจ การมีสมาธิ การควบคุมการถูกกระตุ้นจากส่ิงเร้า การต้ังเป้าหมาย การควบคุมความวิตกกังวล และการเตรียมพร้อม ด้านจิตใจ การตระหนักรู้ตนเอง อิสระจากความกังวล การแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน Cox (2012) ความเช่ือม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ 20

ในช่วง 10 ปีท่ีผ่านมาประเทศท่ีมี โดยข้อมูลที่ท�ำการศึกษาเป็นกลุ่มตัวอย่าง การพัฒนาด้านการกีฬาและวิทยาศาสตร์ วัยรุ่นตอนปลายและวัยผู้ใหญ่ (อายุ 18 ปี การกฬี ามกี ารศกึ ษาวจิ ยั เกย่ี วกบั คณุ ลกั ษณะ ขนึ้ ไป) (Omar – Fauzee, 2008; Anshel, ทางจติ ใจของนกั กฬี าในประเดน็ ตา่ งๆ มากขนึ้ 2009; Dias et al, 2010; Johns, อยา่ งเปน็ ลำ� ดบั ซง่ึ มขี อ้ คน้ พบหลายประการ 2011; Khodayari et al, 2011; Fauzee, ทมี่ คี วามนา่ สนใจ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามจากขอ้ มลู 2014) มคี วามสามารถทางการกฬี าระดบั สงู ผลการวจิ ยั ทปี่ รากฏมคี วามแตกตา่ งกนั ไมว่ า่ เช่น นักกีฬาระดับทีมชาติ นักกีฬาระดับ จะเปน็ ขอ้ มลู ดา้ นเพศ อายุ ระดบั ความสามารถ โอลมิ ปกิ และขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งทน่ี ำ� มา ชนิดกีฬา ชั่วโมงการฝึกซ้อมกีฬา รวมถึง ศึกษาค่อนข้างน้อย (Gabor, 2009; ขอ้ มลู เชงิ ปรากฏการณว์ ทิ ยา (Phenomenology Katsikas et al., 2009; Yadav et al., approach) ของแตล่ ะกลมุ่ ตวั อยา่ งและพน้ื ท่ี 2012) นอกจากน้ันยังมีความแตกต่าง ของการศกึ ษา ทสี่ ำ� คญั คอื ผลการวจิ ยั บางสว่ น ด้านชนิดกีฬา เช่น Du Plessis (2014) ยงั มคี วามขดั แยง้ กนั เชน่ พบวา่ เพศชายและ พบวา่ นกั กฬี าประเภททมี และบุคคลมที กั ษะ เพศหญิงมีทักษะการจัดการความเครียด ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม เ ค รี ย ด ท า ง ก า ร กี ฬ า ทางการกีฬาไม่แตกต่างกัน (Du Plessis, ไมแ่ ตกตา่ งกนั ในขณะท่ี Dias et al. (2010) 2014) ในทางตรงข้ามงานวิจัยอีกส่วนหน่ึง และ Kajbafnezhad et al. (2011) พบว่า พบวา่ เพศชายและเพศหญงิ มที กั ษะการจดั การ นักกีฬาประเภททีมและบุคคลมีทักษะการ ความเครยี ดทางการกฬี าแตกตา่ งกนั (Omar จดั การความเครยี ดทางการกีฬาแตกต่างกนั - Fauzeeet al., 2008; Katsikas et al., รวมถงึ จำ� นวนชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ ม ซง่ึ Polatidou 2009; Dias et al., 2010; Garifallia, et al. (2013) พบว่านักกีฬาว่ายน้�ำ 2011; Polatidou et al., 2013; สพุ ชั รนิ ทร์ ค น พิ ก า ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ก รี ก ที่ มี ชั่ ว โ ม ง และอภิลักษณ,์ 2557) สำ� หรับขอบเขตของ การฝึกซ้อม 8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีทักษะ กลมุ่ ตวั อยา่ งทนี่ ำ� มาศกึ ษานน้ั พบวา่ สว่ นใหญ่ ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม เ ค รี ย ด ท า ง ก า ร กี ฬ า ศึกษากับนักกีฬาแถบประเทศตะวันตก ด้านการตั้งเป้าหมายและเตรียมความพรอ้ ม เช่น สหรัฐอเมริกาและยุโรป ซึ่งยังไม่มี ดา้ นจติ ใจสงู กวา่ นกั กฬี าทม่ี ชี ว่ั โมงการฝกึ ซอ้ ม ข้อมูลในการศึกษากับนักกีฬาประเทศไทย 6 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 21

ดงั นน้ั จากขอ้ คน้ พบตา่ งๆ ขา้ งตน้ หากตอ้ ง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมและพัฒนา น�ำข้อมูลผลการวิจัยที่ผ่านมาใช้กับนักกีฬา การกีฬาและวิทยาศาสตร์การกีฬาเพ่ือ เยาวชนไทยคงยงั ไมม่ คี วามเหมาะสมมากนกั มุ่งสู่ความเป็นเลิศและเพ่ือการอาชีพท่ีมี ซ่ึงการประจักษ์ถึงคุณลักษณะทางจิตใจของ เปา้ ประสงคใ์ หป้ ระเทศไทยประสบความสำ� เรจ็ นักกีฬาเยาวชนไทยท่ีถูกต้องและเป็นไป และโดดเด่นทางการกีฬา เพ่ือความเป็นเลิศ ปรากฏการณ์วิทยาอย่างแท้จริงจะส่งผลต่อ ในระดับเอเชียและประสบความส�ำเร็จ การประสบความส�ำเร็จทางการกีฬาของ ในการพัฒนากีฬาอาชีพให้เป็นกิจกรรม นักกีฬาเยาวชนไทยมากข้ึน เนื่องจากจะมี ที่สร้างความสุขแก่สังคมสร้างมูลค่าทาง ผลสบื เนอื่ งไปยงั การจดั โปรแกรมการฝกึ ซอ้ ม เศรษฐกิจและสนับสนุนการพัฒนาประเทศ และการดูแลด้านจิตใจของนักกีฬาแต่ละ ด้วยแนวทางการพัฒนาและสนับสนุน บุคคลในระยะยาวอย่างเหมาะสมต่อไป วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาเพ่ือให้ เป็นกลไกส�ำคัญในความส�ำเร็จของกีฬาเพื่อ กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียว ความเปน็ เลศิ และกฬี าเพอื่ การอาชพี รวมถงึ และกีฬา เป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริม การส่งเสริมสนับสนุนในการเตรียมทีม และพฒั นาความสามารถดา้ นการกฬี าสำ� หรบั การเก็บตัวฝึกซ้อมการเข้าร่วมการแข่งขัน เด็กและเยาวชนได้เห็นความส�ำคัญของ เพ่ือมุ่งเน้นความเป็นเลิศในการแข่งขันกีฬา ประโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั จากการวจิ ยั ดงั กลา่ วและ ท้ังระดับเอเชียและนานาชาติต่อไป มีความสอดคล้องกับยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา พ.ศ.2555–2559 22

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 12 เพ่ือหาความแตกต่างของทักษะ เพ่ือหาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะ การจดั การความเครยี ดทางการกฬี า การจดั การความเครียดทางการกีฬา จ�ำแนกตามเพศ ชนิดกีฬา และ เพศ ชนิดกีฬาและจ�ำนวนช่ัวโมง จ�ำนวนช่ัวโมงการฝึกซ้อมกีฬาของ การฝกึ ซอ้ มกฬี าของนกั กฬี าเยาวชนไทย นักกีฬาเยาวชนไทย คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 23

นักกีฬาเยาวชนไทยที่เข้าร่วม การแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 37 ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 355 คน ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักกีฬาเยาวชนไทยท่ีเข้าร่วม เป็นนักกีฬาเยาวชนไทยที่เข้าร่วม การแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษา การแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษา แหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 37 ประจำ� ปี พ.ศ. 2559 แหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 37 ประจำ� ปี พ.ศ. 2559 จ�ำนวน 7,716 คน จ�ำนวน 355 คน จากสูตรค�ำนวณ ท่ีทราบประชากรแน่นอน (บุญชม, 2535) และท�ำการสุ่มตัวอย่าง แบบสมัครใจ (volunteer sampling) 24

นิยามศัพท์ คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬา (psychological characteristic of athletes) หมายถงึ ปจั จยั ทางจติ วทิ ยา ทเ่ี กดิ จากความคดิ อารมณ์ ความรสู้ กึ และพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ ขนึ้ ในบริบททางการกีฬาท่ีมีความสัมพันธ์เฉพาะกับการแสดง ความสามารถของนักกีฬา ทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า หมายถงึ ทกั ษะการจดั การดา้ นจติ ใจ ที่จะน�ำไปสู่การเป็นนักกีฬาท่ีประสบความส�ำเร็จ ประกอบด้วย การจัดการ กับปัญหา การยอมรับค�ำแนะน�ำ สมาธิ ความเช่ือม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ การต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ การแสดงความสามารถสูงสุด ภายใต้ความกดดัน และอิสระจากความกังวล นักกีฬาเยาวชนไทย หมายถึง นักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬานักเรียน นักศึกษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 37 ประจ�ำปี พ.ศ.2559 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 25

เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง 26

การท่ีนักกีฬาจะประสบความส�ำเร็จสูงสุดต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการคอื สมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางจติ ใจ และทกั ษะการเลน่ กฬี า (ศลิ ปชยั , 2541) โดย Caruso et al. (1990) พบวา่ สมรรถภาพทางกายและ ทักษะการเล่นกีฬาสามารถฝึกและพัฒนาไปได้สูงสุด และมีการแปรเปล่ียนไป ตามสถานการณ์ต่างๆ ได้น้อยมากตรงกันข้ามกับสมรรถภาพทางจิตใจที่ สามารถแปรเปลยี่ นไปตามสถานการณไ์ ดม้ ากกวา่ อาจสงั เกตไดอ้ ยา่ งงา่ ยๆ วา่ นกั กฬี าสว่ นใหญม่ กี ารฝกึ ซอ้ มดา้ นรา่ งกายและทกั ษะกฬี ามาอยา่ งดี แตเ่ มอ่ื ถงึ วนั แขง่ ขนั กลบั ไมป่ ระสบความสำ� เรจ็ ดงั ทต่ี ง้ั ใจไว้ (Lundpvist, 2006) ซงึ่ ขอ้ มลู ที่ปรากฏทั้งจากบทความ งานวิจัย หรือข้อสังเกตของนักจิตวิทยาการกีฬา ท�ำให้ทราบว่าสิ่งท่ีเกิดขึ้นเป็นเพราะปัญหาท่ีมาจิตใจมากกว่าร่างกายจึงท�ำให้ ไม่สามารถควบคุมตนเองให้สงบน่ิง มีสมาธิจดจ่อกับส่ิงท่ีตนเองท�ำ ซึ่งใน สถานการณ์การแข่งขันนักกีฬาอาจต้องเผชิญกับความต่ืนเต้น ความท้าทาย ความกลัว ซึ่งถอื เปน็ เรอื่ งปกติทางสภาวะอารมณ์ทีส่ ามารถเกิดขึ้นได้ในทุกคน ทตี่ อ้ งประสบกบั เหตกุ ารณท์ แ่ี ปลกใหมห่ รอื ไมไ่ ดค้ าดคดิ มากอ่ น แตห่ ากนกั กฬี า มกี ารเตรยี มพรอ้ มดา้ นจติ ใจมาอยา่ งดแี ลว้ จะทำ� ใหผ้ า่ นพน้ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ไดด้ ว้ ย Daroglou (2011) กลา่ ววา่ ผฝู้ กึ สอนไมค่ วรใหค้ วามสำ� คญั กบั ระดบั ความสามารถ ของนักกีฬาเพียงอย่างเดียว แต่ต้องให้ความส�ำคัญกับทักษะการจัดการจิตใจ ให้กับนักกีฬาควบคู่ไปกับการสร้างความเช่ือม่ันในตนเองเฉพาะอย่างและ ความเช่ือมั่นในตนเองด้วย เช่นเดียวกับ Edwards and Huston (1984) ทเ่ี ชอ่ื วา่ การฝกึ ดา้ นจติ ใจมคี วามจำ� เปน็ อนั ดบั แรกของการทำ� ทมี กฬี า นอกจากนี้ ทีมนักกีฬาคนพิการท่ีจะเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกเกมส์ฤดูหนาว ในปี ค.ศ. 2014 ยังเตรียมการฝึกด้านจิตใจอย่างจริงจังตั้งแต่ปี ค.ศ. 2012 (Martin, 2012) คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 27

จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการเตรียมพร้อมด้านจิตใจ มีความส�ำคัญมากต่อความส�ำเร็จทางการกีฬา โดย องค์ความรู้ด้านจิตวิทยาการกีฬาในประเทศไทยได้รับ ความสนใจมานานกว่า 10 ปี แต่ทั้งน้ียังมีปัญหา และอุปสรรคในการด�ำเนินงานต่างๆ พอสมควร ฉัตรกมล (2547) กล่าวว่าปัญหาการใชจ้ ติ วทิ ยา การกฬี าของประเทศไทยมอี ยใู่ นระดบั คอ่ นขา้ งสงู มีความเก่ียวข้องกับงบประมาณที่มีจ�ำกัด การขาดแคลนผทู้ มี่ ปี ระสบการณ์ และพบวา่ ผู้ฝึกสอนกีฬาขาดความรู้ในการประยุกต์ ใช้วิธีการฝึกทักษะทางจิตใจเพ่ือน�ำไปสู่ การมที กั ษะการจดั การจติ ใจทด่ี ี รวมทงั้ นกั กฬี าบางคนไมเ่ หน็ ถงึ ความจำ� เปน็ ของการฝึกฝนด้านจิตใจและคิดว่า การฝกึ จติ ใจทำ� ใหเ้ สยี เวลาในการฝกึ ซอ้ ม ทกั ษะกฬี า ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการหลอ่ หลอม ที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ได้ถูกหล่อหลอมมา ตั้งแต่เริ่มเล่นกีฬา ท�ำให้นักกีฬาไม่ทราบว่า สิ่งเหล่านั้นมีประโยชน์อย่างไรต่อตนเอง นอกจากน้ันผู้ฝึกสอนบางส่วนทราบดีว่าการมี ทักษะการจัดการจิตใจท่ีดีจะมีประโยชน์ต่อการ พัฒนาความสามารถของนักกีฬา แต่ปัญหาคือ ไม่ทราบว่าจะประเมินนักกีฬาว่ามีทักษะการจัดการ จิตใจตนเองอย่างไร ซึ่งจากประเด็นดังกล่าวจะมีผลต่อ การเลอื กใชว้ ธิ กี ารฝกึ ดา้ นจติ ใจทเ่ี หมาะสมกบั สภาพปญั หา ของนักกีฬาแต่ละบุคคล 28

Dr.Gerd Konzag (1991) พบว่า ระดับชาติที่มีหน้าท่ีในการจัดการและ จิตวิทยาการกีฬามีความสำ� คญั มากในแถบ ด�ำเนินการเก่ียวกับการเตรียมความพร้อม ตะวันออกและตะวันตกของยุโรป แต่การ ของนักกีฬาชั้นเลิศเพ่ือการแข่งขันกีฬาท้ัง เข้าถึงการท�ำงานด้านจิตวิทยาการกีฬามี ในระดบั ซเี กมส์ เอเชยี นเกมส์ โอลมิ ปกิ เกมส์ ความแตกตา่ งกบั ประเทศแถบสหรฐั อเมรกิ า รวมถงึ รายการอนื่ ๆทไี่ ดร้ บั การขอความรว่ มมอื คือ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ านกั จติ วทิ ยาการ จากสมาคมกีฬาต่างๆ จึงเห็นได้ว่าโอกาส กฬี าจะทำ� งานรว่ มกบั นกั กฬี าโดยตรง แตส่ ำ� หรบั ท่ีนักกีฬาจะได้ฝึกฝนและเตรียมพร้อม แถบตะวนั ออกของยโุ รปมคี วามเชอื่ วา่ ผฝู้ กึ สอน ด้านจิตใจกับนักจิตวิทยาการกีฬาโดยตรง คอื ผทู้ ท่ี ำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ นกั จติ วทิ ยาการกฬี า หรอื จึงถูกจ�ำกัดเฉพาะในกลุ่มนักกีฬาทีมชาติ อกี นยั หนงึ่ คอื นักจติ วทิ ยาการกฬี าเน้นเพียง ที่เก็บตัวฝึกซ้อมเพ่ือเข้าร่วมการแข่งขัน ผู้ท�ำหน้าที่ช่วยให้ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยา ระดับนานาชาติ นอกจากน้ันนักจิตวิทยา การกีฬากับผู้ฝึกสอน และผู้ฝึกสอนน�ำไป การกีฬาส่วนใหญ่มีอาชีพหลักในการทำ� งาน ใช้กับนักกีฬา ส่วนแถบตะวันตกของยุโรป คือ อาจารย์ในสถาบันการศึกษา (ไพศาล, ผู้ฝึกสอนไม่ค่อยต้องการรูปแบบการฝึก 2553) หรือบทบาทของการเป็นผู้สอน หรือการท�ำงานร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ ให้ความรู้ (นฤพนธ์, 2556) ซึ่งไม่ได้ การกีฬาหรือนักวิจัยมากนัก (Robert and ประกอบอาชีพเป็นนักจิตวิทยาการกีฬา Kimiecik, 1989) จากขอ้ มลู ดงั กลา่ วจะเหน็ โดยตรงจงึ อาจมผี ลกระทบตอ่ ความตอ่ เนอ่ื ง ไดว้ า่ มคี วามคลา้ ยคลงึ กบั ลกั ษณะการทำ� งาน ในกระบวนการฝึกซ้อม แต่ท้ังนี้หน่วยงาน ของนักจิตวิทยาการกีฬาในประเทศไทย ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา เช่น กรมพลศึกษา เน่ืองด้วยผู้เช่ียวชาญหรือผู้ท่ีท�ำงานด้าน การกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาต่างๆ จิตวิทยาทางการกีฬาในประเทศไทยยังมี ได้พยายามจัดอบรมให้ความรู้ด้านจิตวิทยา จ�ำนวนจ�ำกัด ดังนั้นการน�ำความรู้ด้าน การกีฬากับผู้ฝึกสอนหรือนักกีฬาอยู่บ้าง จิตวิทยาการกีฬาไปใช้กับนักกีฬาจึงอยู่กับ พอสมควร แต่ในทางปฏิบัติพบว่าผู้ฝึกสอน ผู้ฝึกสอนเป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงนักจิตวิทยา หรือนักกีฬายังไม่สามารถน�ำความรู้ด้าน การกีฬาที่มีอยู่เหล่าน้ีจึงมักท�ำหน้าที่เป็น จิตวิทยาการกีฬาไปใช้ได้อย่างถูกต้องและ ผู้เช่ียวชาญด้านจิตวิทยาการกีฬาให้กับ ต่อเน่ือง การกฬี าแหง่ ประเทศไทย ซงึ่ เปน็ องคก์ รกฬี า คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 29

จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง พบว่านักกีฬาที่มีคุณลักษณะทางจิตใจที่ดี จะมคี วามสมั พนั ธก์ บั การประสบความสำ� เรจ็ ทางการกฬี า นอกจากนน้ั ยงั พบวา่ คณุ ลกั ษณะ ทางจติ ใจมคี วามสมั พนั ธท์ างบวกกบั ตวั แปร ทางจิตวิทยาการกีฬาอื่นๆ เช่น แรงจูงใจ การตง้ั เปา้ หมาย บคุ ลกิ ภาพ และคณุ ลกั ษณะ ทางจิตใจมีความสัมพันธ์ทางลบกบั ตวั แปร ทางจติ วทิ ยาการกฬี าอนื่ ๆ เชน่ ความวติ กกงั วล และความเครียด โดยพบว่าในช่วง 10 ปี ทผี่ า่ นมาประเทศทม่ี กี ารพฒั นาดา้ นการกฬี า และวิทยาศาสตร์การกีฬามีการศึกษาวิจัย เก่ียวกับคุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาใน ประเด็นต่างๆ มากข้ึนอย่างเป็นล�ำดับ ซึ่งมี กลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นตอนปลายและวัยผู้ใหญ่ ข้อค้นพบหลายประการที่มีความน่าสนใจ เป็นส่วนใหญ่ (อายุตั้งแต่ 18 ปีข้ึนไป) แต่อย่างไรก็ตามจากข้อมูลผลการวิจัย มีความสามารถทางการกีฬาระดับสูง เช่น ที่ปรากฏมีความแตกต่างกันออกไปตาม ซ่ึงนักกีฬาเหล่านั้นนักกีฬาระดับทีมชาติ ข้อมูลพื้นฐานที่มีความเฉพาะเจาะจงกับ นักกีฬาระดับโอลิมปิก และขนาดของ กลุ่มตัวอย่างท่ีน�ำมาศึกษา เช่น ลักษณะ กลุ่มตัวอย่างท่ีน�ำมาศึกษาค่อนข้างน้อย ประชากรศาสตร์ (เพศ อายุ ระดบั ความสามารถ ดงั นน้ั หากตอ้ งนำ� ขอ้ มลู ผลการวจิ ยั ทผ่ี า่ นมา ชนิดกีฬา) และผลการวิจัยบางส่วนยังมี มาใช้กับนักกีฬาเยาวชนไทยคงยังไม่มี ความขัดแย้งกัน เช่น งานวิจัยส่วนใหญ่ ความเหมาะสมมากนัก ซ่ึงการทราบถึง พบว่าเพศชายและเพศหญิงมีคุณลักษณะ คณุ ลกั ษณะทางจติ ใจของนกั กฬี าเยาวชนไทย ทางจิตใจไม่แตกต่างกัน แต่ในทางตรงข้าม ทถ่ี กู ตอ้ งจะสง่ ผลตอ่ การประสบความสำ� เรจ็ งานวจิ ยั บางสว่ นพบวา่ เพศชายและ เพศหญงิ ทางการกฬี าของนกั กฬี าเยาวชนไทย เนอ่ื งจาก มีคุณลักษณะทางจิตใจแตกต่างกัน ส�ำหรับ จะมีผลสืบเน่ืองไปยังการจัดโปรแกรมการ กลุ่มตัวอย่างท่ีน�ำมาศึกษาพบว่าส่วนใหญ่ ฝึกซ้อมและการดูแลด้านจิตใจของนักกีฬา ศึกษากับนักกีฬาแถบประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ละบุคคลในระยะยาวอย่างเหมาะสม และยุโรปซ่ึงยังไม่มีการน�ำมาศึกษากับ ต่อไป ในท่ีน้ีจึงขอยกตัวอย่างงานวิจัยท่ี นักกีฬาประเทศไทย โดยท�ำการศึกษาใน เกี่ยวข้องกับประเด็นท่ีน�ำมาศึกษาในครั้งนี้ พอสังเขป 30

Gabor (2009) ศึกษาตัวแปรทาง Gould & Dieffenbach (2002) ศึกษา จิตใจท่ีมีผลต่อความส�ำเร็จและการพัฒนา คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาประเทศ ความสามารถของนักกีฬาฮอกก้ีน�้ำแข็ง สหรัฐอเมริกาท่ีเป็นแชมป์ในการแข่งขัน รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี จ�ำนวน 40 คน กีฬาโอลิมปิก ตัวอย่าง คือ นักกีฬาประเทศ แบ่งออกเป็นระดับทีมชาติ จ�ำนวน 20 คน สหรัฐอเมริกาที่เป็นแชมป์ในการแข่งขัน และระดับไม่ใช่ทีมชาติ จ�ำนวน 20 คน กีฬาโอลิมปิก จ�ำนวน 10 คน ผู้ฝึกสอน อายุเฉล่ีย 16.45 ± 5.12 ปี โดยใช้ จ�ำนวน 10 คน และพ่อแม่หรือผู้ดูแล แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด นักกีฬา จ�ำนวน 10 คน ผลการศึกษาพบ ทางการกีฬา (Athletic coping skills ว่าคุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาประเทศ inventory-28) แบบสอบถามบรรยากาศ สหรฐั อเมรกิ าทเ่ี ปน็ แชมปใ์ นการแขง่ ขนั กฬี า การจูงใจทางการกีฬา (Motivational โอลมิ ปกิ ประกอบดว้ ย ความสามารถในการ climate in sport questionnaire-2) แบบ จัดการความเครียดและควบคุมความวิตก วดั แรงจงู ใจทางการกฬี า (Sport motivation กังวล ความเช่ือมั่น ความเข้มแข็งทางจิตใจ scale) และแบบสอบถามบุคลิกภาพท่ี ความฉลาดทางการกีฬา ความสามารถ เป็นแบบลักษณะนิสัยและแบบสถานการณ์ ในการมุ่งจุดสนใจและขจัดสิ่งเข้ารบกวน (State – trait personality inventory) ความสามารถในการแข่งขัน มีจริยธรรม ผลการศกึ ษาพบวา่ ตวั แปรทางจติ ใจดงั กลา่ ว ความสามารถในการต้ังเป้าหมาย มีการ ของของนักกีฬาฮอกกี้น้�ำแข็งระดับทีมชาติ ว า ง แ ผ น เ พื่ อ ไ ป ถึ ง ค ว า ม ค า ด ห วั ง สู ง และไม่ใช่ทีมชาติรุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี การยอมรับค�ำแนะน�ำ การมองโลกในแง่ดี มคี วามแตกตา่ งกนั เลก็ นอ้ ย แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม และการปรับตัวต่อความสมบูรณ์แบบ ได้ให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมว่าถึงแม้ผลจาก การศกึ ษาจะพบความแตกตา่ ง ของตัวแปรทางจิตใจ เพียงเล็กน้อยแต่ ผู้ฝึกสอนควรให้ ความส�ำคัญกับการ สังเกตด้วยสายตา ของผฝู้ กึ สอนรว่ มดว้ ย ซึ่งจะให้ผลดีท่ีสุด คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 31

Johns (2011) ศึกษาความเข้มแข็งทางจิตใจและทักษะการจัดการความเครียด ของนักว่ิงและนักไตรกีฬา อายุระหว่าง 18 – 57 ปี จ�ำนวน 111 คน แบ่งออกเป็น นักกีฬาระดับต่�ำกว่าช้ันเลิศ (Sub-elite) 57 คน และนักกีฬาระดับมือใหม่ (Novice) 54 คน โดยใช้แบบสอบถามความเข้มแข็งทางจิตใจส�ำหรับนักกีฬา (Sport mental toughness questionnaire) และแบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬา (Athletic coping skills inventory-28) ผลการศึกษาพบว่านักกีฬา ท่ีมีอายุมากกวา่ และมีจำ� นวนช่ัวโมงการฝกึ ซ้อมมากกว่ามีทกั ษะการจัดการความเครยี ด ท่ีดีกว่านักกีฬาท่ีมีอายุน้อยกว่าและมีชั่วโมงการฝึกซ้อมน้อยกว่า นักกีฬาระดับต่�ำกว่า ชั้นเลิศมีความเข้มแข็งทางจิตใจมากกว่านักกีฬาระดับมือใหม่ ทั้งนี้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมกี ารศกึ ษาปจั จยั ความแตกตา่ งของเพศและระดบั อายทุ มี่ ตี อ่ ความเขม้ แขง็ ทางจติ ใจ และทักษะการจัดการความเครียดของนักกีฬา เพื่อพัฒนาโปรแกรมการฝึกจิตใจท่ีมี ความเหมาะสมกับนักกีฬาแต่ละบุคคล Khodayari et al. (2011) ศึกษา ความสัมพันธ์และเปรียบเทียบทักษะ จิตใจกับความวิตกกังวลทางการกีฬาใน นกั วง่ิ ระยะสนั้ (100, 200, 400 เมตร) และระยะไกล (3,000, 5,000, 10,000 เมตร) อายรุ ะหวา่ ง 20 – 28 ปี จำ� นวน 144 คน นกั วงิ่ ระยะสนั้ จำ� นวน 72 คน และนักวิ่งระยะไกล จ�ำนวน 72 คน โดยใช้แบบสอบถามความวิตกกังวล ทางการกีฬาตามสถานการณ์ (Competitive state anxiety questionnaire) และแบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา (Athletic coping skills inventory-28) ผลการศึกษาพบว่าทักษะจิตใจกับความวิตกกังวลทางร่างกาย ความวติ กกังวลทางจิตใจ และความเชื่อมนั่ ในตนเองมคี วามสมั พันธก์ ันอย่างมีนัยสำ� คญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 และความวิตกกังวลทางร่างกายกับความวิตกกังวลทางจิตใจของ นักว่ิงระยะสั้นกับนักวิ่งระยะไกล ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 32

Sharma & Kumar (2011) ศกึ ษาคณุ ลกั ษณะทางจติ ใจของนกั กฬี าระดบั มหาวทิ ยาลยั เพศชายจ�ำแนกตามชนิดกีฬาจ�ำนวน 80 คน แบ่งออกเป็นนักกีฬาวอลเลย์บอล จ�ำนวน 15 คน นกั กฬี าบาสเกตบอล จำ� นวน 15 คน นกั กฬี าฟตุ บอล จำ� นวน 25 คน และนกั กฬี า คริกเก็ต จ�ำนวน 25 คน โดยใช้แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา (Athletic coping skills inventory - 28) ผลการศกึ ษาพบวา่ ชนดิ กฬี ามผี ลตอ่ คณุ ลกั ษณะ ทางจิตใจท่ีเก่ียวข้องกับทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา Katsikas et al.(2009)ความสามารถทาง 1 นักกรีฑาประเทศกรีกเพศชายกับ จิตใจของนักกรีฑาประเทศกรีกจ�ำแนกตาม เพศหญิงมีความสามารถในด้านการ เพศและระดบั ความสามารถ อายุ 15 ปขี น้ึ ไป ควบคมุ อารมณแ์ ละการความสามารถในการ (อายเุ ฉลยี่ 18.9 ± 3.7 ป)ี จำ� นวน 364 คน ผ่อนคลายแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ เพศชาย จ�ำนวน 241 คน และเพศหญิง ทางสถิติที่ระดับ .05 จำ� นวน 123 คน โดยใชแ้ บบสอบถามกลยทุ ธ์ ความสามารถสูงสุดทางการกีฬา (Top of 2 นกั กรฑี าประเทศกรกี ทม่ี คี วามสามารถ performance strategies) ประกอบด้วย ระดับชั้นเลิศกับไม่ใช่ความสามารถ 8 องค์ประกอบ คือ การพูดกับตนเอง ระดับชั้นเลิศ มีระดับความสามารถในด้าน การควบคุมอารมณ์ ความเป็นอัตโนมัติ การต้ังเป้าหมาย การกระตุ้นตนเอง และ การต้ังเป้าหมาย การจินตภาพ การกระตุ้น การผ่อนคลายแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ตนเอง การผอ่ นคลาย และการคดิ กบั ตนเอง ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .01 และมรี ะดบั ความสามารถ ทางลบ ผลการศึกษาพบว่า ในด้านการควบคุมอารมณ์ การจินตภาพ และการคดิ ทางลบแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถิติที่ระดับ .05 3 นักกรีฑาประเทศกรีกเพศชายกับ เพศหญิงท่ีมีความสามารถระดับ ชั้นเลิศมีระดับความสามารถในด้านการ ควบคมุ อารมณแ์ ละการผอ่ นคลายแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 ตามล�ำดับ คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 33

Yadav et al. (2012) ศึกษา 1 นักกีฬาบาสเกตบอลเพศชาย ความแตกต่างของทักษะการจัดการ ความสามารถระดับซีเนียร์ทีมชาติมี ความเครียดทางการกีฬาในนักกีฬา ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา บาสเกตบอลเพศชายจ�ำแนกตาม สูงกว่าความสามารถระดับจูเนียร์ทีมชาติ ระดับความสามารถ จ�ำนวน 120 คน และเยาวชนทีมชาติ แบ่งออกเป็น ความสามารถระดับ ซีเนียร์ทีมชาติ (senior national) 2 นักกีฬาบาสเกตบอลเพศชาย จ�ำนวน 40 คน ความสามารถระดับ ความสามารถระดับจูเนียร์ทีมชาติมี จูเนียร์ทีมชาติ (junior national) ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา จ�ำนวน 40 คน ความสามารถระดับ สูงกว่าความสามารถระดับเยาวชนทีมชาติ เยาวชนทีมชาติ (youth national) จ�ำนวน 40 คน โดยใช้แบบสอบถาม 3 นักกีฬาบาสเกตบอลเพศชาย ทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า ความสามารถระดับซีเนียร์ทีมชาติ (Athletic coping skills inventory - 28) กั บ จู เ นี ย ร ์ ที ม ช า ติ มี ทั ก ษ ะ ก า ร จั ด ก า ร ผลการศึกษาพบว่า ความเครียดทางการกีฬาดา้ นการจัดการกบั ปญั หากบั ดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใต้ความกดดัน แตกต่างกันอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4 นักกีฬาบาสเกตบอลเพศชาย ความสามารถระดับซีเนียร์ทีมชาติ กับเยาวชนทีมชาติมีทักษะการจัดการ ความเครยี ดทางการกฬี าด้านการจดั การกบั ปญั หากบั ดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใต้ความกดดัน แตกต่างกันอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5 นักกีฬาบาสเกตบอลเพศชาย ความสามารถระดับจูเนียร์ทีมชาติ และเยาวชนทีมชาติมีทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกฬี าด้านการจัดการกบั ปญั หากบั ดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใต้ความกดดัน ไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 34

6 นักกีฬาบาสเกตบอลเพศชาย Kajbafnezhad et al. (2011) ความสามารถระดับซีเนียร์ทีมชาติ ศึกษาความแตกต่างระหว่างนักกีฬา กับจูเนียร์ทีมชาติ มีทักษะการจัดการ ประเภทบุคคลและประเภททีมที่มีต่อ ความเครยี ดทางการกฬี าดา้ นการตงั้ เปา้ หมาย ทักษะจิตใจ ความฉลาดทางอารมณ์ และเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ สมาธิ และแรงจูงใจสู่ความส�ำเร็จในการเป็น อิสระจากความกังวล ความเชื่อมั่นและ นกั กฬี า กลมุ่ ตวั อยา่ งคอื นกั กฬี าเพศชาย แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ แตกต่างกันอย่างมี จ�ำนวน 400 คน แบ่งเป็นนักกีฬา นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ประเภทบุคคล จ�ำนวน 247 คน และ นักกีฬาประเภททีม จ�ำนวน 153 คน 7 นักกีฬาบาสเกตบอลเพศชาย โดยใช้แบบสอบถามความฉลาดทาง ความสามารถระดับซีเนียร์ทีมชาติ อารมณ์ (Emotional intelligence กับเยาวชนทีมชาติ มีทักษะการจัดการ questionnaire) แบบสอบถามการเตรยี ม ความเครยี ดทางการกฬี าดา้ นการตง้ั เปา้ หมาย พรอ้ มดา้ นจติ ใจสำ� หรบั นกั กฬี า (Ottawa และเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ สมาธิ – 3 test) และแบบสอบถามการรับรู้ อิสระจากความกังวล ความเชื่อมั่นและ การประสบความสำ� เรจ็ ทางการกฬี า (The แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ แตกต่างกันอย่างมีนัย Perception of success questionnaire) ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาพบว่านักกีฬาประเภททีม มคี ะแนนทกั ษะจติ ใจและคะแนนแรงจงู ใจ 8 นักกีฬาบาสเกตบอลเพศชาย สู่ความส�ำเร็จในการเป็นนักกีฬาสูงกว่า ความสามารถระดับจูเนียร์ทีมชาติ นักกีฬาประเภทบุคคลอย่างมีนัยส�ำคัญ กับเยาวชนทีมชาติ มีทักษะการจัดการ ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 แตน่ กั กฬี าประเภท ความเครยี ดทางการกฬี าดา้ นการตงั้ เปา้ หมาย บุคคลและประเภททีมมีความฉลาด และเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ สมาธิ ท า ง อ า ร ม ณ ์ ไ ม ่ แ ต ก ต ่ า ง กั น อ ย ่ า ง มี อิสระจากความกังวล ความเช่ือม่ันและ นัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ แตกต่างกันอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 35

Danchen (2012) ศึกษาความแตกต่างของความสามารถทางจิตใจใน นักกีฬาระดับวิทยาลัยจ�ำแนกตามเพศและชนิดกีฬา (ประเภททีมและบุคคล) อายุเฉลี่ย 21.04 ± 1.75 ปี จ�ำนวน 68 คน เพศชาย จ�ำนวน 36 คน และ เพศหญงิ จำ� นวน 32 คน โดยใชแ้ บบประเมนิ กลยทุ ธส์ ำ� หรบั การแสดงความสามารถ สงู สดุ ทางการกีฬา (Top of performance strategies) ผลการศึกษาพบว่า ช่วงการฝึกซ้อมและช่วงการแข่งขันนักกีฬาระดับวิทยาลัยเพศชายมีการใช้ กลยทุ ธท์ างจติ ใจ ดา้ นการพดู กบั ตนเอง การจนิ ตภาพ และการควบคมุ ความสนใจ ดีกว่านักกีฬาเพศหญิง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่จะพบว่า ดา้ นการควบคมุ อารมณน์ กั กฬี าเพศหญงิ มคี วามสามารถดกี วา่ เพศชายอยา่ งมี นยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 ทงั้ นพี้ บวา่ ดา้ นการตงั้ เปา้ หมาย นกั กฬี าเพศชาย จะดีกว่าเพศหญิงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในช่วงการฝึกซ้อม และการกระตุ้นตนเองได้ดีกว่านักกีฬาเพศหญิงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 ในช่วงการแข่งขัน เมื่อพิจารณาตามชนิดกีฬา พบว่า นักกีฬา ระดับวิทยาลัยชนิดกีฬาบุคคลมีความสามารถในด้านการควบคุมอารมณ์ ท้ังในช่วงการฝึกซ้อมและการแข่งขันดีกว่าชนิดกีฬาทีม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจาก น้ียังพบว่าชนิดกีฬาบุคคลมีการกระตุ้น ตนเองได้ดีกว่านักกีฬาชนิดทีมในช่วง การฝึกซ้อมอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติท่ีระดับ .05 36

Dias et al. (2010) ศึกษาความ 1 เพศ เพศชายและเพศหญิงมีทักษะ แตกต่างของอายุ เพศ และชนิดกีฬา การจดั การความเครยี ดทางการกฬี า ท่ีมีต่อทักษะการจัดการความเครียด ความวิตกกังวลในการแข่งขันกีฬา ทางการกฬี า ความวติ กกงั วลในการแขง่ ขนั และภาวะคกุ คามทางจติ ใจแตกตา่ งกนั กฬี า และภาวะคกุ คามทางจติ ใจในนกั กฬี า อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ ประเทศโปรตุเกส จ�ำนวน 550 คน .05 (เพศชายร้อยละ 68.9 เพศหญิงร้อยละ 31.1) อายรุ ะหวา่ ง 15 – 35 ปี อายเุ ฉลยี่ 2 ระดับอายุ (ระดับซีเนียร์และระดับ 19.8 ± 4.5 ปี แบง่ ออกเปน็ นกั กฬี าระดบั จเู นยี ร)์ มที กั ษะการจดั การความเครยี ด ซเี นยี ร์ และระดบั จเู นยี ร์ นกั กฬี าประเภท ทางการกีฬา แตกต่างกันอย่างมี บุคคล และนักกีฬาประเภททีม โดยใช้ นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แบบวัดความวิตกกังวลทางการกีฬา ของประเทศโปรตเุ กส (The Portuguese 3 ชนิดกีฬา (ประเภทบุคคลและ version of the sport anxiety scale) ประเภททีม) มีทักษะการจัดการ แบบวัดภาวะคุกคามทางจิตใจในการ ความเครยี ดทางการกฬี า ความวติ ก แข่งขันกีฬา (The cognitive appraisal กังวลในการแข่งขันกีฬา และภาวะ scale in sport competition) และ คุกคามทางจิตใจแตกต่างกันอย่างมี แบบสอบถามทกั ษะการจดั การความเครยี ด นัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ทางการกีฬา (Athletic coping skills inventory - 28) ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 37

Garifallia (2011) ศึกษาทกั ษะการจดั การ Anshel et al. (2009) ศึกษา ความเครยี ดและความเชอื่ มน่ั ในตนเองเฉพาะอยา่ ง ความแตกต่างของเชื้อชาติและเพศที่มี ในนกั กฬี ายมิ นาสตกิ อายเุ ฉลยี่ 11.8 ± 7.4 ปี ต่อการตอบสนองความเครียดแบบ จ�ำนวน 101 คน เพศชายจ�ำนวน 22 คน และ เฉียบพลัน และทักษะการจัดการ เพศหญิงจ�ำนวน 79 คน โดยใช้มาตรวัดความ ความเครียดทางการกีฬาในการแขง่ ขนั เชื่อม่ันในตนเองเฉพาะอย่าง (Self – efficacy ของนกั กฬี าจำ� นวน 332 คน แบง่ ออกเปน็ scale) และแบบสอบถามทักษะการจัดการ นกั กฬี าอเมรกิ นั แอฟรกิ นั จำ� นวน 59 คน ความเครียดทางการกีฬา (Athletic coping (เพศชาย จำ� นวน 27 คน และเพศหญงิ skills inventory - 28) ผลการศึกษาพบว่า จ�ำนวน 32 คน) นักกีฬาพื้นเมือง นักกีฬายิมนาสติกที่มีความสามารถดีที่สุด จ�ำนวน 125 คน (เพศชาย จ�ำนวน มคี วามเชือ่ มั่นว่าตนเองสามารถผอ่ นคลายและ 125 คน และเพศหญงิ จำ� นวน 127 คน) มคี วามกระตอื รอื รน้ และมคี วามแนว่ แนใ่ นสงิ่ ทท่ี ำ� นักกีฬาละตินอเมริกา จ�ำนวน 41 คน มีการตั้งเป้าหมายส�ำหรับการแข่งขัน ไม่กังวล (เพศชาย จำ� นวน 24 คน และเพศหญงิ เก่ียวกับการแสดงความสามารถทางการกีฬา จำ� นวน 17 คน) อายรุ ะหวา่ ง 18 – 33 ปี มากเกนิ ไป และมคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเองระดบั สงู อายุเฉลี่ย 21.6 ± 4.86 ปี โดยใช้ ท้ังนี้พบว่านักกีฬายิมนาสติกต้องเรียนรู้วิธีการ แบบวัดแหล่งของการเกิดความเครียด จัดการกับปัญหาและต้องมีความอิสระจาก แบบเฉยี บพลนั และแบบประเมนิ รปู แบบ ความกังวลเพื่อท่ีจะพัฒนาความความเช่ือม่ัน การจัดการความเครียดทางการกีฬา ในตนเองเฉพาะอยา่ งและความเชอื่ มน่ั ในตนเอง (Coping style in sport scale) ผลการศึกษาพบว่านักกีฬาพ้ืนเมือง มีระดับความเครียดสูงกว่านักกีฬา อเมริกันแอฟริกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักกีฬา ละตินอเมริกามีระดับความเครียด ไมแ่ ตกตา่ งกบั นกั กฬี าอเมรกิ นั แอฟรกิ นั และนักกีฬาพ้ืนเมืองอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติท่ีระดับ .05 และนักกีฬา เพศหญิงระดับความเครียดสูงกว่า นั ก กี ฬ า เ พ ศ ช า ย อ ย ่ า ง มี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิติที่ระดับ .05 38

Tuna (2003) ศกึ ษาความแตกตา่ งของ Fauzee (2014) ศึกษาความแตกต่าง ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ของทักษะการจัดการความเครียดทางการ ในนักกฬี ามหาวิทยาลัยของประเทศตรุ กแี ละ กีฬาในนักกีฬาของประเทศอินโดนีเซียและ สหรฐั อเมรกิ า จำ� นวน 1,143 คน แบง่ ออกเปน็ มาเลเซีย จ�ำนวน 469 คน แบ่งออกเป็น นกั กฬี ามหาวทิ ยาลยั ของประเทศตรุ กี จำ� นวน นักกีฬาของประเทศอินโดนีเซีย จ�ำนวน 695 คน และนักกีฬามหาวิทยาลัยของ 226 คน (เพศชาย จ�ำนวน 157 คน ประเทศสหรัฐอเมริกา จ�ำนวน 448 คน และเพศหญิง จ�ำนวน 69 คน) อายุเฉล่ีย โดยใชแ้ บบประเมนิ การปรบั ตวั สมู่ หาวทิ ยาลยั 21.05 ± 2.31 ปี นักกีฬาของประเทศ (Student Adaptation to College มาเลเซีย จ�ำนวน 243 คน (เพศชาย Questionnaire) เพ่ือประเมินการปรับใช้ จ�ำนวน 148 คน และเพศหญิง จ�ำนวน ชีวิตในมหาวิทยาลัย การปรับตัวทางสังคม 95 คน) อายุเฉล่ีย 21.41 ± 2.50 ปี การปรบั ตวั สว่ นบคุ คลและสภาพอารมณ์ และ โดยใช้แบบสอบถามทักษะการจัดการ ความมุ่งมั่นในเป้าหมาย และแบบสอบถาม ความเครียดทางการกฬี า (Athletic coping สรุปการจัดการความเครียด (The Brief skills inventory - 28) ผลการศกึ ษาพบวา่ COPE) เพ่ือประเมินการตอบสนองต่อ ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ความเครียด ผลการศึกษาพบว่าทักษะ ของนกั กฬี าประเทศอนิ โดนเี ซยี และมาเลเซยี การจัดการความเครียดทางการกีฬาของ แตกต่างกันในด้านการจัดการกับปัญหา นักกีฬามหาวิทยาลัยของประเทศตุรกีและ ด้านสมาธิ ด้านการตั้งเป้าหมายและเตรียม สหรัฐอเมริกาแตกต่างกัน ความพร้อมด้านจิตใจ ด้านการแสดง ความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั และ ด้านอิสระจากความกังวลอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 39

Shin et al. (2012) ศึกษาผลของโปรแกรมการฝึกจิตใจในนักกีฬายิงปืนคนพิการ ของประเทศเกาหลี จำ� นวน 10 คน เพศชาย จำ� นวน 6 คน และเพศหญงิ จำ� นวน 4 คน อายุระหว่าง 20 – 40 ปี ส�ำหรับโปรแกรมการฝึกจิตใจในนักกีฬายิงปืนคนพิการของ ประเทศเกาหลี เริ่มต้นด้วยการอธิบายโปรแกรมการฝึกจิตใจโดยเน้นให้เห็นความส�ำคัญ ของการฝึกจิตใจ จากน้ันเข้าสู่วิธีการฝึกจิตใจ คือ การตั้งเป้าหมาย การผ่อนคลาย การจินตภาพ การสร้างความเช่ือมั่นในตนเอง และสร้างวินัยในตนเอง และขั้นตอน สุดท้ายการประเมินผลโปรแกรมการฝึกจิตใจ โดยใช้แบบสอบถามความวิตกกังวล ในการแข่งขันกีฬาแบบลักษณะนิสัย (Sport competitive anxiety test) และแบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา (Athletic coping skills inventory - 28) ผลการศึกษาพบว่าโปรแกรมการฝึกจิตใจช่วยลดความวิตกกังวล ในการแข่งขันกีฬาแบบลักษณะนิสัยอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิตท่ีระดับ .05 และยังช่วย ในการกระบวนการฟน้ื ฟขู องนกั กฬี ายงิ ปนื คนพกิ าร นอกจากนนั้ ภายหลงั ไดร้ บั การฝกึ จติ ใจ นักกีฬายิงปืนคนพิการมีทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาในด้านการแสดง ความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดันและด้านความอิสระจากความกังวลเพิ่มขึ้น อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ทร่ี ะดบั .01 และดา้ นการจดั การกบั ปญั หาและดา้ นความเชอ่ื มนั่ ในตนเองและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิเพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิตท่ีระดับ .05 Kimbrough et al. (2008) ศกึ ษา การใช้ทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาในนักกีฬาเบสบอลระดับ วิทยาลัย จ�ำนวน 26 คน โดยใช้ แบบสอบถามทกั ษะการจดั การความเครยี ด ทางการกีฬา (Athletic coping skills inventory - 28) และบันทึกสถิติในการเล่น ประกอบด้วย ค่าเฉล่ียในการตีลูก จ�ำนวน ความผิดพลาด และค่าเฉลี่ยในการรับลูกของผู้ขว้างลูก ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉล่ีย ในการรับลูกของผู้ขว้างลูก การมีสมาธิ และความเชื่อม่ันในตนเองไม่มีความสัมพันธ์กัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ทั้งน้ีมีข้อสังเกตว่าขนาดกลุ่มตัวอย่างที่น�ำมา ศกึ ษาอาจมขี นาดนอ้ ยเกนิ ไปจงึ ไมป่ รากฏความสมั พนั ธข์ องตวั แปรตา่ งๆ ตามสมมตฐิ าน ที่ก�ำหนดไว้ 40

Kruger et al. (2012) ศึกษา Belem (2014) ศกึ ษาผลของทกั ษะ ความสำ� คญั ของคณุ ลกั ษณะทางจติ ใจของ การจัดการความเครียดทางการกีฬาใน นักวิ่งระยะไกลท่ีมีพรสวรรค์ระดับวัยรุ่น นกั กฬี าวอลเลยบ์ อลชายหาด จำ� นวน 48 คน จ�ำนวน 165 คน โดยแบง่ ออกเป็นนกั วง่ิ เพศชายจำ� นวน24คนและเพศหญงิ จำ� นวน ระยะไกลทม่ี พี รสวรรคร์ ะดบั วยั รนุ่ จ�ำนวน 24คนอายเุ ฉลย่ี 18±1.3ปีมปี ระสบการณ์ 58 คน และนักวิ่งระยะไกลที่มีพรสวรรค์ ในการเป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด น้อยกว่าระดับวัยรุ่น จ�ำนวน 107 คน เฉลี่ย 4.3 ± 3.0 ปี จ�ำนวนช่ัวโมง โดยใช้แบบสอบถามทักษะการจัดการ การฝึกซ้อมเฉลี่ย 3.4 ± 1.0 ช่ัวโมง ความเครียดทางการกีฬา (Athletic ต่อวัน และจ�ำนวนช่ัวโมงการฝึกซ้อม coping skills inventory - 28) ผลการ เฉลี่ย 17.1 ± 7.5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ศึกษาพบว่านักวิ่งระยะไกลระดับวัยรุ่น โดยใช้แบบสอบถามทักษะการจัดการ ทม่ี พี รสวรรคก์ บั นกั วง่ิ ระยะไกลระดบั วยั รนุ่ ความเครียดทางการกีฬา (Athletic ทมี่ พี รสวรรคน์ อ้ ยกวา่ มที กั ษะการจดั การ coping skills inventory - 28) และ ความเครียดทางการกีฬาแตกต่างกัน แบบวัด Connor-Davidson Resilience อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 Scale ผลการศึกษาพบว่านักกีฬาท่ีมี ทักษะการจัดการความเครียดทางการ กีฬาสามารถจัดกับปัญหาของตนเอง ในดา้ นการตงั้ เปา้ หมาย การสรา้ งแรงจงู ใจ และการมีสมาธิในระหว่างการแข่งขันได้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 41

Du Plessis (2014) ศึกษาทักษะ Polatidou et al. (2013) ศึกษา การจัดการความเครียดทางการกีฬาใน คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาว่ายน�้ำ นักกีฬาอายุ 14 ปี และ 15 ปี จ�ำนวน คนพิการของประเทศกรีก จ�ำนวน 82 คน 211 คน เพศชาย จ�ำนวน 89 คน และ เพศชาย จำ� นวน 58 คน และเพศหญงิ จำ� นวน เพศหญิง 122 คน อายุเฉล่ีย 14.45 ปี 24 คน โดยใช้แบบสอบถามทักษะการ โดยใช้แบบสอบถามทักษะการจัดการ จัดการความเครียดทางการกีฬา (Athletic ความเครียดทางการกีฬา (Athletic coping coping skills inventory - 28) ผลการ skills inventory - 28) ผลการศกึ ษาพบวา่ ศึกษาพบว่า นักกีฬาเพศชายและเพศหญิงมีทักษะการ จัดการความเครียดทางการกีฬาไม่แตกต่าง 1 นักกีฬาเพศหญิงมีทักษะการจัดการ กันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเพศชายทักษะการจัดการความเครียด ความเครียดทางการกีฬาด้านการยอมรับ ทางการกีฬาด้านการจัดการกับปัญหา ค�ำแนะน�ำ ด้านการแสดงความสามารถ ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ ด้านสมาธิ สูงสุดภายใต้ความกดดันสูงกว่านักกีฬา ด้านความเช่ือมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เพศชาย ดา้ นการตง้ั เปา้ หมายและเตรยี มความพรอ้ ม ด้านจิตใจ ด้านการแสดงความสามารถ 2 นกั กฬี าทมี่ ชี ว่ั โมงการฝกึ ซอ้ ม 8 ชวั่ โมง สูงสุดภายใต้ความกดดันสูงกว่าเพศหญิง ยกเว้นด้านอิสระจากความกังวลเพศหญิง ต่อสัปดาห์ มีทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาด้านการตั้งเป้าหมายและ เตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ สงู กวา่ นกั กฬี า ท่ีมีช่ัวโมงการฝึกซ้อม 6 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ สูงกว่าเพศชาย นอกจากน้ันยังพบว่า นักกีฬาประเภททีมและประเภทบุคคลมี ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ทร่ี ะดบั .05 แตพ่ บวา่ นกั กฬี าประเภทบคุ คล มที กั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า สูงกว่าประเภททีมในทุกด้าน 42

John & Ivarsson (2011) ศึกษา Oiness (2012) ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ ปจั จยั ทางจิตวิทยาทม่ี แี นวโนม้ ส่งผลตอ่ การ ข อ ง ป ั จ จั ย ท่ี ส ่ ง ผ ล ต ่ อ ก า ร บ า ด เ จ็ บ บาดเจ็บของนักกีฬาฟุตบอลระดับจูเนียร์ ทางการกีฬาในกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน จ�ำนวน 108 คน อายุเฉล่ีย 17.6 ปี โดยใช้ 244 คน แบ่งออกเป็นนักกีฬาระดับ แบบสอบถามความวิตกกังวลตามลักษณะ โรงเรียน ระดับวิทยาลัย และระดับ ประจำ� ตวั และตามสถานการณ์ (State – trait อาชีพ โดยใช้แบบสอบถามเพ่ือสอบถาม anxiety inventory) แบบวัดความวิตก จำ� นวนครงั้ ของของบาดเจบ็ ทางการกฬี า กังวลทางการกีฬา (Sport anxiety scale) การฟื้นคืนสภาพของร่างกาย ความวิตก แบบส�ำรวจการใช้ชีวิตส�ำหรับนักกีฬาระดับ กังวลในการแข่งขัน ความโกรธท่ีเป็น วทิ ยาลยั (Life events study for collegiate ลักษณะนิสัย การสนับสนุนจากสังคม athletes) แบบสอบถามทักษะการจัดการ ทักษะการจัดการความเครียดทางการ ความเครยี ดทางการกีฬา (Athletic coping กีฬา และภาวการณ์ฝึกหนักเกิน ผลการ skills inventory - 28) และแบบวัด ศึกษาโดยสรุปพบว่าปัจจัยด้านร่างกาย บุคลิกภาพส�ำหรับนักกีฬามหาวิทยาลัย ด้านจิตใจ และด้านสภาพแวดล้อมของ ของสวีเดน ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยหลัก นักกีฬาระดับโรงเรียน ระดับวิทยาลัย ที่สามารถท�ำนายการบาดเจ็บของนักกีฬา และระดับอาชีพมีความเก่ียวข้องกับ ฟตุ บอลระดบั จเู นยี ร์ คอื ความเครยี ดในการ การเกิดการบาดเจ็บทางการกีฬา ใชช้ วี ติ สำ� หรบั การเปน็ นกั กฬี าระดบั วทิ ยาลยั ความวิตกกังวลทางร่างกายที่เป็นลักษณะ ประจ�ำตัว ความไม่เช่ือมั่นในตนเอง และ การขาดประสิทธิภาพของทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกีฬา คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 43

Milavic et al. (2013) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬากับความแตกต่างของ สถานการณใ์ นนกั กฬี าวอลเลยบ์ อลวยั รนุ่ เพศหญงิ จำ� นวน 180 คน อายุเฉลี่ย 15.91 ± 1.78 ปี คน โดยใช้แบบสอบถามทักษะ การจัดการความเครียดทางการกีฬา (Athletic coping skills inventory - 28) ผลการศึกษาพบว่านักกีฬาวอลเลย์บอลวัยรุ่น เพศหญิงที่ประสบความส�ำเร็จมีทักษะการจัดการความเครียด ทางการกฬี าดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั กับความเช่ือมั่นในตนเองและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิสูง แต่นักกีฬา วอลเลยบ์ อลวยั รนุ่ เพศหญงิ ทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ นอ้ ยกวา่ มคี วาม กังวลเก่ียวกับการท�ำผิดพลาด และกังวลว่าคนอื่นจะคิดอย่างไร กับตนเองเมื่อตนเองท�ำผิดพลาด 44

Omar - Fauzee et al. (2008) Gaspar et al. (no year) ศึกษา ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการตงั้ เปา้ หมาย ทกั ษะจติ ใจและความวติ กกงั วลแบบลกั ษณะ โดยมุ่งท่ีงานและมุ่งผลการแข่งขันกับทักษะ นิสัยในนักกีฬาฮ๊อกก้ี จ�ำนวน 96 คน อายุ การจัดการความเครียดทางการกีฬาใน ระหว่าง 17 – 36 ปี อายุเฉล่ีย 25.46 นักกีฬาระดับมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่าง ± 4.41 ปี โดยใช้แบบสอบถามความวิตก จ�ำนวน 85 คน เพศชาย จ�ำนวน 35 และ กังวลในการแข่งขันกีฬาแบบลักษณะนิสัย เพศหญงิ จำ� นวน50คนอายรุ ะหวา่ ง19–28ปี (Sport competitive anxiety test) และ โดยใช้แบบสอบถามการตั้งเป้าหมายโดย แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด การมงุ่ ทง่ี านและมงุ่ ผลการแขง่ ขนั (Task and ทางการกีฬา (Athletic coping skills ego orientation in sport questionnaire) inventory - 28) ผลการศึกษาพบว่า แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด ความวิตกกังวลในการแข่งขันกีฬา ทางการกีฬา (Athletic coping skills 1 แบบลกั ษณะนสิ ยั กบั ทกั ษะการจดั การ inventory - 28) ผลการศกึ ษาพบวา่ การตงั้ ความเครียดทางการกีฬาด้านการจดั การกบั เป้าหมายโดยมุ่งท่ีงานและมุ่งผลการแข่งขัน ปัญหาและการมีสมาธิมีความสัมพันธ์กัน กับทักษะการจัดการความเครียดทางการ ทางลบ กีฬามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส�ำคัญ ประสบการณ์ทางการกีฬากับทักษะ ทางสถิตท่ีระดับ .05 โดยการตั้งเป้าหมาย 2 การจัดการความเครียดทางการกีฬา มุ่งที่งานกับทักษะการจัดการความเครียด ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำและการแสดง ทางการกีฬามีความสัมพันธ์กันมากกว่า ความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดันมี การตั้งเป้าหมายโดยมุ่งผลการแข่งขัน โดย ความสัมพันธ์กันทางลบ เพศชายและเพศหญงิ มีการต้ังเป้าหมายโดย นักกีฬาที่มีความสามารถระดับสูงกับ ม่งุ ท่งี านและมงุ่ ผลการแข่งขันไมแ่ ตกตา่ งกัน 3 ทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 แต่ กีฬาด้านการมีสมาธิ ความเชื่อมั่นในตนเอง เพศหญิงมีทักษะการจัดการความเครียด และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ การตั้งเป้าหมาย ทางการกีฬาด้านสมาธิและการแสดงความ และเตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ การควบคมุ สามารถสูงสุดภายใต้ความกดดันสูงกว่า ตนเอง มีความสัมพันธ์กันทางบวก เพศชาย ขณะท่ีเพศชายมีทักษะการจัดการ จ�ำนวนช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ความเครียดทางการกีฬาด้านอิสระจาก 4 กับทักษะการจัดการความเครียด ความกังวลสูงกว่าเพศหญิง ทางการกีฬาด้าน การตั้งเป้าหมายและ เตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจมคี วามสมั พนั ธ์ กันทางบวก คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 45

Challis (2013) กล่าวถึงการ พัฒนาความสามารถของนักกีฬายูโดว่ามี องคป์ ระกอบหลายประการทีต่ ้องใหค้ วาม ส�ำคัญ เริ่มต้นต้ังแต่ระดับอายุเพราะอายุ จะเปน็ ส่งิ ทนี่ �ำมาประเมนิ ความพรอ้ มของ ร่างกายและจิตใจ โดยมีการแบ่งช่วงอายุ ออกเป็น 3 ระดับ ดังน้ี Estanol et al. (2013) ศึกษาผล  อายรุ ะหวา่ ง3–8ปีประเมนิ ความพรอ้ ม ของการทักษะการจัดการความเครียด ดา้ นรา่ งกายเพอ่ื ตรวจสอบความผดิ ปกติ ทางการกีฬาที่มีต่อปัจจัยเส่ียงความ ของการเจรญิ เตบิ โตและความบกพรอ่ ง ผิดปกติในการรับประทานอาหารของ ของรา่ งกายทจี่ ะมผี ลตอ่ ความสามารถ นักกีฬาลีลาศ โดยใช้แบบสอบถามความ ทางการกีฬา ผดิ ปกตใิ นการรบั ประทานอาหาร (Eating Disorder Inventory) และแบบสอบถาม  อายุระหว่าง 9 – 17 ปี ประเมิน ทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า ความพร้อมด้านร่างกายโดยเฉพาะ (Athletic coping skills inventory - 28) ขนาดสัดส่วนร่างกายเพื่อดูพัฒนาการ ผลการศึกษาพบว่าความวิตกกังวลและ เจริญเติบโตตามวัยว่ามีความพร้อม ภาวะซึมเศร้ามีผลต่อความผิดปกติ ส�ำหรับการเป็นนักกีฬา ในการรบั ประทานอาหารของนกั กฬี าลลี าศ ซ่ึงการมีทักษะการจัดการความเครียด  อายุ 16 ปีขึ้นไป ประเมินความพร้อม ทางการกีฬาจะป้องกันไม่ให้เกิดความผิด ด้านร่างกายท่ีมีความเฉพาะเจาะจง ปกตใิ นการรบั ประทานอาหารได้ โดยเฉพาะ กั บ ช นิ ด กี ฬ า เ พ่ื อ น� ำ ม า ใ ช ้ ใ น ก า ร ทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกีฬา ก�ำหนดโปรแกรมการฝึกซ้อมและ ด้านการจัดการกับปัญหา อิสระจาก พัฒนาศักยภาพทางการกีฬา ความกังวล ความเชื่อมั่นและแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธ์ิ 46

โดยน�ำเสนอโปรแกรมการพัฒนาความสามารถของนักกีฬายูโด ประกอบด้วย 6 ข้ัน คือ ข้ันท่ี 1 ข้ันที่ 4 การให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา การก�ำหนดค่ามาตรฐานหรือ ความสามารถของนักกีฬายูโด ค่าอ้างอิงส�ำหรับใช้ในการวิจัย โดยการยกตัวอย่างนักกีฬาหรือ ระยะยาว ผู้ฝึกสอนท่ีมีประสบการณ์ในกีฬา ยูโดและประสบความส�ำเร็จในกีฬา ขั้นที่ 5 ยูโด ข้ันที่ 2 นำ� ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากขนั้ ที่ 1 – 4 มาใช้ ในก�ำหนดโปรแกรมการฝึกซ้อม ศึกษาวิจัยเก่ียวกับการวิเคราะห์ โดยค�ำนึงถึงปัจจัยทางสังคมและ สถานการณท์ ัง้ ช่วงการฝึกซอ้ มและ ผลการแข่งขัน การแข่งขัน ขั้นที่ 3 ข้ันท่ี 6 การวิเคราะห์การพัฒนาความสามารถ การให้ความรู้กับนักกีฬา ของนักกีฬายูโดในด้านความพร้อมของ อย่างต่อเน่ืองเกี่ยวกับการ ร่างกายและจิตใจ การเรียนรู้ทักษะ พัฒนาความสามารถของ การเคลื่อนไหว ความฉลาดในการกีฬา นักกีฬายูโด และการรับรู้ต่างๆ ของนักกีฬา ซ่ึงผลที่ได้ จากการทดสอบจะเป็นตัวบ่งชี้ถึงระดับ ความสามารถและสามารถนำ� ไปเปรยี บเทยี บ กับค่ามาตรฐานได้ คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 47

Walpes (2003) กลา่ ววา่ แบบสอบถาม ความกดดัน (Peaking under pressure) ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา และด้านอิสระจากความกังวล (Freedom (The Athletics Coping Skills Inventory from worry) จะเห็นได้ว่าแบบสอบถามฯ – 28: ACSI – 28) ของ Smith, Schutz, มีเน้ือหาครอบคลุมหลักจิตวิทยาการกีฬา Smoll and Ptacek (1995) สามารถ ท่ีมีความสัมพันธ์กับความสามารถสูงสุด อธิบายโครงสร้างทางจิตใจที่ระบุถึงจุดแข็ง ทางการกีฬา ดังที่ Cox (2012) ได้แสดง และจุดอ่อนของนักกีฬาได้ดีที่สุด โดย ไวใ้ นโมเดลความสมั พนั ธข์ องวธิ กี ารฝกึ จติ ใจ แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด (Psychological method) และทักษะจิตใจ ทางการกฬี า ประกอบดว้ ย 7 ดา้ น คอื ดา้ นการ (Psychological skills) ที่ส่งผลต่อความ จดั การกบั ปญั หา (Coping with adversity) สามารถทางการกีฬา ซ่ึงได้ระบุว่าทักษะ ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ (Coach- ทางจิตใจที่นักกีฬาควรมีคือ บุคลิกภาพท่ี ability) ด้านสมาธิ (Concentration) เหมาะสม การควบคุมตนเอง ความเช่ือม่ัน ด้านความเชื่อม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ในตนเอง แรงจงู ใจภายใน สมาธิ การควบคมุ (Confidence and achievement อารมณ์ การเผชิญปัญหา การตั้งเป้าหมาย motivation) ด้านการต้ังเป้าหมายและ การพูดและการคิดกับตนเองทางบวก และ เตรียมความพร้อมด้านจิตใจ (Goal – ความเข้มแข็งทางจิตใจ Setting and mental preparation) ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ 48

แ บ บ ส อ บ ถ า ม ทั ก ษ ะ ก า ร จั ด ก า ร แ บ บ ส อ บ ถ า ม ทั ก ษ ะ ก า ร จั ด ก า ร ความเครียดทางการกีฬาถูกน�ำไปใช้อย่าง ความเครียดทางการกีฬาจะมีประโยชน์ แพร่หลายในหลายประเทศด้วยการน�ำไป อ ย ่ า ง ม า ก ส� ำ ห รั บ ผู ้ ฝ ึ ก ส อ น กี ฬ า ห รื อ พัฒนาให้เป็นภาษาประจ�ำชาตินั้นๆ ด้วย นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ ก า ร กี ฬ า ท่ี ไ ม ่ ไ ด ้ เ ป ็ น วธิ กี ารแปลกลบั (Back translation) และ ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านจิตวิทยาการกีฬา วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของขอ้ คำ� ถาม (Factor เพราะสามารถนำ� ไปใชก้ บั นกั กฬี าของตนเอง analysis) เช่น ภาษาโปรตุเกส (Rolo et ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และประเมินผลได้ al., 2004) ภาษากรีก (Karamousadilis ถูกต้องตรงตามสภาพปัญหาของนักกีฬา et al., 2006) ภาษาฮังการี (Geczi et ตลอดจนสามารถน�ำข้อมูลไปร่วมวางแผน al., 2008) ภาษาสเปน (Graupera Sanz โปรแกรมการฝึกจิตใจด้วยการเลือกวิธีการ et al., 2011) และภาษาไทย (สุพัชรินทร์, ฝึกจิตใจให้เหมาะสมกับนักกีฬาเยาวชนไทย 2557) นอกจากนั้นยังมีการพัฒนาให้ อย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือให้นักกีฬามีโอกาส สามารถน�ำไปใช้กับนกั กฬี าคนพิการหหู นวก ประสบความส�ำเร็จทางการกีฬามากขึ้น ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้ช่ือแบบสอบถาม (Cox, 2012) ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ส�ำหรับนักกีฬาคนพิการหูหนวก ซ่ึงมีการ จากที่กล่าวมาข้างต้นจึงเห็น เพม่ิ จำ� นวนขอ้ คำ� ถามใหม้ คี วามเฉพาะเจาะจง ได้ว่าการเตรียมพร้อมด้านจิตใจ กับตัวอย่างมากข้ึน (Grindstaff, 2007) ของนักกีฬาเป็นสิ่งส�ำคัญท่ีจะน�ำ นักกีฬาไปสู่ความส�ำเร็จทางการ กีฬา ดังนั้นการประเมินทักษะการ จัดการความเครียดทางการกีฬา ของนักกีฬาระดับเยาวชนไทยจะ เป็นแนวทางท่ีท�ำให้ทราบถึงปัญหา ด้านจิตใจท่ีมีความเก่ียวข้องกับ การแสดงความสามารถทางการ กีฬา และขณะเดียวกันจะน�ำไปสู่ การเลือกใช้วิธีการฝึกด้านจิตใจที่มี ความเหมาะสมกบั การพฒั นาทกั ษะ การจัดการตนเองท่ีมีประสิทธิภาพ ต่อไป คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook